SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
บทนาและภาพรวม
2 หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
วิชาหน่วยกระบวนการสาหรับงานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Unit processes for environmental
engineering) เป็นการศึกษาแนวคิดและแนวทางการประยุกต์ใช้หน่วยกระบวนการ (Unit process) หรือ
หน่วยปฏิบัติการ (Unit operation) ในแต่ละหน่วย เพื่อเข้าใจถึงกระบวนการต่าง ๆ ซึ่งในทางปฏิบัติมักจะ
ประกอบไปด้วยหน่วยกระบวนการย่อย ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ดียิ่งขึ้น รวมถึงสามารถแก้ไขปัญหาของ
กระบวนการโดยรวมและออกแบบกระบวนการด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม (Optimized
design) โดยทั่วไปหน่วยกระบวนการที่จะทาการศึกษามักเกี่ยวข้องกับกระบวนการแยก (Separation
process) ซึ่งเกิดจากความแตกต่างของสมบัติทางกายภาพมากกว่าคุณสมบัติทางเคมี โดยสามารถแบ่ง
ออกเป็น 3 กลุ่มตามประเภทของแรงขับดัน (Driving force) ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
1. ประเภทการถ่ายเทโมเมนตัม (Momentum transfer) ซึ่งสัมพันธ์กับความหนาแน่น และขนาดของ
อนุภาค
2. ประเภทการถ่ายเทความร้อน (Heat transfer) สัมพันธ์กับความแตกต่างของอุณหภูมิ และพลังงาน
3. ประเภทการถ่ายเทมวล (Mass transfer) ที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างของความเข้มข้น ความดัน
ไอ ค่าการละลาย หรืออัตราการแพร่
โดยในรายวิชานี้ จะมุ่งเน้นในหน่วยกระบวนการที่สัมพันธ์กับกลไกการถ่ายเทโมเมนตัม และการ
ถ่ายเทมวลเป็นหลัก ในการนี้เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจและศึกษาหน่วยกระบวนการที่ซับซ้อนต่าง ๆ ได้
ง่ายขึ้น แนวคิด 2 ข้อจะถูกประยุกต์ใช้กล่าวคือ 1) หน่วยกระบวนการที่อยู่ในประเภทเดียวกันจะมีพื้นฐาน
บนหลักวิทยาศาสตร์เดียวกัน และ 2) กระบวนการที่ใช้งานจะประกอบด้วยอนุกรมของหน่วยปฏิบัติการ โดย
ที่หน่วยปฏิบัติการดังกล่าวยังสามารถปรากฏอยู่ในหลายกระบวนการได้ ดังนั้น การศึกษาในรายวิชาหน่วย
กระบวนการสาหรับงานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จะเป็นพื้นฐานสาคัญที่ทาให้เข้าใจและออกแบบ
กระบวนการทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมได้ง่ายขึ้น โดยการจัดการเชื่อมโยงหน่วยกระบวนการที่เกี่ยวข้องให้อยู่
ในลาดับที่เหมาะสม
ความสาคัญของหน่วยกระบวนการสาหรับงานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมในการจัดการกับของเสีย
หรือปัญหามลพิษในปัจจุบัน เราอาจพิจารณาได้จากภาพรวมองค์ประกอบของกระบวนการพัฒนาโดยรวม
(Overall metabolic process) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการผลิต การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ และการบริการสาหรับ
ประชาชนที่อาศัยในสังคม โดยประกอบไปด้วย 4 ส่วนสาคัญ ได้แก่ 1) ส่วนวัตถุดิบ (Raw materials)
2) ส่วนพลังงานที่จาเป็น (Energy consumption) 3) ส่วนผลิตภัณฑ์ (Products) สาธารณูปโภค (Sanitation
บทที่ 1 บทนาและภาพรวม 3
facilities) และการบริการ (Services) และ 4) ส่วนมลพิษสิ่งแวดล้อมหรือของเสีย (Waste) ที่เกิดขึ้นใน
รูปแบบต่าง ๆ (น้าเสีย มลพิษอากาศ ขยะมูลฝอย ของเสียอันตราย รวมถึงพลังงานสูญเสีย) ดังแสดงในรูปที่
1-1
รูปที่ 1-1 ภาพรวมองค์ประกอบของกระบวนการพัฒนาโดยรวม (Overall metabolic process)
เมื่อพิจารณาภาพรวมของกระบวนการข้างต้นที่ประกอบไปด้วย 4 ส่วน กล่าวได้ว่าเราสามารถ
นามาประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายถึงสาเหตุของปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น รวมถึงเสนอแนะแนวทางการ
แก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน ดังคากล่าวที่ว่า “ไม่มีกระบวนการผลิตใดที่ไม่ก่อให้เกิดของเสีย” ถึงแม้ว่าในปัจจุบัน
จะมีการกล่าวถึงนโยบายการผลิตที่ปราศจากของเสีย (Zero waste policy) แต่การดาเนินการเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายข้างต้นนั้น ความรู้ความเข้าใจและการร่วมมือกันในทุก ๆ ภาคส่วนถือได้ว่ามีความจาเป็นอย่างยิ่ง
ปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นนั้นจะสัมพันธ์กับปริมาณสินค้าและผลิตภัณฑ์ การบริการ และความ
ต้องการสาธารณูปโภคที่เพิ่มสูงขึ้น (ซึ่งแปรผันตามจานวนประชากร) รวมถึงรูปแบบการใช้ชีวิตของ
ประชากร นอกจากนี้ด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่พัฒนาสูงขึ้นเพื่อรองรับกับความสะดวกสบายของประชาชน
เช่น การพัฒนาเทคโนโลยีระดับอนุภาคนาโน (Nano-Technology) การผลิตภัณฑ์ยา สารเคมี หรือยาฆ่า
แมลงในปัจจุบัน เราอาจกล่าวได้ว่าจะส่งผลต่อชนิดและความอันตรายของของเสียที่เกิดขึ้น รวมถึงข้อจากัด
ประการสาคัญของกระบวนการบาบัดของเสียแบบเดิมในปัจจุบัน (Conventional treatment process) ดังนั้น
ปัจจุบันจึงมีการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีหรือหน่วยกระบวนการที่หลากหลาย รวมถึงต้องการความรู้และ
ความเข้าใจอย่างสูงของวิศวกรสิ่งแวดล้อมในการจัดการกับปัญหาที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
4 หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
งานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental engineering) มักเกี่ยวข้องกับการบาบัด
(Treatment) หรือการแยก (Separation) มลสารที่ปนเปื้อน (Pollutants) อยู่ในลักษณะหรือเฟสต่าง ๆ ออก
จากระบบ ซึ่งอาจอยู่ในลักษณะของเฟสน้า (น้าเสีย หรือจุลมลสารขนาดเล็กที่ปนเปื้อนในแหล่งน้าตาม
ธรรมชาติ) เฟสแก๊ส (ฝุ่นละออง หรือแก๊สพิษ) รวมถึงเฟสของแข็ง (ขยะมูลฝอย หรือของเสียอันตราย) ดังนั้น
เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพการบาบัดที่ต้องการ หรือผ่านมาตรฐานที่กาหนดไว้นั้น ความเข้าใจและการเลือกใช้
หน่วยกระบวนการหรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการแยกมลสาร (Treatment technologies) จึงมีความจาเป็น
อย่างยิ่ง โดยในขั้นต้น จาเป็นต้องทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นเกี่ยวกับของเสียดังกล่าว โดยตัวอย่างของ
ข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นดังสรุปในรูปที่ 1-2 ได้แก่ เฟสของมลพิษหรือของเสีย ชนิดของมลพิษ อัตราการไหล
และความเข้มข้น กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และการประเมินผลกระทบ
รูปที่ 1-2 ตัวอย่างของข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นเกี่ยวกับของเสีย
ตัวอย่างของชนิดมลพิษหรือสารปนเปื้อน (Constituent types) ในเฟสต่าง ๆ สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1-3
บทที่ 1 บทนาและภาพรวม 5
รูปทื่ 1-3 ตัวอย่างของชนิดมลพิษหรือสารปนเปื้อน (Constituent types) ในเฟสต่าง ๆ
รูปที่ 1-4 การจัดกลุ่มของมลพิษตามลักษณะทางกายภาพ
นอกจากนี้ จากตัวอย่างของชนิดมลพิษที่ปนเปื้อนมลพิษทางอากาศ (Air pollution) น้าเสีย
(Wastewater) และขยะหรือของเสียอันตราย (Solid/Hazardous waste) เรายังสามารถจัดกลุ่มของมลพิษ
ดังกล่าวตามลักษณะทางกายภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านขนาดของมลพิษหรืออนุภาคที่เกี่ยวข้อง
6 หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
(Particle Size) เพื่อให้ง่ายต่อการเลือกใช้หน่วยกระบวนการ (Selection of Suitable Unit Process) ในการ
บาบัดที่เหมาะสม ดังแสดงในรูปที่ 1-4
โดยทั่วไป ลักษณะของอนุภาคต่าง ๆ ที่มีโอกาสปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อมมักถูกแบ่งออกเป็น 3
ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ 1) ของแข็งแขวนลอย (Suspended solids or particles) 2) อนุภาคคอลลอยด์
(Colloidal solids or particles) และ 3) อนุภาคมีลักษณะที่เป็นของแข็งที่ละลายน้า (Dissolved solids or
particles) ดังแสดงในรูปที่ 1-5
รูปที่ 1-5 การแบ่งลักษณะของอนุภาคต่าง ๆ ที่มีโอกาสปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม
สาหรับอนุภาคขนาดใหญ่กว่า 10 ไมครอน จะสามารถแยกออกจากเฟสของไหลได้ด้วยการตั้งทิ้ง
ไว้ให้ตกตะกอนหรือแยกได้ด้วยแรงโน้มถ่วงของโลก (Settable by gravity force) ซึ่งนับเป็นกระบวนการที่
ง่ายในการออกแบบและประยุกต์ใช้งาน รวมถึงมีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างต่า อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่อนุภาคมี
ขนาดใหญ่กว่า 10 ไมครอนไม่มาก อาจต้องการระยะเวลานานเพื่อให้อนุภาคดังกล่าวสามารถแยกออกจาก
เฟสของไหลได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งส่งผลเสียโดยตรงต่อขนาดถังปฏิกิริยา รวมถึงต้นทุนการก่อสร้างและการ
เดินระบบโดยรวมในท้ายที่สุด ดังนั้น จึงมีการคิดค้นแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพของการแยกทางกายภาพโดย
บทที่ 1 บทนาและภาพรวม 7
การปรับเปลี่ยนตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ การเพิ่มขนาดอนุภาค และการเพิ่มค่าความเร่งจากแรงโน้ม
ถ่วง นอกจากนี้ สาหรับอนุภาคที่มีขนาดเล็กอยู่ระหว่าง 1–10 ไมครอนนั้น เราสามารถแยกได้โดย
ประยุกต์ใช้กระบวนการกรอง (Filtration) ซึ่งอาศัยกลไกการเคลื่อนย้ายและดักจับอนุภาคขนาดเล็กที่
แขวนลอยในเฟสของไหลไว้บนผิวหน้าของสารตัวกลาง (Surface filtration) หรือมาไว้ที่ช่องว่างระหว่างหรือ
ภายในสารตัวกลาง (Depth filtration) ในขณะที่อนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก (เล็กกว่า 1 ไมครอน) ซึ่งจัดอยู่ใน
กลุ่มคอลลอยด์ (Colloids) หรืออนุภาคขนาดเล็กมากที่เป็นของแข็งที่ละลายน้าหรือเฟสแก๊ส (Dissolved
solid) เช่น ไอออนของโลหะหนัก หรือแร่ธาตุ เราจะพบว่าอนุภาคดังกล่าวมีความคงตัวสูงและแยกออกจาก
เฟสของไหลได้ยาก หรือมีข้อจากัดในการแยกด้วยหน่วยกระบวนการที่กล่าวถึงข้างต้น ในการนี้ การ
ประยุกต์ใช้หน่วยกระบวนการรูปแบบอื่น ๆ หรือขั้นสูง (Alternative or advanced unit processes) รวมถึง
การประยุกต์ใช้หน่วยกระบวนการต่าง ๆ แบบระบบผสมผสาน (Hybrid system of different unit
processes) จึงมีความจาเป็นเพื่อบาบัดมลพิษดังกล่าวให้ได้ประสิทธิภาพที่ต้องการ โดยตัวอย่างของหน่วย
กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกับอนุภาคขนาดเล็กที่กล่าวถึงข้างต้นสามารถแสดงได้ดังนี้
 กระบวนการบาบัดหรือเปลี่ยนรูปมลสารด้วยวิธีทางชีวภาพ (Biological treatment Processes) ซึ่ง
อาศัยสิ่งมีชีวิตจาพวกจุลินทรีย์หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ในการย่อยสลาย ดูดซับ หรือ
เปลี่ยนรูปมลสารที่ปนเปื้อนอยู่ในเฟสของเสียให้มีค่าความสกปรกหรือความเป็นพิษน้อยลง
โดยทั่วไป กระบวนการข้างต้นสามารถเดินระบบได้ทั้งในสภาวะที่มีออกซิเจน (Aerobic system)
และไม่มีออกซิเจน (Anaerobic system) สาหรับระบบที่มีออกซิเจนซึ่งมีการประยุกต์ใช้งานอย่าง
แพร่หลายในปัจจุบันเราอาจกล่าวได้ว่า ประสิทธิภาพของระบบทั้งในด้านการบาบัดและค่าใช้จ่าย
จะสัมพันธ์กับกระบวนการเติมอากาศ (Aeration process) รวมถึงแนวทางในการออกแบบถัง
ปฏิกิริยาและรูปแบบการไหลที่เกิดขึ้น (Reactor design and flow model concept)
 กระบวนการบาบัดหรือเปลี่ยนรูปมลสารด้วยวิธีทางเคมี (Chemical treatment processes) เช่น
กระบวนการสร้างและรวมตะกอน (Coagulation-flocculation process) กระบวนการตกผลึกและ
การปรับพีเอช (Precipitation and pH adjustment processes) ปฏิกิริยารีดอกซ์และกระบวนการ
ไฟฟ้าเคมี (REDOX reaction and electro-chemical process) กระบวนการฆ่าเชื้อโรคและการ
ออกซิเดชันขั้นสูง (Disinfection and Advanced Oxidation Processes, AOPs)
 กระบวนการแยกหรือบาบัดขั้นสูง (Advanced treatment or separation processes) เช่น
กระบวนการดูดซับ (Adsorption process) กระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน (Ion exchange
8 หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
process) กระบวนการดูดซึมและการไล่แก๊ส (Absorption and desorption/ stripping process)
และกระบวนการแยกด้วยเมมเบรน (Membrane separation processes)
แนวทางการประยุกต์ใช้งานหน่วยกระบวนการสาหรับจัดการกับมลพิษหรือของเสียในเฟสต่าง ๆ ที่พบได้ใน
ปัจจุบัน ทั้งในส่วนของมลพิษทางน้า (Water pollution) มลพิษอากาศ (Air pollution) ขยะ และของเสีย
อันตราย (Solid and hazardous waste) สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1-6 โดยตัวอย่างการเลือกหน่วย
กระบวนการ เช่น กระบวนการดูดซับ (Adsorption) และกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน (Ion exchange)
สามารถใช้ในการจัดการกับมลพิษในเฟสแก๊ส (VOCs หรือกลิ่น) และในเฟสของเหลว (Refractory organic
คอลลอยด์ หรือ Dissolve particle) ในขณะที่กระบวนการดูดซึม (Absorption) สามารถใช้ในการบาบัด
มลพิษอากาศ (VOCs, NOx, SOx) ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง
รูปที่ 1-6 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานหน่วยกระบวนการสาหรับจัดการกับมลพิษ
หรือของเสียในเฟสต่าง ๆ ในปัจจุบัน
เนื้อหาโดยรวมของหนังสือ “หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม” จะแบ่งออกเป็น 6 ส่วนหลัก ๆ
กล่าวคือ
Application of different Unit processes in Pollution control technologies
Reactor design Absorption Coagulation - Flocculation
Sedimentation Stripping pH adjustment / Precipitation / Redox
Filtration Aeration Electro - Chemistry
Adsorption Flotation/ Coalescer Kinetic/ Chlorine disinfection
Ion Exchange Cyclone / Hydrocyclone Ozone and UV disinfection
Surface filtration Bag Filter / ESP AOP with UV based processes
Membrane separation Wet / Venturi scruber AOP with H2O2 based processes
Finesolid
Organic/
Nutrients
Pathogens
Suspended
solids (SS)
Nutrients(NH3)
Organic Colloid/dissloved
VOCs
SS
Colloids/
Dissolved
Organic
Refractory
VOCs Odor
Nutrients
Organic
Refractory
Colloids/
Dissolved
Suspended
solids (SS)
Nutrients(P)
Suspended
solids (SS)
VOCs Odor NOx+ SOx
VOCs
Organic/
Nutrients
VOCs
Solid(degraded)
Finesolid
Solid(degraded)
Hazardous/Chemical waste
Hazardous/Chemical waste
Solid(pre-posttreatment)
Solid(pre-posttreatment)
Solid(pre-posttreatment)
Solid(pre-posttreatment)
Solid(pre-posttreatment)
Recoverytechnique
บทที่ 1 บทนาและภาพรวม 9
1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหน่วยกระบวนการ
 บทที่ 1 บทนาและภาพรวมของหน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
(Introduction and overview of unit processes for environmental engineering)
 บทที่ 2 รูปแบบการไหลและการออกแบบถังปฏิกิริยาเบื้องต้น (Flow model and reactor
design concept)
2. หน่วยกระบวนการแยกทางกายภาพ
 บทที่ 3 กระบวนการแยกด้วยแรงโน้มถ่วงหรือตกตะกอน (Gravity separation
processes)
 บทที่ 4 กระบวนการกรองแบบติดค้างในชั้นกรอง (Depth filtration processes)
 บทที่ 5 กระบวนการกรองแบบติดค้างที่ผิวหน้า (Surface filtration processes)
3. หน่วยกระบวนการแยกหรือบาบัดขั้นสูง
 บทที่ 6 กระบวนการแยกด้วยเมมเบรน (Membrane separation processes)
 บทที่ 7 กระบวนการดูดซับและกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออนทางทฤษฎี (Theory of
adsorption and ion exchange processes)
 บทที่ 8 กระบวนการดูดซับและกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน - การออกแบบและ
ประยุกต์ใช้ (Design and application of adsorption and ion exchange processes)
4. การเพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยกระบวนการทางกายภาพ
 บทที่ 9 กระบวนการแยกทางกายภาพแบบอื่น ๆ (Alternative physical separation
processes)
 บทที่ 10 กระบวนการแยกสาหรับอนุภาคขนาดเล็ก (Fine particle separation process)
5. หน่วยกระบวนการทางเคมี
 บทที่ 11 กระบวนการทางเคมี 1 เกี่ยวกับกระบวนการสร้างและรวมตะกอน
(Coagulation-flocculation process) การปรับ pH (pH adjustment) และการตกผลึกหรือ
ตกตะกอนโลหะหนักทางเคมี (Precipitation)
10 หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
 บทที่ 12 กระบวนการทางเคมี 2 เกี่ยวกับปฏิกิริยารีดอกซ์และกระบวนการไฟฟ้าเคมี
(REDOX reaction and electro-chemical process) รวมถึงกระบวนการฆ่าเชื้อโรคและ
การออกซิเดชันขั้นสูง (Disinfection and Advanced Oxidation Processes, AOPs)
6. หน่วยกระบวนการที่สัมพันธ์กับเฟสแก๊ส
 บทที่ 13 กระบวนการดูดซึมและไล่แก๊ส (Absorption and desorption processes)
 บทที่ 14 กระบวนการเติมอากาศ (Aeration process)
โดยสรุป หน่วยกระบวนการสาหรับงานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเป็นพื้นฐานสาคัญที่ทาให้ผู้อ่านเข้าใจและ
สามารถออกแบบกระบวนการทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมได้ง่ายขึ้นและมีความเหมาะสมกับมลพิษหรือของเสีย
ที่ต้องการบาบัด โดยการจัดการเชื่อมโยงหน่วยกระบวนการที่เกี่ยวข้องให้อยู่ในลาดับที่เหมาะสม รวมไปถึง
สามารถคิดค้นหรือออกแบบระบบบาบัดแบบผสมผสาน (Hybrid system) ได้อีกทางหนึ่งด้วย โดยท้ายสุดนี้
ประโยชน์ที่คาดว่าผู้อ่านจะได้รับจากหนังสือเล่มนี้ คือ สามารถเข้าใจกลไกการทางาน รวมถึงสามารถ
พิจารณาแต่ละหน่วยกระบวนการ (Unit process) ต่าง ๆ และการประยุกต์ใช้งานอย่างเหมาะสมในการ
บาบัดมลพิษสิ่งแวดล้อมในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงลักษณะน้า การบาบัดน้าเสีย การควบคุม
มลภาวะทางอากาศ การจัดการขยะและของเสียอันตรายเบื้องต้น รวมถึงน่าจะเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ช่วย
ให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจหลักการของกระบวนการบาบัดและการแยกทางกายภาพ และทางกายภาพเคมีใน
งานวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเข้าใจความเหมาะสมของแต่ละหน่วยกระบวนการในการจัดการกับมลสาร
แต่ละประเภท ซึ่งน่าจะส่งผลดีต่อการเลือกแนวทางและการออกแบบกระบวนการบาบัดและการแยกขั้น
พื้นฐานในทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับงานที่เกี่ยวข้องในอนาคต

More Related Content

What's hot

วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
Preeyapat Lengrabam
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
Pat Jitta
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
Preeyapat Lengrabam
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
Wijitta DevilTeacher
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
Saipanya school
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
dnavaroj
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
benjamars nutprasat
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
Pitchapa Liamnopparat
 

What's hot (20)

วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
ไดอิเล็กทริก
ไดอิเล็กทริกไดอิเล็กทริก
ไดอิเล็กทริก
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
 

Viewers also liked

9789740335627
97897403356279789740335627
9789740335627
CUPress
 
9789740335832
97897403358329789740335832
9789740335832
CUPress
 
9789740335566
97897403355669789740335566
9789740335566
CUPress
 
9789740335696
97897403356969789740335696
9789740335696
CUPress
 
9789740335702
97897403357029789740335702
9789740335702
CUPress
 
9789740335597
97897403355979789740335597
9789740335597
CUPress
 
9789740335863
97897403358639789740335863
9789740335863
CUPress
 

Viewers also liked (7)

9789740335627
97897403356279789740335627
9789740335627
 
9789740335832
97897403358329789740335832
9789740335832
 
9789740335566
97897403355669789740335566
9789740335566
 
9789740335696
97897403356969789740335696
9789740335696
 
9789740335702
97897403357029789740335702
9789740335702
 
9789740335597
97897403355979789740335597
9789740335597
 
9789740335863
97897403358639789740335863
9789740335863
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740332923

  • 2. 2 หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิชาหน่วยกระบวนการสาหรับงานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Unit processes for environmental engineering) เป็นการศึกษาแนวคิดและแนวทางการประยุกต์ใช้หน่วยกระบวนการ (Unit process) หรือ หน่วยปฏิบัติการ (Unit operation) ในแต่ละหน่วย เพื่อเข้าใจถึงกระบวนการต่าง ๆ ซึ่งในทางปฏิบัติมักจะ ประกอบไปด้วยหน่วยกระบวนการย่อย ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ดียิ่งขึ้น รวมถึงสามารถแก้ไขปัญหาของ กระบวนการโดยรวมและออกแบบกระบวนการด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม (Optimized design) โดยทั่วไปหน่วยกระบวนการที่จะทาการศึกษามักเกี่ยวข้องกับกระบวนการแยก (Separation process) ซึ่งเกิดจากความแตกต่างของสมบัติทางกายภาพมากกว่าคุณสมบัติทางเคมี โดยสามารถแบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่มตามประเภทของแรงขับดัน (Driving force) ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. ประเภทการถ่ายเทโมเมนตัม (Momentum transfer) ซึ่งสัมพันธ์กับความหนาแน่น และขนาดของ อนุภาค 2. ประเภทการถ่ายเทความร้อน (Heat transfer) สัมพันธ์กับความแตกต่างของอุณหภูมิ และพลังงาน 3. ประเภทการถ่ายเทมวล (Mass transfer) ที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างของความเข้มข้น ความดัน ไอ ค่าการละลาย หรืออัตราการแพร่ โดยในรายวิชานี้ จะมุ่งเน้นในหน่วยกระบวนการที่สัมพันธ์กับกลไกการถ่ายเทโมเมนตัม และการ ถ่ายเทมวลเป็นหลัก ในการนี้เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจและศึกษาหน่วยกระบวนการที่ซับซ้อนต่าง ๆ ได้ ง่ายขึ้น แนวคิด 2 ข้อจะถูกประยุกต์ใช้กล่าวคือ 1) หน่วยกระบวนการที่อยู่ในประเภทเดียวกันจะมีพื้นฐาน บนหลักวิทยาศาสตร์เดียวกัน และ 2) กระบวนการที่ใช้งานจะประกอบด้วยอนุกรมของหน่วยปฏิบัติการ โดย ที่หน่วยปฏิบัติการดังกล่าวยังสามารถปรากฏอยู่ในหลายกระบวนการได้ ดังนั้น การศึกษาในรายวิชาหน่วย กระบวนการสาหรับงานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จะเป็นพื้นฐานสาคัญที่ทาให้เข้าใจและออกแบบ กระบวนการทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมได้ง่ายขึ้น โดยการจัดการเชื่อมโยงหน่วยกระบวนการที่เกี่ยวข้องให้อยู่ ในลาดับที่เหมาะสม ความสาคัญของหน่วยกระบวนการสาหรับงานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมในการจัดการกับของเสีย หรือปัญหามลพิษในปัจจุบัน เราอาจพิจารณาได้จากภาพรวมองค์ประกอบของกระบวนการพัฒนาโดยรวม (Overall metabolic process) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการผลิต การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ และการบริการสาหรับ ประชาชนที่อาศัยในสังคม โดยประกอบไปด้วย 4 ส่วนสาคัญ ได้แก่ 1) ส่วนวัตถุดิบ (Raw materials) 2) ส่วนพลังงานที่จาเป็น (Energy consumption) 3) ส่วนผลิตภัณฑ์ (Products) สาธารณูปโภค (Sanitation
  • 3. บทที่ 1 บทนาและภาพรวม 3 facilities) และการบริการ (Services) และ 4) ส่วนมลพิษสิ่งแวดล้อมหรือของเสีย (Waste) ที่เกิดขึ้นใน รูปแบบต่าง ๆ (น้าเสีย มลพิษอากาศ ขยะมูลฝอย ของเสียอันตราย รวมถึงพลังงานสูญเสีย) ดังแสดงในรูปที่ 1-1 รูปที่ 1-1 ภาพรวมองค์ประกอบของกระบวนการพัฒนาโดยรวม (Overall metabolic process) เมื่อพิจารณาภาพรวมของกระบวนการข้างต้นที่ประกอบไปด้วย 4 ส่วน กล่าวได้ว่าเราสามารถ นามาประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายถึงสาเหตุของปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น รวมถึงเสนอแนะแนวทางการ แก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน ดังคากล่าวที่ว่า “ไม่มีกระบวนการผลิตใดที่ไม่ก่อให้เกิดของเสีย” ถึงแม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการกล่าวถึงนโยบายการผลิตที่ปราศจากของเสีย (Zero waste policy) แต่การดาเนินการเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายข้างต้นนั้น ความรู้ความเข้าใจและการร่วมมือกันในทุก ๆ ภาคส่วนถือได้ว่ามีความจาเป็นอย่างยิ่ง ปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นนั้นจะสัมพันธ์กับปริมาณสินค้าและผลิตภัณฑ์ การบริการ และความ ต้องการสาธารณูปโภคที่เพิ่มสูงขึ้น (ซึ่งแปรผันตามจานวนประชากร) รวมถึงรูปแบบการใช้ชีวิตของ ประชากร นอกจากนี้ด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่พัฒนาสูงขึ้นเพื่อรองรับกับความสะดวกสบายของประชาชน เช่น การพัฒนาเทคโนโลยีระดับอนุภาคนาโน (Nano-Technology) การผลิตภัณฑ์ยา สารเคมี หรือยาฆ่า แมลงในปัจจุบัน เราอาจกล่าวได้ว่าจะส่งผลต่อชนิดและความอันตรายของของเสียที่เกิดขึ้น รวมถึงข้อจากัด ประการสาคัญของกระบวนการบาบัดของเสียแบบเดิมในปัจจุบัน (Conventional treatment process) ดังนั้น ปัจจุบันจึงมีการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีหรือหน่วยกระบวนการที่หลากหลาย รวมถึงต้องการความรู้และ ความเข้าใจอย่างสูงของวิศวกรสิ่งแวดล้อมในการจัดการกับปัญหาที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
  • 4. 4 หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม งานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental engineering) มักเกี่ยวข้องกับการบาบัด (Treatment) หรือการแยก (Separation) มลสารที่ปนเปื้อน (Pollutants) อยู่ในลักษณะหรือเฟสต่าง ๆ ออก จากระบบ ซึ่งอาจอยู่ในลักษณะของเฟสน้า (น้าเสีย หรือจุลมลสารขนาดเล็กที่ปนเปื้อนในแหล่งน้าตาม ธรรมชาติ) เฟสแก๊ส (ฝุ่นละออง หรือแก๊สพิษ) รวมถึงเฟสของแข็ง (ขยะมูลฝอย หรือของเสียอันตราย) ดังนั้น เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพการบาบัดที่ต้องการ หรือผ่านมาตรฐานที่กาหนดไว้นั้น ความเข้าใจและการเลือกใช้ หน่วยกระบวนการหรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการแยกมลสาร (Treatment technologies) จึงมีความจาเป็น อย่างยิ่ง โดยในขั้นต้น จาเป็นต้องทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นเกี่ยวกับของเสียดังกล่าว โดยตัวอย่างของ ข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นดังสรุปในรูปที่ 1-2 ได้แก่ เฟสของมลพิษหรือของเสีย ชนิดของมลพิษ อัตราการไหล และความเข้มข้น กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และการประเมินผลกระทบ รูปที่ 1-2 ตัวอย่างของข้อมูลพื้นฐานที่จาเป็นเกี่ยวกับของเสีย ตัวอย่างของชนิดมลพิษหรือสารปนเปื้อน (Constituent types) ในเฟสต่าง ๆ สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1-3
  • 5. บทที่ 1 บทนาและภาพรวม 5 รูปทื่ 1-3 ตัวอย่างของชนิดมลพิษหรือสารปนเปื้อน (Constituent types) ในเฟสต่าง ๆ รูปที่ 1-4 การจัดกลุ่มของมลพิษตามลักษณะทางกายภาพ นอกจากนี้ จากตัวอย่างของชนิดมลพิษที่ปนเปื้อนมลพิษทางอากาศ (Air pollution) น้าเสีย (Wastewater) และขยะหรือของเสียอันตราย (Solid/Hazardous waste) เรายังสามารถจัดกลุ่มของมลพิษ ดังกล่าวตามลักษณะทางกายภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านขนาดของมลพิษหรืออนุภาคที่เกี่ยวข้อง
  • 6. 6 หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Particle Size) เพื่อให้ง่ายต่อการเลือกใช้หน่วยกระบวนการ (Selection of Suitable Unit Process) ในการ บาบัดที่เหมาะสม ดังแสดงในรูปที่ 1-4 โดยทั่วไป ลักษณะของอนุภาคต่าง ๆ ที่มีโอกาสปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อมมักถูกแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ กล่าวคือ 1) ของแข็งแขวนลอย (Suspended solids or particles) 2) อนุภาคคอลลอยด์ (Colloidal solids or particles) และ 3) อนุภาคมีลักษณะที่เป็นของแข็งที่ละลายน้า (Dissolved solids or particles) ดังแสดงในรูปที่ 1-5 รูปที่ 1-5 การแบ่งลักษณะของอนุภาคต่าง ๆ ที่มีโอกาสปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม สาหรับอนุภาคขนาดใหญ่กว่า 10 ไมครอน จะสามารถแยกออกจากเฟสของไหลได้ด้วยการตั้งทิ้ง ไว้ให้ตกตะกอนหรือแยกได้ด้วยแรงโน้มถ่วงของโลก (Settable by gravity force) ซึ่งนับเป็นกระบวนการที่ ง่ายในการออกแบบและประยุกต์ใช้งาน รวมถึงมีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างต่า อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่อนุภาคมี ขนาดใหญ่กว่า 10 ไมครอนไม่มาก อาจต้องการระยะเวลานานเพื่อให้อนุภาคดังกล่าวสามารถแยกออกจาก เฟสของไหลได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งส่งผลเสียโดยตรงต่อขนาดถังปฏิกิริยา รวมถึงต้นทุนการก่อสร้างและการ เดินระบบโดยรวมในท้ายที่สุด ดังนั้น จึงมีการคิดค้นแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพของการแยกทางกายภาพโดย
  • 7. บทที่ 1 บทนาและภาพรวม 7 การปรับเปลี่ยนตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ การเพิ่มขนาดอนุภาค และการเพิ่มค่าความเร่งจากแรงโน้ม ถ่วง นอกจากนี้ สาหรับอนุภาคที่มีขนาดเล็กอยู่ระหว่าง 1–10 ไมครอนนั้น เราสามารถแยกได้โดย ประยุกต์ใช้กระบวนการกรอง (Filtration) ซึ่งอาศัยกลไกการเคลื่อนย้ายและดักจับอนุภาคขนาดเล็กที่ แขวนลอยในเฟสของไหลไว้บนผิวหน้าของสารตัวกลาง (Surface filtration) หรือมาไว้ที่ช่องว่างระหว่างหรือ ภายในสารตัวกลาง (Depth filtration) ในขณะที่อนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก (เล็กกว่า 1 ไมครอน) ซึ่งจัดอยู่ใน กลุ่มคอลลอยด์ (Colloids) หรืออนุภาคขนาดเล็กมากที่เป็นของแข็งที่ละลายน้าหรือเฟสแก๊ส (Dissolved solid) เช่น ไอออนของโลหะหนัก หรือแร่ธาตุ เราจะพบว่าอนุภาคดังกล่าวมีความคงตัวสูงและแยกออกจาก เฟสของไหลได้ยาก หรือมีข้อจากัดในการแยกด้วยหน่วยกระบวนการที่กล่าวถึงข้างต้น ในการนี้ การ ประยุกต์ใช้หน่วยกระบวนการรูปแบบอื่น ๆ หรือขั้นสูง (Alternative or advanced unit processes) รวมถึง การประยุกต์ใช้หน่วยกระบวนการต่าง ๆ แบบระบบผสมผสาน (Hybrid system of different unit processes) จึงมีความจาเป็นเพื่อบาบัดมลพิษดังกล่าวให้ได้ประสิทธิภาพที่ต้องการ โดยตัวอย่างของหน่วย กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกับอนุภาคขนาดเล็กที่กล่าวถึงข้างต้นสามารถแสดงได้ดังนี้  กระบวนการบาบัดหรือเปลี่ยนรูปมลสารด้วยวิธีทางชีวภาพ (Biological treatment Processes) ซึ่ง อาศัยสิ่งมีชีวิตจาพวกจุลินทรีย์หรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ ในการย่อยสลาย ดูดซับ หรือ เปลี่ยนรูปมลสารที่ปนเปื้อนอยู่ในเฟสของเสียให้มีค่าความสกปรกหรือความเป็นพิษน้อยลง โดยทั่วไป กระบวนการข้างต้นสามารถเดินระบบได้ทั้งในสภาวะที่มีออกซิเจน (Aerobic system) และไม่มีออกซิเจน (Anaerobic system) สาหรับระบบที่มีออกซิเจนซึ่งมีการประยุกต์ใช้งานอย่าง แพร่หลายในปัจจุบันเราอาจกล่าวได้ว่า ประสิทธิภาพของระบบทั้งในด้านการบาบัดและค่าใช้จ่าย จะสัมพันธ์กับกระบวนการเติมอากาศ (Aeration process) รวมถึงแนวทางในการออกแบบถัง ปฏิกิริยาและรูปแบบการไหลที่เกิดขึ้น (Reactor design and flow model concept)  กระบวนการบาบัดหรือเปลี่ยนรูปมลสารด้วยวิธีทางเคมี (Chemical treatment processes) เช่น กระบวนการสร้างและรวมตะกอน (Coagulation-flocculation process) กระบวนการตกผลึกและ การปรับพีเอช (Precipitation and pH adjustment processes) ปฏิกิริยารีดอกซ์และกระบวนการ ไฟฟ้าเคมี (REDOX reaction and electro-chemical process) กระบวนการฆ่าเชื้อโรคและการ ออกซิเดชันขั้นสูง (Disinfection and Advanced Oxidation Processes, AOPs)  กระบวนการแยกหรือบาบัดขั้นสูง (Advanced treatment or separation processes) เช่น กระบวนการดูดซับ (Adsorption process) กระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน (Ion exchange
  • 8. 8 หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม process) กระบวนการดูดซึมและการไล่แก๊ส (Absorption and desorption/ stripping process) และกระบวนการแยกด้วยเมมเบรน (Membrane separation processes) แนวทางการประยุกต์ใช้งานหน่วยกระบวนการสาหรับจัดการกับมลพิษหรือของเสียในเฟสต่าง ๆ ที่พบได้ใน ปัจจุบัน ทั้งในส่วนของมลพิษทางน้า (Water pollution) มลพิษอากาศ (Air pollution) ขยะ และของเสีย อันตราย (Solid and hazardous waste) สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1-6 โดยตัวอย่างการเลือกหน่วย กระบวนการ เช่น กระบวนการดูดซับ (Adsorption) และกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน (Ion exchange) สามารถใช้ในการจัดการกับมลพิษในเฟสแก๊ส (VOCs หรือกลิ่น) และในเฟสของเหลว (Refractory organic คอลลอยด์ หรือ Dissolve particle) ในขณะที่กระบวนการดูดซึม (Absorption) สามารถใช้ในการบาบัด มลพิษอากาศ (VOCs, NOx, SOx) ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง รูปที่ 1-6 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานหน่วยกระบวนการสาหรับจัดการกับมลพิษ หรือของเสียในเฟสต่าง ๆ ในปัจจุบัน เนื้อหาโดยรวมของหนังสือ “หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม” จะแบ่งออกเป็น 6 ส่วนหลัก ๆ กล่าวคือ Application of different Unit processes in Pollution control technologies Reactor design Absorption Coagulation - Flocculation Sedimentation Stripping pH adjustment / Precipitation / Redox Filtration Aeration Electro - Chemistry Adsorption Flotation/ Coalescer Kinetic/ Chlorine disinfection Ion Exchange Cyclone / Hydrocyclone Ozone and UV disinfection Surface filtration Bag Filter / ESP AOP with UV based processes Membrane separation Wet / Venturi scruber AOP with H2O2 based processes Finesolid Organic/ Nutrients Pathogens Suspended solids (SS) Nutrients(NH3) Organic Colloid/dissloved VOCs SS Colloids/ Dissolved Organic Refractory VOCs Odor Nutrients Organic Refractory Colloids/ Dissolved Suspended solids (SS) Nutrients(P) Suspended solids (SS) VOCs Odor NOx+ SOx VOCs Organic/ Nutrients VOCs Solid(degraded) Finesolid Solid(degraded) Hazardous/Chemical waste Hazardous/Chemical waste Solid(pre-posttreatment) Solid(pre-posttreatment) Solid(pre-posttreatment) Solid(pre-posttreatment) Solid(pre-posttreatment) Recoverytechnique
  • 9. บทที่ 1 บทนาและภาพรวม 9 1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหน่วยกระบวนการ  บทที่ 1 บทนาและภาพรวมของหน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Introduction and overview of unit processes for environmental engineering)  บทที่ 2 รูปแบบการไหลและการออกแบบถังปฏิกิริยาเบื้องต้น (Flow model and reactor design concept) 2. หน่วยกระบวนการแยกทางกายภาพ  บทที่ 3 กระบวนการแยกด้วยแรงโน้มถ่วงหรือตกตะกอน (Gravity separation processes)  บทที่ 4 กระบวนการกรองแบบติดค้างในชั้นกรอง (Depth filtration processes)  บทที่ 5 กระบวนการกรองแบบติดค้างที่ผิวหน้า (Surface filtration processes) 3. หน่วยกระบวนการแยกหรือบาบัดขั้นสูง  บทที่ 6 กระบวนการแยกด้วยเมมเบรน (Membrane separation processes)  บทที่ 7 กระบวนการดูดซับและกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออนทางทฤษฎี (Theory of adsorption and ion exchange processes)  บทที่ 8 กระบวนการดูดซับและกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออน - การออกแบบและ ประยุกต์ใช้ (Design and application of adsorption and ion exchange processes) 4. การเพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยกระบวนการทางกายภาพ  บทที่ 9 กระบวนการแยกทางกายภาพแบบอื่น ๆ (Alternative physical separation processes)  บทที่ 10 กระบวนการแยกสาหรับอนุภาคขนาดเล็ก (Fine particle separation process) 5. หน่วยกระบวนการทางเคมี  บทที่ 11 กระบวนการทางเคมี 1 เกี่ยวกับกระบวนการสร้างและรวมตะกอน (Coagulation-flocculation process) การปรับ pH (pH adjustment) และการตกผลึกหรือ ตกตะกอนโลหะหนักทางเคมี (Precipitation)
  • 10. 10 หน่วยกระบวนการสาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม  บทที่ 12 กระบวนการทางเคมี 2 เกี่ยวกับปฏิกิริยารีดอกซ์และกระบวนการไฟฟ้าเคมี (REDOX reaction and electro-chemical process) รวมถึงกระบวนการฆ่าเชื้อโรคและ การออกซิเดชันขั้นสูง (Disinfection and Advanced Oxidation Processes, AOPs) 6. หน่วยกระบวนการที่สัมพันธ์กับเฟสแก๊ส  บทที่ 13 กระบวนการดูดซึมและไล่แก๊ส (Absorption and desorption processes)  บทที่ 14 กระบวนการเติมอากาศ (Aeration process) โดยสรุป หน่วยกระบวนการสาหรับงานด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเป็นพื้นฐานสาคัญที่ทาให้ผู้อ่านเข้าใจและ สามารถออกแบบกระบวนการทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมได้ง่ายขึ้นและมีความเหมาะสมกับมลพิษหรือของเสีย ที่ต้องการบาบัด โดยการจัดการเชื่อมโยงหน่วยกระบวนการที่เกี่ยวข้องให้อยู่ในลาดับที่เหมาะสม รวมไปถึง สามารถคิดค้นหรือออกแบบระบบบาบัดแบบผสมผสาน (Hybrid system) ได้อีกทางหนึ่งด้วย โดยท้ายสุดนี้ ประโยชน์ที่คาดว่าผู้อ่านจะได้รับจากหนังสือเล่มนี้ คือ สามารถเข้าใจกลไกการทางาน รวมถึงสามารถ พิจารณาแต่ละหน่วยกระบวนการ (Unit process) ต่าง ๆ และการประยุกต์ใช้งานอย่างเหมาะสมในการ บาบัดมลพิษสิ่งแวดล้อมในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงลักษณะน้า การบาบัดน้าเสีย การควบคุม มลภาวะทางอากาศ การจัดการขยะและของเสียอันตรายเบื้องต้น รวมถึงน่าจะเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ช่วย ให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจหลักการของกระบวนการบาบัดและการแยกทางกายภาพ และทางกายภาพเคมีใน งานวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเข้าใจความเหมาะสมของแต่ละหน่วยกระบวนการในการจัดการกับมลสาร แต่ละประเภท ซึ่งน่าจะส่งผลดีต่อการเลือกแนวทางและการออกแบบกระบวนการบาบัดและการแยกขั้น พื้นฐานในทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับงานที่เกี่ยวข้องในอนาคต