SlideShare a Scribd company logo
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 3
ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้ า
ชื่อ...................................................................... สกุล ...............................................................
ชั้น..................................................................... เลขที่ ............................................................
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี ) สมุทรปราการ
อาเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ
ก
คานา
ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า ประกอบด้วยการใช้สื่ออุปกรณ์ในการเรียน การสอน
กิจกรรมการทดลอง และแบบทดสอบ ผู้สอนได้สร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ให้นักเรียนได้เรียนรู้
และเข้าใจ วงจรไฟฟ้าอย่างถูกต้องรวดเร็วและมองเห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น นอกจากนี้ยังใช้
เปรียบเทียบกับวงจรที่ต่อแบบถูกต้องและไม่ถูกต้องได้ เพื่อเป็นประสบการณ์ในการปฏิบัติจริงใน
ชีวิตประจาวัน ทั้งยังเชื่อมโยงความรู้ในเรื่องวงจรไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่อง เช่นเปลี่ยนวงจรไฟฟ้า
แบบอนุกรม เป็นวงจรไฟฟ้าแบบขนาน หรือเปลี่ยนเป็นวงจรไฟฟ้าแบบผสม กลับไป - กลับมาได้
อย่างสะดวก ชุด การสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า นี้ได้ติดตั้งอุปกรณ์ให้อยู่กับที่ เมื่อต้องการต่อ
วงจรไฟฟ้าแบบใดก็เพียงใช้สายไฟต่อเชื่อมจุดต่างๆ ให้เป็นวงจรการไหลของกระแสไฟฟ้าตาม
ต้องการได้ สายไฟที่ใช้ต่อเชื่อมจุดต่างๆ ได้ทาให้มีขนาดสั้นพอดีกับระยะของจุดเชื่อม ทาให้
สามารถมองเห็นเส้นทางการไหลของกระแสไฟฟ้าได้ง่าย สายไฟไม่ทับซ้อน จึงแก้ปัญหาการ
สับสนของสายไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า จึงเหมาะสมกับผู้ที่เริ่มต้นเรียนรู้
การต่อวงจรไฟฟ้า หรือนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียน เรื่อง เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า
ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า จัดทาขึ้นเพื่อใช้กับบทเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงาน
ไฟฟ้าของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ซึ่งมี 11 กิจกรรม ทั้งยัง
สามารถดัดแปลงรูปแบบวงจรไฟฟ้าได้มากกว่าที่กาหนดไว้ในแบบเรียน หรือจะใช้เป็น
แบบทดสอบทักษะการต่อวงจรไฟฟ้าเป็นรายบุคคล ซึ่งสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา ใช้วัดทักษะ
ได้อย่างแม่นยา
สันต์ชัย ลิมปพฤกษ์
ครู วิทยฐานะชานาญการ
ข
สารบัญ
คานา ก
สารบัญ ข
คู่มือการใช้ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า ค
การต่อวงจรไฟฟ้าไฟฟ้า 1
พลังงานไฟฟ้า 2
กิจกรรมที่ 1 การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 3
กิจกรรมที่ 2 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม 6
กิจกรรมที่ 3 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน 10
กิจกรรมที่ 4 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน 13
กิจกรรมที่ 5 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม 1 8
กิจกรรมที่ 6 การวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม และแบบขนาน 21
กิจกรรมที่ 7 การวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจร 27
กิจกรรมที่ 8 การวัดกระแสไฟฟ้า และความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้า 33
กิจกรรมที่ 9 ขนาดของเส้นลวดกับค่าความต้านทานไฟฟ้า 37
กิจกรรมที่ 10 ความยาวของเส้นลวดกับความต้านทานไฟฟ้า 40
กิจกรรมที่ 11 ประโยชน์ของฉนวนหุ้มสายไฟ 43
ค
คู่มือการใช้ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้ า
1.ศึกษาเอกสารชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า ให้เข้าใจก่อนนาชุดการสอนไปใช้
2.เตรียมอุปกรณ์ในแต่ละกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย สายไฟ เซลล์ไฟฟ้า หลอดไฟ สวิตซ์
ลวดนิโครม แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ กระบะถ่านไฟฉาย เต้าเสียบ มาตรไฟฟ้า
สะพานไฟ
3.นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน จานวน 40 ข้อ
4.นาอุปกรณ์ไปใช้ในการทากิจกรรมโดยเรียงลาดับกิจกรรมให้ครบทั้ง 11 กิจกรรม ตามเวลา
ที่กาหนด
5.สังเกตการร่วมกิจกรรม ให้คาแนะนากรณีที่นักเรียนมีปัญหา หรือข้อสงสัย
6.นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน จานวน 40 ข้อ
1
การต่อวงจรไฟฟ้ า
วงจรไฟฟ้ า (Electric circuit) หมายถึง เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ
เช่น เซลล์ไฟฟ้า สายไฟ หลอดไฟ และสวิตช์ ได้ครบรอบ
เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าจนครบวงจร เข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง เช่น ถ่านไฟฉาย
กระแสไฟฟ้าจากถ่านไฟฉายจะเคลื่อนที่จากขั้วบวกไปยังขั้วลบ หากกระแสไฟฟ้าไหลได้ไม่ครบวงจร
หลอดไฟจะไม่สว่าง เรียกวงจรลักษณะนี้ว่า วงจรเปิด หากต่อวงจรไฟฟ้าแล้วมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
ได้จนครบวงจร หลอดไฟก็จะสว่าง เรียกวงจรลักษณะนี้ว่า วงจรปิด
วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยส่วนสาคัญ3ส่วนคือ แหล่งพลังงานอุปกรณ์ไฟฟ้า และ สายไฟ
สัญลักษณ์ที่ใช้ในชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์ในชุดการสอน ประกอบด้วย สายไฟ เซลล์ไฟฟ้า หลอดไฟ ลวดนิโครม สวิตซ์
แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ กระบะถ่านไฟฉาย เต้าเสียบ มาตรไฟฟ้า สะพานไฟ
ไฟฟ้าขั้วบวก
ไฟฟ้าขั้วลบ
เซลล์ไฟฟ้า
สายไฟฟ้าขั้วบวก (สายสีแดง)
สายไฟฟ้าขั้วลบ (สายสีดา)
หลอดไฟฟ้าไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
หลอดไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
ลวดนิโครม
แอมมิเตอร์
โวลต์มิเตอร์
กระบะถ่านไฟฉาย
2
ภาพ โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ (www.ecurriculum.mv.ac.th) เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2550
พลังงานไฟฟ้าเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตของเราทุกคน ในแต่ละวันเราใช้พลังงานไฟฟ้ากับ
เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ โดยผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องซื้อพลังงานไฟฟ้าจากผู้ผลิต และจะต้องจ่ายค่าพลังงานไฟฟ้า
แต่ละเดือนตามจานวนเงินที่เรียกเก็บ
ปัจจุบันไฟฟ้าได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์ การพัฒนา
ประเทศในทุกด้านจาเป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้า เครื่องใช้ในบ้าน ในสานักงาน ส่วนใหญ่ต้องใช้
พลังงานไฟฟ้าทั้งสิ้น
เมื่อมีแหล่งพลังงานไฟฟ้า เราสามารถจะนาพลังงานไฟฟ้ามาเปลี่ยนเป็นพลังงานอื่นๆ เพื่อใช้
ประโยชน์ โดยทาให้พลังงานไฟฟ้าไหลผ่านลวดตัวนาไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องการให้ครบวงจร
เครื่องใช้ไฟฟ้าก็จะทางานได้ เริ่มแรกเราจะมาศึกษาการต่อวงจรไฟฟ้าจากกิจกรรมต่อไปนี้
3
กิจกรรมที่ 1 การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายได้
2. อธิบายความหมายของวงจรปิด และวงจรเปิดได้
3. สรุปได้ว่าจานวนถ่านไฟฉายมีผลต่อความสว่างของหลอดไฟ
4. เลือกใช้สายไฟและวิธีการตรวจสอบสายไฟที่ชารุดได้
วิธีทดลอง
1. ต่อวงจรไฟฟ้า โดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน ต่อสายไฟเข้ากับหลอดไฟ A แล้วกดสวิตซ์
(วงจรปิด) สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่หลอดไฟ A ยกสวิตซ์ขึ้น (วงจรเปิด)
2. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มถ่านไฟฉายอีกครั้งละ 1 ก้อน จนครบ 4 ก้อน สังเกตความสว่างของ
หลอดไฟ A บันทึกผล
3. ทาซ้าข้อ 1 แต่เปลี่ยนไปใช้หลอดไฟ B และ C ตามลาดับ
4. บันทึกผลการทดลอง โดยกาหนด (+ ) แทนความสว่าง ยิ่งสว่างมากจานวน (+) จะมาก เช่น
ความสว่าง (+++) จะสว่างมากว่า (++)
5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
4
บันทึกผลการทดลอง
จานวนถ่านไฟฉาย
(ก้อน)
ความสว่างของหลอดไฟ (+)
หลอดไฟ A หลอดไฟ B หลอดไฟ C
1
2
3
4
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
ภาพวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………….
5
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน)
1. ถ่านไฟฉาย 4 ก้อนในกระบะมีการต่อเซลล์ไฟฟ้าเป็นวงจรแบบใด……………………………..
2. เมื่อกดสวิตซ์ วงจรปิด มีความหมายอย่างไร……………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………….
3. จานวนถ่านไฟฉายที่เพิ่มขึ้นมีผลต่อความสว่างของหลอดไฟฟ้าหรือไม่อย่างไร…………..….....
….……………………………………………………………………………………………….
4. เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างจานวนถ่านไฟฉายกับความสว่างของหลอดไฟ
5. ให้นักเรียนบอกสาเหตุและวิธีการแก้ไขเมื่อต่อวงจรไฟฟ้าแล้วหลอดไฟไม่สว่าง
.....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ..
..................................................................................................................................................... .
.................................................................................................................................................... ..
......................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... ..
6
วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม คือการต่อหลอดไฟแถวเดียวเรียงกันไป โดยใช้สายไฟต่อเข้าที่
ขาข้างหนึ่งของหลอดไฟ ส่วนขาอีกข้างต่อไปยังขาหลอดไฟอีกหลอดหนึ่งเรียงลาดับกันไปตามรูป
โดยที่มีปริมาณของกระแสไฟฟ้าไหลผ่านทุกส่วนของวงจรเท่ากัน
กิจกรรมที่ 2 การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม
จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมได้ และอธิบายเส้นทางการไหลของกระแสไฟฟ้าได้
2. เขียนแผนภาพการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมได้
3. อธิบายว่าวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมเมื่อหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับหรือไส้หลอดขาด จะมีผลทา
ให้หลอดไฟดวงอื่นๆ ไม่สว่างด้วย
4. บอกได้ว่าการเพิ่มจานวนถ่านไฟฉายมีผลให้หลอดไฟสว่างมากขึ้น
วิธีทดลอง
1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน ต่อกับหลอดไฟ 3 ดวง โดยต่อเรียงลาดับกัน
กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟทั้ง 3 ดวง
2. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มถ่านไฟฉายอีกครั้งละ 1 ก้อน จนครบทั้ง 4 ก้อน สังเกตความสว่างของ
หลอดไฟทั้ง 3 ดวง
3. ทดลองถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ A แล้วสังเกตหลอดไฟ B และ C บันทึกผล
4. ทาซ้าข้อ 4 แต่เปลี่ยนไปถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ B และ C ตามลาดับ สังเกตการ
เปลี่ยนแปลง บันทึกผล
5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
7
รูป การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ใช้หลอดไฟ 3 ดวง
บันทึกผลการทดลอง
ถ่านไฟฉาย
(ก้อน)
ความสว่าง (+) ถอดสายไฟ
ที่ขั้วหลอด
ผลการสังเกต
A B C A B C
1 A ดับ
2 B ดับ
3 C ดับ
4
8
ภาพวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
สรุปผลการทดลอง
………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………
9
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน)
1. เมื่อกดสวิตซ์ (วงจรปิด) หลอดไฟแต่ละดวงมีความสว่างเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
....................................................................................................................................................................
2. ให้นักเรียนเขียนภาพวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมของการต่อหลอดไฟ 3 ดวง
3. การที่นักเรียนถอดสายไฟที่ขั้วหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งออก จะมีผลกระทบต่อหลอดไฟดวง
อื่นหรือไม่ เพราะอะไร...............................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
4. ถอดขั้วสายไฟหลอด A กับการถอดขั้วสายไฟหลอด C เกิดการเปลี่ยนแปลงเหมือนกันหรือไม่
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
5. การเพิ่มจานวนถ่านไฟฉาย มีผลต่อความสว่างของหลอดไฟหรือไม่ อย่างไร
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
10
วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน
การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน คือเป็นการนาปลายข้างเดียวกัน ( ขั้วเดียวกัน) ของแต่ละอุปกรณ์ มา
รวมกันก่อน แล้วจึงต่อเข้ากับเซลล์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละอย่าง โดย
กระแสไฟฟ้ารวมในวงจรเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่แยกผ่านอุปกรณ์แต่ละอย่างรวมกัน
กิจกรรมที่ 3 การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน
จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้
2. อธิบายเส้นทางการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าได้
3. เขียนแผนภาพการต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้
4. สรุปได้ว่าวงจรไฟฟ้าแบบขนาน เมื่อหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับหรือไส้หลอดขาด
จะไม่ทาให้หลอดไฟดวงอื่นๆ ดับ และมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรได้ตามปกติ
5. สรุปได้ว่าการเพิ่มจานวนถ่านไฟฉาย มีผลทาให้หลอดไฟสว่างมากขึ้น
วิธีทดลอง
1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน และหลอดไฟ 3 ดวง โดยต่อแบบคร่อมจุด
2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟทั้ง 3 ดวง
3. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มจานวนถ่านไฟฉายครั้งละ 1 ก้อน จนครบทั้ง 4 ก้อน สังเกตความสว่าง
ของหลอดไฟ บันทึกผลการทดลอง
4. ถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ A ออก สังเกตหลอดไฟดวงอื่น ๆ
5. ทาซ้าข้อ 4 แต่เปลี่ยนไปถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ B และ C ตามลาดับ สังเกต
การเปลี่ยนแปลงหลอดไฟดวงที่ไม่ได้ถอดขั้ว บันทึกผลการทดลอง
6. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
11
1
1
1
1
1
1
รูป วงจรไฟฟ้าแบบขนาน ใช้หลอดไฟ 3 ดวง
บันทึกผลการทดลอง
จานวนถ่านไฟฉาย
(ก้อน)
ความสว่างของหลอดไฟ (+)
หลอดไฟ A หลอดไฟ B หลอดไฟ C
1
2
3
4
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
………………...
12
2
2
2
2
2
2/
ภาพวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย
สรุปผลการทดลอง
………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 7 คะแนน)
1. ในการทดลองนี้นักเรียนใช้สายไฟทั้งหมดกี่เส้น
.............................................................................................................................................................
2. เมื่อกดสวิตซ์ (วงจรปิด) หลอดไฟทั้ง 3 ดวง มีความสว่างเท่ากันหรือไม่
.............................................................................................................................................................
3. ถอดขั้วสายไฟหลอดไฟ A จะมีผลต่อหลอดไฟ B และ C หรือไม่เพราะเหตุใด
.............................................................................................................................................................
4. ถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ C จะมีผลต่อความสว่างของหลอดไฟ A และ B หรือไม่
.............................................................................................................................................................
5. การเพิ่มจานวนถ่านไฟฉายมีผลต่อความสว่างของหลอดไฟในวงจรหรือไม่
.............................................................................................................................................................
6. การต่อหลอดไฟแบบขนาน แตกต่างจากการต่อหลอดไฟแบบอนุกรมอย่างไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
7. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม กับแบบขนาน วงจรแบบใดมีผลทาให้หลอดไฟสว่างมากกว่ากัน
เมื่อกาหนดให้จานวนหลอดไฟและขนาดเท่ากัน ใช้เซลล์ไฟฟ้าเท่ากัน..............................................
13
ในการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน เมื่อนักเรียนทาการทดลอง กิจกรรมเรื่อง
การต่อวงจรไฟฟ้า พบว่านักเรียนมีความเข้าใจสับสนเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม และ
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน โดยเมื่อใช้หลอดไฟฟ้า 2 หลอด ต่อเข้ากับถ่านไฟฉายจานวน 4 ก้อน
ความสว่างของหลอดไฟฟ้าของการต่อทั้ง 2 แบบ ใกล้เคียงกัน ซึ่งในความเป็นจริงถ้าใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า
ที่ใช้อยู่ตามบ้าน การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนานเมื่อใช้หลอดไฟฟ้า 2 หลอด จะสว่างกว่าการต่อหลอด
ไฟฟ้าแบบอนุกรม เพราะการใช้ไฟฟ้าจากบ้านกระแสไฟฟ้ามีแรงเคลื่อนไฟฟ้ามากกว่าถ่านไฟฉาย จึง
ไม่ทาให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าตก ผู้สอนจึงได้จัดทาสื่อการต่อวงจรไฟฟ้า โดยใช้อุปกรณ์ที่ใช้อยู่ตามบ้าน
เพื่อให้นักเรียนทดลอง และเกิดการเรียนรู้เพิ่มขึ้น
กิจกรรมที่ 4 การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนาน
จุดประสงค์
1. ทดลองและสรุปผลเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานได้
2. เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟที่ต่อแบบอนุกรมและแบบขนานได้
3. บอกผลดีของการต่อหลอดไฟแบบขนานได้
วิธีทดลอง
1. นาสื่อการต่อวงจรไฟฟ้ามาติดตั้งหลอดไฟ A , B และ C ที่แผงวงจรไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรมและ
แบบขนาน ตามลาดับ
2. นาเต้าเสียบของแผงวงจรไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรมและแบบขนาน ต่อเข้ากับเต้ารับของห้องเรียน
3. ที่แผงวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม เปิดสวิตซ์ S1 , S2 และ S3 ตามลาดับ สังเกตความสว่างของ
หลอดไฟทั้ง 3 ดวง บันทึกผลการทดลอง
4. ที่แผงวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ยกคันโยกสะพานไฟขึ้น เปิดสวิตซ์ S1 , S2 และ S3 ตามลาดับ
สังเกตความสว่างของหลอดไฟทั้ง 3 ดวง บันทึกผลการทดลอง
14
รูป การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ใช้หลอดไฟ 3 ดวง ต่อกับความต่างศักย์ 220 โวลต์
15
รูป การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ใช้หลอดไฟ 3 ดวง ต่อกับความต่างศักย์ 220 โวลต์
16
บันทึกผลการทดลอง
การต่อหลอดไฟ
ความสว่างของหลอดไฟ
หลอดไฟ A หลอดไฟ B หลอดไฟ C
แบบอนุกรม ………………… ………………… …………………
แบบขนาน ………………… ………………… …………………
สรุปผลการทดลอง
…………………………………………………………………………………………………….
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน) ให้ทาลงในกระดาษคาตอบ หน้า 17
1. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมมีลักษณะอย่างไร
ก. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อเรียงกันเป็นสายเดียว
ข. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด
ค. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อเรียงกันสลับกับการต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด
ง. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด สลับกับการต่อเรียงกัน
2. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานมีลักษณะอย่างไร
ก. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อเรียงกันเป็นสายเดียว
ข. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด
ค. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อเรียงกันสลับกับการต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด
ง. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด สลับกับการต่อเรียงกัน
3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการต่อวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน
ก. ความต้านทานรวมจะน้อยลง
ข. ความต้านทานรวมจะมากขึ้น
ค. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟน้อย
ง. ถ้าหลอดไฟหลอดหนึ่งขาดจะทาให้หลอดอื่นดับ
17
4. ข้อใดเป็นการต่อหลอดไฟแบบขนาน
5. การต่อหลอดไฟในบ้านควรต่อแบบใด
ก. แบบผสม
ข. แบบขนาน
ค. แบบเรียงกัน
ง. แบบอนุกรม
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กระดาษคาตอบ
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
18
วงจรไฟฟ้ าแบบผสม เป็นวงจรที่นาเอาวิธีการต่อแบบอนุกรม และวิธีการต่อแบบขนานมารวม
ให้เป็นวงจรเดียวกัน ซึ่งสามารถแบ่งตามลักษณะของการต่อได้ 2 ลักษณะ ดังนี้
1 .วงจรผสมแบบอนุกรม-ขนาน เป็นการนาเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกันอย่างอนุกรม
ก่อน แล้วจึงนาไปต่อกันแบบขนานอีกครั้งหนึ่ง
2. วงจรผสมแบบขนาน-อนุกรม เป็นการนาเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกันอย่างขนานก่อน
แล้วจึงนาไปต่อกันแบบอนุกรมอีกครั้งหนึ่ง
กิจกรรมที่ 5 การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบผสม
จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม และแบบขนานให้อยู่ในวงจรไฟฟ้าเดียวกันได้
2. บอกได้ว่าหลอดไฟที่ต่อแบบอนุกรม จะมีความสว่างมากกว่าหลอดไฟฟ้าที่ต่อแบบขนาน
ที่อยู่ในวงจรไฟฟ้าเดียวกัน
3. นักเรียนสามารถต่อวงจรไฟฟ้าได้หลายรูปแบบ
วิธีทดลอง
1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน และหลอดไฟ 3 ดวง โดยต่อวงจรแบบอนุกรมที่
หลอดไฟ A และต่อคร่อมจุด (แบบขนาน) ที่หลอดไฟ B และ C
2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตหลอดไฟทั้งสามดวง
3. ถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ A สังเกตหลอดไฟ B และ C
4. ทาซ้าข้อ 3 แต่เปลี่ยนเป็นถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ B และ C ตามลาดับ สังเกตหลอดไฟ
ดวงที่ไม่ได้ถอดขั้ว บันทึกผลการทดลอง
5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแบบผสม
19
รูป การต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม
บันทึกผลการทดลอง
หลอดไฟ
ความสว่างของหลอดไฟ (+)
วงจรปิด ถอดขั้วหลอด A ถอดขั้วหลอด B ถอดขั้วหลอด C
A ดับ
B ดับ
C ดับ
20
ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า
สรุปผลการทดลอง
......................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 6 คะแนน)
1. หลอดไฟดวงใดต่อวงจรแบบอนุกรมและหลอดไฟใดที่ต่อวงจรแบบขนาน
.............................................................................................................................................................
2. หลอดไฟดวงใดสว่างมากที่สุด
............................................................................................................................................................
3. การดับของหลอดไฟดวงใด มีผลทาให้หลอดไฟดวงอื่นๆ ดับไปด้วย
............................................................................................................................................................
4. ถ้านักเรียนจะเลือกถอดหลอดไฟออกไป 1 ดวง จะเลือกดวงใด ที่ไม่เกิดผลกระทบต่อวงจรไฟฟ้า
............................................................................................................................................................
5. การเพิ่มจานวนถ่านไฟฉาย มีผลต่อความสว่างของหลอดไฟดวงใดมากที่สุด
............................................................................................................................................................
6. ถ้าทาการถอดขั้วสายไฟที่หลอด C จะมีผลกระทบต่อหลอดไฟ A และหลอดไฟ B อย่างไร
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
21
แอมมิเตอร์ (Ammeter)
แอมมิเตอร์ คือเครื่องมือสาเร็จรูปที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจร ความต้านทานภายในของ
เครื่องแอมมิเตอร์มีค่าน้อยมาก วิธีใช้ต้องต่อแบบอนุกรมกับวงจร มีหน่วยวัด คือ แอมแปร์
คุณสมบัติของแอมมิเตอร์ที่ดี
1. มีความแม่นยาสูง เพื่อว่าเมื่อนาแอมมิเตอร์ไปต่ออนุกรมในวงจรแล้ว จะไม่ทาให้ความ
ต้านทานรวมของวงจรเปลี่ยนแปลง ทาให้กระแสไฟฟ้าที่วัดได้มีความแม่นยาสูง หรือมีความผิดพลาด
จากการวัดน้อย
2. มีความไว ( Sensitivity ) สูง แอมมิเตอร์ที่ดีจะสามารถตรวจวัดค่ากระแสไฟฟ้าน้อยๆ ได้
กล่าวคือ แม้วงจรจะมีกระแสไฟฟ้าไหลเพียงเล็กน้อย แอมมิเตอร์ก็สามารถตรวจวัดค่าได้
กิจกรรมที่ 6 การวัดค่ากระแสไฟฟ้ าในวงจรแบบอนุกรม และแบบขนาน
จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถใช้แอมมิเตอร์วัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรได้
2. นักเรียนบอกวิธีการใช้ ข้อจากัด และการอ่านค่าแอมมิเตอร์ได้อย่างถูกต้อง
3. นาแอมมิเตอร์เข้าไปวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรม และแบบขนาน
ได้อย่างถูกต้อง
ตอนที่ 1 การวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
วิธีทดลอง
1. ต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรมโดยใช้หลอดไฟ 3 ดวง และต่อแอมมิเตอร์ เข้าในวงจร
แบบอนุกรม โดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน
2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และอ่านค่าจากแอมมิเตอร์
3. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มถ่านไฟฉายทีละก้อน จนครบ 4 ก้อน สังเกตความสว่างของ
หลอดไฟทั้งสามดวง บันทึกค่ากระแสไฟฟ้าจากการอ่านแอมมิเตอร์ได้
4. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ต่อกับแอมมิเตอร์
5. ทาซ้าข้อ 1 ถึงข้อ 4 แต่เปลี่ยนเป็นวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
22
รูป ก. วัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
บันทึกผลการทดลอง
ตอนที่ 1 วัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
จานวนถ่านไฟฉาย
(ก้อน)
ความสว่าง (+) ค่ากระแสไฟฟ้า
(mA)A B C
1
2
3
4
23
ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า
ภาพการวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
ตอนที่ 2 การวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน
24
บันทึกผลการทดลอง
จานวนถ่านไฟฉาย
(ก้อน)
ความสว่าง (+) ค่ากระแสไฟฟ้า
(mA)A B C
1
2
3
4
ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า
ภาพการวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน
สรุปผลการทดลอง
................................................................................................
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
25
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 9 คะแนน)
1. ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมหลอดไฟทั้ง 3 ดวงมีความสว่างเท่ากันหรือไม่
..............................................................................................................................................................
2. ในวงจรไฟฟ้าแบบขนานหลอดไฟทั้ง 3 ดวงมีความสว่างเท่ากันหรือไม่
..............................................................................................................................................................
3. การวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่ตาแหน่งหน้าหลอดไฟ A จะแตกต่างจากการวัดที่ตาแหน่งหลัง
หลอดไฟ C หรือไม่ และค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์เปลี่ยนแปลงอย่างไร
...............................................................................................................................................................
4. การสลับขั้วสายไฟที่แอมมิเตอร์จะมีผลต่อการอ่านค่าแอมมิเตอร์หรือไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................
5. อ่านค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดได้จากแอมมิเตอร์ในวงจรแบบอนุกรมได้เท่าใด
..............................................................................................................................................................
6. ภาพหน้าปัดแอมมิเตอร์ ที่ใช้ในการทดลอง
6.1 แอมมิเตอร์นี้ใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้าได้สูงสุด – ต่าสุดเท่าใด......................................................
6.2 ถ้าต่อวงจรไฟฟ้าขั้วลบที่จุด P และขั้วบวกที่จุด A เข็มของเครื่องวัด ชี้เต็มหน้าปัดพอดี
จะอ่านค่ากระแสไฟฟ้าได้เท่าใด…………………………………………….....…………….
6.3 จากข้อ 6.2 ถ้าต่อขั้วบวกที่จุด B แทน เข็มของเครื่องวัดชี้ไปที่จุดกึ่งกลางของหน้าปัด
พอดี จะอ่านค่ากระแสไฟฟ้าได้เท่าใด....................................................................................
6.4 ถ้าวงจรไฟฟ้าชนิดหนึ่งมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรประมาณ 0.3 แอมแปร์ นักเรียนจะต่อ
สายไฟฟ้าขั้วลบ และขั้วบวก เข้าที่จุดใดในแอมมิเตอร์............................................................
26
โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter)
โวลต์มิเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดแรงดันไฟฟ้า หรือค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า เมื่อจะใช้ ต้องนาไป
ต่อคร่อมจุดที่ต้องการวัด (ต่อแบบขนาน)
คุณสมบัติของโวลต์มิเตอร์ที่ดี
1. มีความแม่นยาสูง ซึ่งเกิดจากการนาตัวความต้านทานที่มีค่าสูงมากๆ มาต่อแบบอนุกรม
เพื่อป้ องกันไม่ให้มีกระแสแยกไหลผ่านโวลต์มิเตอร์ ทาให้กระแสไหลผ่านจุดที่ต้องการวัดทั้งหมด ค่า
แรงดันที่วัดได้ จึงมีความผิดพลาดน้อย
2. มีความไวสูง แม้ค่าแรงดันมีค่าต่ามากก็สามารถตรวจวัดได้
กิจกรรมที่ 7 การวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าในวงจร
จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถใช้โวลต์มิเตอร์วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้
2. นักเรียนบอกวิธีการใช้ ข้อจากัด และการอ่านค่าโวลต์มิเตอร์ได้
3. สามารถใช้โวลต์มิเตอร์วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม
และวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้อย่างถูกต้อง
วิธีทดลอง
1. ต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมโดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หลอดไฟ 3 ดวง แล้วนา
โวลต์มิเตอร์ต่อคร่อมจุด (แบบขนาน) ระหว่างขั้วหลอดไฟ A กับขั้วหลอดไฟ C
2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟทั้งสาม อ่านค่าความต่างศักย์
3. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มถ่านไฟฉายทีละก้อนจนครบทั้ง 4 ก้อน สังเกตความสว่างของหลอดไฟ
และบันทึกค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจากโวลต์มิเตอร์ที่อ่านได้
4. ทดลองสลับขั้วโวลต์มิเตอร์ สังเกตเข็มของโวลต์มิเตอร์
5. ทาซ้าข้อ 1 ถึงข้อ 3 โดยเปลี่ยนเป็นวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
6. เขียนแผนภาพการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม และแบบขนาน
27
ก. วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
รูป ก. การวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
28
บันทึกผลการทดลอง
ตอนที่ 1 วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า
ภาพการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
จานวนถ่านไฟฉาย
(ก้อน)
ความสว่างของหลอดไฟ (+) ค่าความต่างศักย์
(โวลต์)A B C
1
2
3
4
29
ข. วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน
รูป ข. วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน
30
ตอนที่ 2 วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน
จานวนถ่านไฟฉาย
(ก้อน)
ความสว่างของหลอดไฟ (+) ค่าความต่างศักย์
(โวลต์)A B C
1
2
3
4
ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า
ภาพการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน
สรุปผลการทดลอง
................................................................................................................................................. ...
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
31
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 6 คะแนน)
1. ขั้วบวกและขั้วลบของโวลต์มิเตอร์ต่อที่ตาแหน่งใดของวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม
..............................................................................................................................................................
2. ถ้าหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมมีผลต่อค่าโวลต์มิเตอร์อย่างไร
..............................................................................................................................................................
3. ถ้าหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับในวงจรไฟฟ้าแบบขนานมีผลต่อค่าโวลต์มิเตอร์อย่างไร
..............................................................................................................................................................
4. การสลับขั้วสายไฟที่โวลต์มิเตอร์ จะมีผลต่อโวลต์มิเตอร์อย่างไร
..............................................................................................................................................................
5. การอ่านค่าความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม กับวงจรไฟฟ้าแบบขนานเมื่อจานวนถ่านไฟฉาย
และจานวนหลอดไฟเท่ากันแบบใดอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้มากกว่ากันเพราะอะไร
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
6. หลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับ ค่าความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าแบบขนานจะมีค่ามากขึ้น
หรือลดลงอย่างไร
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
32
กระแสไฟฟ้ า หมายถึงการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนอิสระจากอะตอมหนึ่งไปยังอะตอมหนึ่ง จะ
ไหลมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความต้านทานของวงจร ใช้แทนด้วยตัว I มีหน่วยวัดเป็น แอมแปร์ (A)
เครื่องมือที่ใช้สาหรับวัดกระแสไฟฟ้าเรียกว่า แอมมิเตอร์
ความต่างศักย์ไฟฟ้ า เกิดจากความแตกต่างของระดับพลังงานของจุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้า โดย
กระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง ไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่าเสมอ และจะหยุดไหลเมื่อ
ศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน ใช้แทนด้วยตัว V มีหน่วยเป็นโวลต์ (V) เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์เรียกว่า
โวลต์มิเตอร์
กิจกรรมที่ 8 การวัดกระแสไฟฟ้ า และความต่างศักย์ไฟฟ้ าในวงจรไฟฟ้ า
จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถนาแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ ต่อเข้าในวงจรเพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้า และค่า
ความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าได้ถูกต้อง
2. อธิบายและเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้าได้
3. นักเรียนอธิบายได้ว่า การเพิ่มจานวนถ่านไฟฉายหรือการเพิ่มหลอดไฟในวงจร มีผลให้
กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรเปลี่ยนแปลง
วิธีทดลอง
1. ต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม โดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หลอดไฟ 3 ดวง แอมมิเตอร์
(ต่อแบบอนุกรม) และโวลต์มิเตอร์ (ต่อแบบขนาน) เข้าในวงจร
2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และอ่านค่ากระแสไฟฟ้า จากแอมมิเตอร์
และค่าความต่างศักย์จากโวลต์มิเตอร์
3. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มถ่านไฟฉายทีละก้อนจนครบ 4 ก้อน สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และ
บันทึกค่ากระแสไฟฟ้า และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
4. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า กับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ที่มีแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ในวงจรไฟฟ้า
6. ทาซ้าข้อ 1 ถึงข้อ 5 แต่เปลี่ยนเป็นวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
33
ก. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า และความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม
รูป ก. การวัดค่ากระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม
บันทึกผลการทดลอง
ตอนที่ 1 วัดค่ากระแสไฟฟ้าและค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
จานวนถ่านไฟฉาย
(ก้อน)
ความสว่างของหลอดไฟ (+) กระแสไฟฟ้า
(มิลลิแอมแปร์)
ความต่างศักย์
(โวลต์)A B C
1
2
3
4
34
ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า
ภาพการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
ข. การวัดค่ากระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
รูป ข. การวัดค่ากระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
35
บันทึกผลการทดลอง
ตอนที่ 1 วัดค่ากระแสไฟฟ้าและค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน
จานวนถ่านไฟฉาย
(ก้อน)
ความสว่างของหลอดไฟ (+) กระแสไฟฟ้า
(มิลลิแอมแปร์)
ความต่างศักย์
(โวลต์)A B C
1
2
3
4
ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า
ภาพการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน
สรุปผลการทดลอง
................................................................................................................................................. ...
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน)
1. แอมมิเตอร์ และโวลต์มิเตอร์ที่ใช้ในการทดลอง มีวิธีการใช้แตกต่างกันอย่างไร
...........................................................................................................................................................
2. ถ้านาโวลต์มิเตอร์ มาต่อในวงจรแบบอนุกรม จะมีผลอย่างไร..........................................................
...........................................................................................................................................................
3. การสลับขั้วไฟฟ้าที่แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์จะเกิดผลอย่างไร........................................................................
4. วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม กับวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ที่ใช้เซลล์ไฟฟ้า 4 เซลล์วงจรแบบใดมี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มากกว่า และมากกว่ากี่มิลลิแอมแปร์.............................................................................
5. หลอดไฟฟ้าที่ต่อกันแบบขนานเมื่อหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับ จะมีผลทาให้หลอดไฟ
ดวงอื่นๆ มีความสว่างเพิ่มขึ้นหรือไม่...............................................................................................
36
กฎของโอห์ม (Ohm’s Law)
โอห์ม (George Simon Ohm) ได้ทดลองเกี่ยวกับไฟฟ้าและสรุปเป็นกฎขึ้นมาว่า “เมื่ออุณหภูมิ
คงตัวกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวนาจะมีค่าแปรผันโดยตรงกับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างปลายขั้วทั้ง
สองของตัวนานั้น”
ความต้านทานไฟฟ้า ( Resistance) หมายถึง สมบัติของสารแต่ละชนิดที่จะยอมให้
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้
1. ความยาวของลวดตัวนา
2. พื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนา
3. ชนิดของโลหะ
4. อุณหภูมิ อุณหภูมิในระดับ -230 °C โลหะจะมีค่าความต้านทานเป็นศูนย์(ตัวนายิ่งยวด)
กิจกรรมที่ 9 ขนาดของเส้นลวดกับค่าความต้านทานไฟฟ้ า
จุดประสงค์
1. อธิบายได้ว่าเบอร์ของเส้นลวดโลหะ บอกถึงขนาดพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดได้
2. เปรียบเทียบขนาดพื้นที่หน้าตัดของลวดโลหะ ต่อการไหลของกระแสไฟฟ้าและ
ความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า
วิธีทดลอง
1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน หลอดไฟ B ลวดนิโครม เบอร์ 26 ยาว 30 cm และ
แอมมิเตอร์โดยต่อเป็นวงจรแบบอนุกรม แล้วใช้โวลต์มิเตอร์ต่อคร่อมจุด (แบบขนาน) ที่ลวดนิโครม
เบอร์ 26
2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟ B บันทึกค่ากระแสไฟฟ้า และค่า
ความต่างศักย์ไฟฟ้า
3. ทาซ้าข้อ 1 แต่เปลี่ยนไปใช้ลวดนิโครม เบอร์ 30 ยาว 30 cm. สังเกตความสว่างของหลอดไฟ
และบันทึกค่ากระแสไฟฟ้า และความต่างศักย์ไฟฟ้า
4. สรุปเปรียบเทียบขนาดของเส้นลวดกับค่าความต้านทานไฟฟ้า
5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าตามการทดลอง
37
รูป วงจรไฟฟ้าต่อกับลวดความต้านทาน
บันทึกผลการทดลอง
ขนาดลวดนิโครม
(เบอร์)
ความยาว
(cm)
ค่ากระแสไฟฟ้า
(มิลลิแอมแปร์)
ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
(โวลต์)
26
30
30
30
ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า
38
สรุปผลการทดลอง
.....................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน)
1. จงบอกความหมายของลวดความต้านทานไฟฟ้า.................................................................................
............................................................................................................................................................
2. ขนาดเบอร์ของลวดนิโครมบอกความหมายอะไร...............................................................................
............................................................................................................................................................
3. พื้นที่หน้าตัดของลวดนิโครมมีความสัมพันธ์กับความต้านทานไฟฟ้าอย่างไร..................................
..........................................................................................................................................................
4. สิ่งที่สังเกตได้จากการต่อลวดนิโครมเข้าในวงจรไฟฟ้า มีอะไรบ้าง..................................................
...........................................................................................................................................................
5. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความต้านทานกับค่าความสว่างของหลอดไฟ
39
ความต้านทานไฟฟ้ า หมายถึง ตัวที่ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าให้ไหลในจานวนจากัด ซึ่ง อยู่
ในรูปของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด เช่น แผ่นลวดความร้อนของเตารีด หม้อหุงข้าว หลอดไฟฟ้า เป็นต้น
เครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า ให้ไหลในจานวนจากัด ใช้แทนด้วยตัว R มี
กิจกรรมที่ 10 ความยาวของเส้นลวดกับความต้านทานไฟฟ้ า
จุดประสงค์
1. อธิบายได้ว่าความยาวของเส้นลวดโลหะ มีผลต่อการไหลของกระแสไฟฟ้าและ
ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
2. สรุปความสัมพันธ์ของพื้นที่หน้าตัด ความยาว ชนิดของเส้นลวดโลหะมีผลต่อการไหลของ
กระแสไฟฟ้า และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
วิธีทดลอง
1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน หลอดไฟ B ลวดนิโครมเบอร์ 30 ยาว 30 cm
และแอมมิเตอร์โดยต่อเป็นวงจรแบบอนุกรม แล้วใช้โวลต์มิเตอร์ต่อคร่อมจุด (แบบขนาน)
ที่ปลายลวดนิโครม เบอร์ 30
2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟ บันทึกค่ากระแสไฟฟ้าจากแอมมิเตอร์
และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจากโวลต์มิเตอร์
3. ทาซ้าข้อ 1 แต่เปลี่ยนไปใช้ลวดนิโครม เบอร์ 30 ยาว 15 cm สังเกตความสว่างของหลอดไฟ
และบันทึกค่ากระแสไฟฟ้า และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
4. เปรียบเทียบความยาวของเส้นลวด กับค่าความต้านทานไฟฟ้า
5. เขียนรูปแผนภาพวงจรไฟฟ้า ตามการทดลอง
40
รูป วงจรไฟฟ้า ลวดความต้านทานเบอร์ 30
ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า
41
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน)
1. ความยาวของลวดนิโครมมีผลต่อกระแสไฟฟ้าอย่างไร………………………………………………
2 ความยาวของลวดนิโครมมีความสัมพันธ์อย่างไรกับความต้านทานไฟฟ้า
............................................................................................................................................................
3. จากการทดลอง จงบอกค่าตัวแปรต่อไปนี้
5.1 ตัวแปรต้น คือ......................................................................................................................
5.2 ตัวแปรตาม คือ ....................................................................................................................
5.3 ตัวแปรควบคุม คือ...............................................................................................................
42
ฉนวนไฟฟ้ า คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปโดยสะดวก หรือไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้า
เคลื่อนที่ผ่านไป วัตถุชนิดที่จะเป็นฉนวนไฟฟ้าได้ดี เช่น กระเบื้องเคลือบ ยาง แก้ว ไม้ พลาสติก
เป็นต้น
กิจกรรมที่ 11 ประโยชน์ของฉนวนหุ้มสายไฟ
จุดประสงค์
1. นักเรียนสามารถบอกประโยชน์ของฉนวนที่ใช้หุ้มสายไฟได้
2. อธิบายการเกิดไฟฟ้าลัดวงจร และเส้นทางการไหลของกระแสไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง
3. นักเรียนบอกถึงอันตรายและผลที่เกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร
วิธีทดลอง
1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน ต่อกับลวดนิโครมเบอร์ 26 ยาว 30 cm ไปยัง
หลอดไฟ A แล้วต่อกับลวดนิโครม เบอร์ 30 ยาว 30 cm ตามลาดับเป็นวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม
2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟ
3. ใช้ฝอยเหล็กวางพาดระหว่างลวดนิโครม เบอร์ 26 กับลวดนิโครม เบอร์ 30 สังเกตความสว่าง
ของหลอดไฟฟ้า บันทึกผล
4. เขียนแผนภาพการต่อวงจรไฟฟ้า ตามการทดลอง
43
รูป แสดงการเกิดไฟฟ้าลัดวงจรจากฝอยเหล็ก
บันทึกผลการทดลอง
......................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
44
ภาพวงจรไฟฟ้ า
สรุปผลการทดลอง
......................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 7 คะแนน)
1. ฉนวนไฟฟ้า คือ ...........................................................................................................................
2. ฉนวนหุ้มสายไฟที่ใช้ในบ้านเป็นสารจาพวกใด...........................................................................
3. ลวดนิโครมทั้งสองเส้นต่ออย่างไรในวงจรไฟฟ้า……………………………………………….
4. ฝอยเหล็กที่อยู่ในการทดลองเปรียบเสมือนการเกิดเหตุการณ์อะไร…………………………….
…………………………………………………………………………………………………..
5. เหตุใดฝอยเหล็กจึงร้อนมากขึ้น…………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..
6. ฝอยเหล็กเกิดการลุกไหม้ได้หรือไม่…………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………..
7. นักเรียนสามารถใช้อุปกรณ์ใดแทนฝอยเหล็กในการทดลองได้บ้าง…………………………….
…………………………………………………………………………………………………..

More Related Content

What's hot

วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันAomiko Wipaporn
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
Prachoom Rangkasikorn
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 

What's hot (20)

วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 

Similar to Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า

ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
โรงเรียนเทพลีลา
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอมLupin F'n
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
KawinTheSinestron
 
Datastudent
DatastudentDatastudent
Datastudent
Tay Chaloeykrai
 
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
Krittamook Sansumdang
 
Sunny ars report
Sunny ars reportSunny ars report
Sunny ars report
Taweesak Poochai
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
Aey Usanee
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
Taweesak Poochai
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_Rattanathon Phetthom
 

Similar to Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า (20)

ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
เครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้าเครื่องใช่ไฟฟ้า
เครื่องใช่ไฟฟ้า
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
Datastudent
DatastudentDatastudent
Datastudent
 
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
 
Sunny ars report
Sunny ars reportSunny ars report
Sunny ars report
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า

  • 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 3 ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้ า ชื่อ...................................................................... สกุล ............................................................... ชั้น..................................................................... เลขที่ ............................................................ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี ) สมุทรปราการ อาเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ
  • 2. ก คานา ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า ประกอบด้วยการใช้สื่ออุปกรณ์ในการเรียน การสอน กิจกรรมการทดลอง และแบบทดสอบ ผู้สอนได้สร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ให้นักเรียนได้เรียนรู้ และเข้าใจ วงจรไฟฟ้าอย่างถูกต้องรวดเร็วและมองเห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น นอกจากนี้ยังใช้ เปรียบเทียบกับวงจรที่ต่อแบบถูกต้องและไม่ถูกต้องได้ เพื่อเป็นประสบการณ์ในการปฏิบัติจริงใน ชีวิตประจาวัน ทั้งยังเชื่อมโยงความรู้ในเรื่องวงจรไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่อง เช่นเปลี่ยนวงจรไฟฟ้า แบบอนุกรม เป็นวงจรไฟฟ้าแบบขนาน หรือเปลี่ยนเป็นวงจรไฟฟ้าแบบผสม กลับไป - กลับมาได้ อย่างสะดวก ชุด การสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า นี้ได้ติดตั้งอุปกรณ์ให้อยู่กับที่ เมื่อต้องการต่อ วงจรไฟฟ้าแบบใดก็เพียงใช้สายไฟต่อเชื่อมจุดต่างๆ ให้เป็นวงจรการไหลของกระแสไฟฟ้าตาม ต้องการได้ สายไฟที่ใช้ต่อเชื่อมจุดต่างๆ ได้ทาให้มีขนาดสั้นพอดีกับระยะของจุดเชื่อม ทาให้ สามารถมองเห็นเส้นทางการไหลของกระแสไฟฟ้าได้ง่าย สายไฟไม่ทับซ้อน จึงแก้ปัญหาการ สับสนของสายไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า จึงเหมาะสมกับผู้ที่เริ่มต้นเรียนรู้ การต่อวงจรไฟฟ้า หรือนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียน เรื่อง เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า จัดทาขึ้นเพื่อใช้กับบทเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงาน ไฟฟ้าของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ซึ่งมี 11 กิจกรรม ทั้งยัง สามารถดัดแปลงรูปแบบวงจรไฟฟ้าได้มากกว่าที่กาหนดไว้ในแบบเรียน หรือจะใช้เป็น แบบทดสอบทักษะการต่อวงจรไฟฟ้าเป็นรายบุคคล ซึ่งสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา ใช้วัดทักษะ ได้อย่างแม่นยา สันต์ชัย ลิมปพฤกษ์ ครู วิทยฐานะชานาญการ
  • 3. ข สารบัญ คานา ก สารบัญ ข คู่มือการใช้ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า ค การต่อวงจรไฟฟ้าไฟฟ้า 1 พลังงานไฟฟ้า 2 กิจกรรมที่ 1 การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 3 กิจกรรมที่ 2 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม 6 กิจกรรมที่ 3 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน 10 กิจกรรมที่ 4 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน 13 กิจกรรมที่ 5 การต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม 1 8 กิจกรรมที่ 6 การวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม และแบบขนาน 21 กิจกรรมที่ 7 การวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจร 27 กิจกรรมที่ 8 การวัดกระแสไฟฟ้า และความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้า 33 กิจกรรมที่ 9 ขนาดของเส้นลวดกับค่าความต้านทานไฟฟ้า 37 กิจกรรมที่ 10 ความยาวของเส้นลวดกับความต้านทานไฟฟ้า 40 กิจกรรมที่ 11 ประโยชน์ของฉนวนหุ้มสายไฟ 43
  • 4. ค คู่มือการใช้ชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้ า 1.ศึกษาเอกสารชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้า ให้เข้าใจก่อนนาชุดการสอนไปใช้ 2.เตรียมอุปกรณ์ในแต่ละกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย สายไฟ เซลล์ไฟฟ้า หลอดไฟ สวิตซ์ ลวดนิโครม แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ กระบะถ่านไฟฉาย เต้าเสียบ มาตรไฟฟ้า สะพานไฟ 3.นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน จานวน 40 ข้อ 4.นาอุปกรณ์ไปใช้ในการทากิจกรรมโดยเรียงลาดับกิจกรรมให้ครบทั้ง 11 กิจกรรม ตามเวลา ที่กาหนด 5.สังเกตการร่วมกิจกรรม ให้คาแนะนากรณีที่นักเรียนมีปัญหา หรือข้อสงสัย 6.นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน จานวน 40 ข้อ
  • 5. 1 การต่อวงจรไฟฟ้ า วงจรไฟฟ้ า (Electric circuit) หมายถึง เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ เช่น เซลล์ไฟฟ้า สายไฟ หลอดไฟ และสวิตช์ ได้ครบรอบ เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าจนครบวงจร เข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง เช่น ถ่านไฟฉาย กระแสไฟฟ้าจากถ่านไฟฉายจะเคลื่อนที่จากขั้วบวกไปยังขั้วลบ หากกระแสไฟฟ้าไหลได้ไม่ครบวงจร หลอดไฟจะไม่สว่าง เรียกวงจรลักษณะนี้ว่า วงจรเปิด หากต่อวงจรไฟฟ้าแล้วมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ได้จนครบวงจร หลอดไฟก็จะสว่าง เรียกวงจรลักษณะนี้ว่า วงจรปิด วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยส่วนสาคัญ3ส่วนคือ แหล่งพลังงานอุปกรณ์ไฟฟ้า และ สายไฟ สัญลักษณ์ที่ใช้ในชุดการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้ า อุปกรณ์ในชุดการสอน ประกอบด้วย สายไฟ เซลล์ไฟฟ้า หลอดไฟ ลวดนิโครม สวิตซ์ แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ กระบะถ่านไฟฉาย เต้าเสียบ มาตรไฟฟ้า สะพานไฟ ไฟฟ้าขั้วบวก ไฟฟ้าขั้วลบ เซลล์ไฟฟ้า สายไฟฟ้าขั้วบวก (สายสีแดง) สายไฟฟ้าขั้วลบ (สายสีดา) หลอดไฟฟ้าไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน หลอดไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ลวดนิโครม แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ กระบะถ่านไฟฉาย
  • 6. 2 ภาพ โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ (www.ecurriculum.mv.ac.th) เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2550 พลังงานไฟฟ้าเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตของเราทุกคน ในแต่ละวันเราใช้พลังงานไฟฟ้ากับ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ โดยผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องซื้อพลังงานไฟฟ้าจากผู้ผลิต และจะต้องจ่ายค่าพลังงานไฟฟ้า แต่ละเดือนตามจานวนเงินที่เรียกเก็บ ปัจจุบันไฟฟ้าได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์ การพัฒนา ประเทศในทุกด้านจาเป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้า เครื่องใช้ในบ้าน ในสานักงาน ส่วนใหญ่ต้องใช้ พลังงานไฟฟ้าทั้งสิ้น เมื่อมีแหล่งพลังงานไฟฟ้า เราสามารถจะนาพลังงานไฟฟ้ามาเปลี่ยนเป็นพลังงานอื่นๆ เพื่อใช้ ประโยชน์ โดยทาให้พลังงานไฟฟ้าไหลผ่านลวดตัวนาไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องการให้ครบวงจร เครื่องใช้ไฟฟ้าก็จะทางานได้ เริ่มแรกเราจะมาศึกษาการต่อวงจรไฟฟ้าจากกิจกรรมต่อไปนี้
  • 7. 3 กิจกรรมที่ 1 การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย จุดประสงค์ 1. นักเรียนสามารถต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายได้ 2. อธิบายความหมายของวงจรปิด และวงจรเปิดได้ 3. สรุปได้ว่าจานวนถ่านไฟฉายมีผลต่อความสว่างของหลอดไฟ 4. เลือกใช้สายไฟและวิธีการตรวจสอบสายไฟที่ชารุดได้ วิธีทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้า โดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน ต่อสายไฟเข้ากับหลอดไฟ A แล้วกดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่หลอดไฟ A ยกสวิตซ์ขึ้น (วงจรเปิด) 2. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มถ่านไฟฉายอีกครั้งละ 1 ก้อน จนครบ 4 ก้อน สังเกตความสว่างของ หลอดไฟ A บันทึกผล 3. ทาซ้าข้อ 1 แต่เปลี่ยนไปใช้หลอดไฟ B และ C ตามลาดับ 4. บันทึกผลการทดลอง โดยกาหนด (+ ) แทนความสว่าง ยิ่งสว่างมากจานวน (+) จะมาก เช่น ความสว่าง (+++) จะสว่างมากว่า (++) 5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
  • 8. 4 บันทึกผลการทดลอง จานวนถ่านไฟฉาย (ก้อน) ความสว่างของหลอดไฟ (+) หลอดไฟ A หลอดไฟ B หลอดไฟ C 1 2 3 4 ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ภาพวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………….
  • 9. 5 คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน) 1. ถ่านไฟฉาย 4 ก้อนในกระบะมีการต่อเซลล์ไฟฟ้าเป็นวงจรแบบใด…………………………….. 2. เมื่อกดสวิตซ์ วงจรปิด มีความหมายอย่างไร…………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………. 3. จานวนถ่านไฟฉายที่เพิ่มขึ้นมีผลต่อความสว่างของหลอดไฟฟ้าหรือไม่อย่างไร…………..…..... ….………………………………………………………………………………………………. 4. เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างจานวนถ่านไฟฉายกับความสว่างของหลอดไฟ 5. ให้นักเรียนบอกสาเหตุและวิธีการแก้ไขเมื่อต่อวงจรไฟฟ้าแล้วหลอดไฟไม่สว่าง ..................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .. ..................................................................................................................................................... . .................................................................................................................................................... .. ...................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ..
  • 10. 6 วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม คือการต่อหลอดไฟแถวเดียวเรียงกันไป โดยใช้สายไฟต่อเข้าที่ ขาข้างหนึ่งของหลอดไฟ ส่วนขาอีกข้างต่อไปยังขาหลอดไฟอีกหลอดหนึ่งเรียงลาดับกันไปตามรูป โดยที่มีปริมาณของกระแสไฟฟ้าไหลผ่านทุกส่วนของวงจรเท่ากัน กิจกรรมที่ 2 การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม จุดประสงค์ 1. นักเรียนสามารถต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมได้ และอธิบายเส้นทางการไหลของกระแสไฟฟ้าได้ 2. เขียนแผนภาพการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมได้ 3. อธิบายว่าวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมเมื่อหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับหรือไส้หลอดขาด จะมีผลทา ให้หลอดไฟดวงอื่นๆ ไม่สว่างด้วย 4. บอกได้ว่าการเพิ่มจานวนถ่านไฟฉายมีผลให้หลอดไฟสว่างมากขึ้น วิธีทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน ต่อกับหลอดไฟ 3 ดวง โดยต่อเรียงลาดับกัน กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟทั้ง 3 ดวง 2. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มถ่านไฟฉายอีกครั้งละ 1 ก้อน จนครบทั้ง 4 ก้อน สังเกตความสว่างของ หลอดไฟทั้ง 3 ดวง 3. ทดลองถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ A แล้วสังเกตหลอดไฟ B และ C บันทึกผล 4. ทาซ้าข้อ 4 แต่เปลี่ยนไปถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ B และ C ตามลาดับ สังเกตการ เปลี่ยนแปลง บันทึกผล 5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
  • 11. 7 รูป การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ใช้หลอดไฟ 3 ดวง บันทึกผลการทดลอง ถ่านไฟฉาย (ก้อน) ความสว่าง (+) ถอดสายไฟ ที่ขั้วหลอด ผลการสังเกต A B C A B C 1 A ดับ 2 B ดับ 3 C ดับ 4
  • 12. 8 ภาพวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย สรุปผลการทดลอง …………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………
  • 13. 9 คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน) 1. เมื่อกดสวิตซ์ (วงจรปิด) หลอดไฟแต่ละดวงมีความสว่างเท่ากันหรือไม่ อย่างไร .................................................................................................................................................................... 2. ให้นักเรียนเขียนภาพวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมของการต่อหลอดไฟ 3 ดวง 3. การที่นักเรียนถอดสายไฟที่ขั้วหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งออก จะมีผลกระทบต่อหลอดไฟดวง อื่นหรือไม่ เพราะอะไร............................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 4. ถอดขั้วสายไฟหลอด A กับการถอดขั้วสายไฟหลอด C เกิดการเปลี่ยนแปลงเหมือนกันหรือไม่ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 5. การเพิ่มจานวนถ่านไฟฉาย มีผลต่อความสว่างของหลอดไฟหรือไม่ อย่างไร .................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................
  • 14. 10 วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน คือเป็นการนาปลายข้างเดียวกัน ( ขั้วเดียวกัน) ของแต่ละอุปกรณ์ มา รวมกันก่อน แล้วจึงต่อเข้ากับเซลล์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละอย่าง โดย กระแสไฟฟ้ารวมในวงจรเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่แยกผ่านอุปกรณ์แต่ละอย่างรวมกัน กิจกรรมที่ 3 การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน จุดประสงค์ 1. นักเรียนสามารถต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้ 2. อธิบายเส้นทางการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าได้ 3. เขียนแผนภาพการต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้ 4. สรุปได้ว่าวงจรไฟฟ้าแบบขนาน เมื่อหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับหรือไส้หลอดขาด จะไม่ทาให้หลอดไฟดวงอื่นๆ ดับ และมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรได้ตามปกติ 5. สรุปได้ว่าการเพิ่มจานวนถ่านไฟฉาย มีผลทาให้หลอดไฟสว่างมากขึ้น วิธีทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน และหลอดไฟ 3 ดวง โดยต่อแบบคร่อมจุด 2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟทั้ง 3 ดวง 3. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มจานวนถ่านไฟฉายครั้งละ 1 ก้อน จนครบทั้ง 4 ก้อน สังเกตความสว่าง ของหลอดไฟ บันทึกผลการทดลอง 4. ถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ A ออก สังเกตหลอดไฟดวงอื่น ๆ 5. ทาซ้าข้อ 4 แต่เปลี่ยนไปถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ B และ C ตามลาดับ สังเกต การเปลี่ยนแปลงหลอดไฟดวงที่ไม่ได้ถอดขั้ว บันทึกผลการทดลอง 6. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
  • 15. 11 1 1 1 1 1 1 รูป วงจรไฟฟ้าแบบขนาน ใช้หลอดไฟ 3 ดวง บันทึกผลการทดลอง จานวนถ่านไฟฉาย (ก้อน) ความสว่างของหลอดไฟ (+) หลอดไฟ A หลอดไฟ B หลอดไฟ C 1 2 3 4 ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………... ………………...
  • 16. 12 2 2 2 2 2 2/ ภาพวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย สรุปผลการทดลอง …………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 7 คะแนน) 1. ในการทดลองนี้นักเรียนใช้สายไฟทั้งหมดกี่เส้น ............................................................................................................................................................. 2. เมื่อกดสวิตซ์ (วงจรปิด) หลอดไฟทั้ง 3 ดวง มีความสว่างเท่ากันหรือไม่ ............................................................................................................................................................. 3. ถอดขั้วสายไฟหลอดไฟ A จะมีผลต่อหลอดไฟ B และ C หรือไม่เพราะเหตุใด ............................................................................................................................................................. 4. ถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ C จะมีผลต่อความสว่างของหลอดไฟ A และ B หรือไม่ ............................................................................................................................................................. 5. การเพิ่มจานวนถ่านไฟฉายมีผลต่อความสว่างของหลอดไฟในวงจรหรือไม่ ............................................................................................................................................................. 6. การต่อหลอดไฟแบบขนาน แตกต่างจากการต่อหลอดไฟแบบอนุกรมอย่างไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 7. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม กับแบบขนาน วงจรแบบใดมีผลทาให้หลอดไฟสว่างมากกว่ากัน เมื่อกาหนดให้จานวนหลอดไฟและขนาดเท่ากัน ใช้เซลล์ไฟฟ้าเท่ากัน..............................................
  • 17. 13 ในการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน เมื่อนักเรียนทาการทดลอง กิจกรรมเรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้า พบว่านักเรียนมีความเข้าใจสับสนเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม และ การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน โดยเมื่อใช้หลอดไฟฟ้า 2 หลอด ต่อเข้ากับถ่านไฟฉายจานวน 4 ก้อน ความสว่างของหลอดไฟฟ้าของการต่อทั้ง 2 แบบ ใกล้เคียงกัน ซึ่งในความเป็นจริงถ้าใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ใช้อยู่ตามบ้าน การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนานเมื่อใช้หลอดไฟฟ้า 2 หลอด จะสว่างกว่าการต่อหลอด ไฟฟ้าแบบอนุกรม เพราะการใช้ไฟฟ้าจากบ้านกระแสไฟฟ้ามีแรงเคลื่อนไฟฟ้ามากกว่าถ่านไฟฉาย จึง ไม่ทาให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าตก ผู้สอนจึงได้จัดทาสื่อการต่อวงจรไฟฟ้า โดยใช้อุปกรณ์ที่ใช้อยู่ตามบ้าน เพื่อให้นักเรียนทดลอง และเกิดการเรียนรู้เพิ่มขึ้น กิจกรรมที่ 4 การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนาน จุดประสงค์ 1. ทดลองและสรุปผลเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานได้ 2. เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟที่ต่อแบบอนุกรมและแบบขนานได้ 3. บอกผลดีของการต่อหลอดไฟแบบขนานได้ วิธีทดลอง 1. นาสื่อการต่อวงจรไฟฟ้ามาติดตั้งหลอดไฟ A , B และ C ที่แผงวงจรไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรมและ แบบขนาน ตามลาดับ 2. นาเต้าเสียบของแผงวงจรไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรมและแบบขนาน ต่อเข้ากับเต้ารับของห้องเรียน 3. ที่แผงวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม เปิดสวิตซ์ S1 , S2 และ S3 ตามลาดับ สังเกตความสว่างของ หลอดไฟทั้ง 3 ดวง บันทึกผลการทดลอง 4. ที่แผงวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ยกคันโยกสะพานไฟขึ้น เปิดสวิตซ์ S1 , S2 และ S3 ตามลาดับ สังเกตความสว่างของหลอดไฟทั้ง 3 ดวง บันทึกผลการทดลอง
  • 18. 14 รูป การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ใช้หลอดไฟ 3 ดวง ต่อกับความต่างศักย์ 220 โวลต์
  • 19. 15 รูป การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ใช้หลอดไฟ 3 ดวง ต่อกับความต่างศักย์ 220 โวลต์
  • 20. 16 บันทึกผลการทดลอง การต่อหลอดไฟ ความสว่างของหลอดไฟ หลอดไฟ A หลอดไฟ B หลอดไฟ C แบบอนุกรม ………………… ………………… ………………… แบบขนาน ………………… ………………… ………………… สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………. ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน) ให้ทาลงในกระดาษคาตอบ หน้า 17 1. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมมีลักษณะอย่างไร ก. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อเรียงกันเป็นสายเดียว ข. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด ค. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อเรียงกันสลับกับการต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด ง. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด สลับกับการต่อเรียงกัน 2. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนานมีลักษณะอย่างไร ก. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อเรียงกันเป็นสายเดียว ข. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด ค. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อเรียงกันสลับกับการต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด ง. เป็นการนาหลอดไฟแต่ละดวงมาต่อคร่อมกันระหว่างจุด 2 จุด สลับกับการต่อเรียงกัน 3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการต่อวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน ก. ความต้านทานรวมจะน้อยลง ข. ความต้านทานรวมจะมากขึ้น ค. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟน้อย ง. ถ้าหลอดไฟหลอดหนึ่งขาดจะทาให้หลอดอื่นดับ
  • 21. 17 4. ข้อใดเป็นการต่อหลอดไฟแบบขนาน 5. การต่อหลอดไฟในบ้านควรต่อแบบใด ก. แบบผสม ข. แบบขนาน ค. แบบเรียงกัน ง. แบบอนุกรม -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- กระดาษคาตอบ ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5
  • 22. 18 วงจรไฟฟ้ าแบบผสม เป็นวงจรที่นาเอาวิธีการต่อแบบอนุกรม และวิธีการต่อแบบขนานมารวม ให้เป็นวงจรเดียวกัน ซึ่งสามารถแบ่งตามลักษณะของการต่อได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 1 .วงจรผสมแบบอนุกรม-ขนาน เป็นการนาเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกันอย่างอนุกรม ก่อน แล้วจึงนาไปต่อกันแบบขนานอีกครั้งหนึ่ง 2. วงจรผสมแบบขนาน-อนุกรม เป็นการนาเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกันอย่างขนานก่อน แล้วจึงนาไปต่อกันแบบอนุกรมอีกครั้งหนึ่ง กิจกรรมที่ 5 การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบผสม จุดประสงค์ 1. นักเรียนสามารถต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม และแบบขนานให้อยู่ในวงจรไฟฟ้าเดียวกันได้ 2. บอกได้ว่าหลอดไฟที่ต่อแบบอนุกรม จะมีความสว่างมากกว่าหลอดไฟฟ้าที่ต่อแบบขนาน ที่อยู่ในวงจรไฟฟ้าเดียวกัน 3. นักเรียนสามารถต่อวงจรไฟฟ้าได้หลายรูปแบบ วิธีทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน และหลอดไฟ 3 ดวง โดยต่อวงจรแบบอนุกรมที่ หลอดไฟ A และต่อคร่อมจุด (แบบขนาน) ที่หลอดไฟ B และ C 2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตหลอดไฟทั้งสามดวง 3. ถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ A สังเกตหลอดไฟ B และ C 4. ทาซ้าข้อ 3 แต่เปลี่ยนเป็นถอดขั้วสายไฟที่หลอดไฟ B และ C ตามลาดับ สังเกตหลอดไฟ ดวงที่ไม่ได้ถอดขั้ว บันทึกผลการทดลอง 5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแบบผสม
  • 24. 20 ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า สรุปผลการทดลอง ...................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 6 คะแนน) 1. หลอดไฟดวงใดต่อวงจรแบบอนุกรมและหลอดไฟใดที่ต่อวงจรแบบขนาน ............................................................................................................................................................. 2. หลอดไฟดวงใดสว่างมากที่สุด ............................................................................................................................................................ 3. การดับของหลอดไฟดวงใด มีผลทาให้หลอดไฟดวงอื่นๆ ดับไปด้วย ............................................................................................................................................................ 4. ถ้านักเรียนจะเลือกถอดหลอดไฟออกไป 1 ดวง จะเลือกดวงใด ที่ไม่เกิดผลกระทบต่อวงจรไฟฟ้า ............................................................................................................................................................ 5. การเพิ่มจานวนถ่านไฟฉาย มีผลต่อความสว่างของหลอดไฟดวงใดมากที่สุด ............................................................................................................................................................ 6. ถ้าทาการถอดขั้วสายไฟที่หลอด C จะมีผลกระทบต่อหลอดไฟ A และหลอดไฟ B อย่างไร ........................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................
  • 25. 21 แอมมิเตอร์ (Ammeter) แอมมิเตอร์ คือเครื่องมือสาเร็จรูปที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจร ความต้านทานภายในของ เครื่องแอมมิเตอร์มีค่าน้อยมาก วิธีใช้ต้องต่อแบบอนุกรมกับวงจร มีหน่วยวัด คือ แอมแปร์ คุณสมบัติของแอมมิเตอร์ที่ดี 1. มีความแม่นยาสูง เพื่อว่าเมื่อนาแอมมิเตอร์ไปต่ออนุกรมในวงจรแล้ว จะไม่ทาให้ความ ต้านทานรวมของวงจรเปลี่ยนแปลง ทาให้กระแสไฟฟ้าที่วัดได้มีความแม่นยาสูง หรือมีความผิดพลาด จากการวัดน้อย 2. มีความไว ( Sensitivity ) สูง แอมมิเตอร์ที่ดีจะสามารถตรวจวัดค่ากระแสไฟฟ้าน้อยๆ ได้ กล่าวคือ แม้วงจรจะมีกระแสไฟฟ้าไหลเพียงเล็กน้อย แอมมิเตอร์ก็สามารถตรวจวัดค่าได้ กิจกรรมที่ 6 การวัดค่ากระแสไฟฟ้ าในวงจรแบบอนุกรม และแบบขนาน จุดประสงค์ 1. นักเรียนสามารถใช้แอมมิเตอร์วัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรได้ 2. นักเรียนบอกวิธีการใช้ ข้อจากัด และการอ่านค่าแอมมิเตอร์ได้อย่างถูกต้อง 3. นาแอมมิเตอร์เข้าไปวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรม และแบบขนาน ได้อย่างถูกต้อง ตอนที่ 1 การวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม วิธีทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรมโดยใช้หลอดไฟ 3 ดวง และต่อแอมมิเตอร์ เข้าในวงจร แบบอนุกรม โดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน 2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และอ่านค่าจากแอมมิเตอร์ 3. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มถ่านไฟฉายทีละก้อน จนครบ 4 ก้อน สังเกตความสว่างของ หลอดไฟทั้งสามดวง บันทึกค่ากระแสไฟฟ้าจากการอ่านแอมมิเตอร์ได้ 4. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ต่อกับแอมมิเตอร์ 5. ทาซ้าข้อ 1 ถึงข้อ 4 แต่เปลี่ยนเป็นวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
  • 26. 22 รูป ก. วัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม บันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 วัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม จานวนถ่านไฟฉาย (ก้อน) ความสว่าง (+) ค่ากระแสไฟฟ้า (mA)A B C 1 2 3 4
  • 28. 24 บันทึกผลการทดลอง จานวนถ่านไฟฉาย (ก้อน) ความสว่าง (+) ค่ากระแสไฟฟ้า (mA)A B C 1 2 3 4 ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า ภาพการวัดค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน สรุปผลการทดลอง ................................................................................................ ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..
  • 29. 25 คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 9 คะแนน) 1. ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมหลอดไฟทั้ง 3 ดวงมีความสว่างเท่ากันหรือไม่ .............................................................................................................................................................. 2. ในวงจรไฟฟ้าแบบขนานหลอดไฟทั้ง 3 ดวงมีความสว่างเท่ากันหรือไม่ .............................................................................................................................................................. 3. การวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่ตาแหน่งหน้าหลอดไฟ A จะแตกต่างจากการวัดที่ตาแหน่งหลัง หลอดไฟ C หรือไม่ และค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์เปลี่ยนแปลงอย่างไร ............................................................................................................................................................... 4. การสลับขั้วสายไฟที่แอมมิเตอร์จะมีผลต่อการอ่านค่าแอมมิเตอร์หรือไม่ อย่างไร .............................................................................................................................................................. 5. อ่านค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดได้จากแอมมิเตอร์ในวงจรแบบอนุกรมได้เท่าใด .............................................................................................................................................................. 6. ภาพหน้าปัดแอมมิเตอร์ ที่ใช้ในการทดลอง 6.1 แอมมิเตอร์นี้ใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้าได้สูงสุด – ต่าสุดเท่าใด...................................................... 6.2 ถ้าต่อวงจรไฟฟ้าขั้วลบที่จุด P และขั้วบวกที่จุด A เข็มของเครื่องวัด ชี้เต็มหน้าปัดพอดี จะอ่านค่ากระแสไฟฟ้าได้เท่าใด…………………………………………….....……………. 6.3 จากข้อ 6.2 ถ้าต่อขั้วบวกที่จุด B แทน เข็มของเครื่องวัดชี้ไปที่จุดกึ่งกลางของหน้าปัด พอดี จะอ่านค่ากระแสไฟฟ้าได้เท่าใด.................................................................................... 6.4 ถ้าวงจรไฟฟ้าชนิดหนึ่งมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรประมาณ 0.3 แอมแปร์ นักเรียนจะต่อ สายไฟฟ้าขั้วลบ และขั้วบวก เข้าที่จุดใดในแอมมิเตอร์............................................................
  • 30. 26 โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) โวลต์มิเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดแรงดันไฟฟ้า หรือค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า เมื่อจะใช้ ต้องนาไป ต่อคร่อมจุดที่ต้องการวัด (ต่อแบบขนาน) คุณสมบัติของโวลต์มิเตอร์ที่ดี 1. มีความแม่นยาสูง ซึ่งเกิดจากการนาตัวความต้านทานที่มีค่าสูงมากๆ มาต่อแบบอนุกรม เพื่อป้ องกันไม่ให้มีกระแสแยกไหลผ่านโวลต์มิเตอร์ ทาให้กระแสไหลผ่านจุดที่ต้องการวัดทั้งหมด ค่า แรงดันที่วัดได้ จึงมีความผิดพลาดน้อย 2. มีความไวสูง แม้ค่าแรงดันมีค่าต่ามากก็สามารถตรวจวัดได้ กิจกรรมที่ 7 การวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าในวงจร จุดประสงค์ 1. นักเรียนสามารถใช้โวลต์มิเตอร์วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้ 2. นักเรียนบอกวิธีการใช้ ข้อจากัด และการอ่านค่าโวลต์มิเตอร์ได้ 3. สามารถใช้โวลต์มิเตอร์วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม และวงจรไฟฟ้าแบบขนานได้อย่างถูกต้อง วิธีทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมโดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หลอดไฟ 3 ดวง แล้วนา โวลต์มิเตอร์ต่อคร่อมจุด (แบบขนาน) ระหว่างขั้วหลอดไฟ A กับขั้วหลอดไฟ C 2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟทั้งสาม อ่านค่าความต่างศักย์ 3. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มถ่านไฟฉายทีละก้อนจนครบทั้ง 4 ก้อน สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และบันทึกค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจากโวลต์มิเตอร์ที่อ่านได้ 4. ทดลองสลับขั้วโวลต์มิเตอร์ สังเกตเข็มของโวลต์มิเตอร์ 5. ทาซ้าข้อ 1 ถึงข้อ 3 โดยเปลี่ยนเป็นวงจรไฟฟ้าแบบขนาน 6. เขียนแผนภาพการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม และแบบขนาน
  • 31. 27 ก. วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม รูป ก. การวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม
  • 32. 28 บันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า ภาพการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม จานวนถ่านไฟฉาย (ก้อน) ความสว่างของหลอดไฟ (+) ค่าความต่างศักย์ (โวลต์)A B C 1 2 3 4
  • 33. 29 ข. วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน รูป ข. วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน
  • 34. 30 ตอนที่ 2 วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน จานวนถ่านไฟฉาย (ก้อน) ความสว่างของหลอดไฟ (+) ค่าความต่างศักย์ (โวลต์)A B C 1 2 3 4 ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า ภาพการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน สรุปผลการทดลอง ................................................................................................................................................. ... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................
  • 35. 31 คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 6 คะแนน) 1. ขั้วบวกและขั้วลบของโวลต์มิเตอร์ต่อที่ตาแหน่งใดของวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม .............................................................................................................................................................. 2. ถ้าหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมมีผลต่อค่าโวลต์มิเตอร์อย่างไร .............................................................................................................................................................. 3. ถ้าหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับในวงจรไฟฟ้าแบบขนานมีผลต่อค่าโวลต์มิเตอร์อย่างไร .............................................................................................................................................................. 4. การสลับขั้วสายไฟที่โวลต์มิเตอร์ จะมีผลต่อโวลต์มิเตอร์อย่างไร .............................................................................................................................................................. 5. การอ่านค่าความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม กับวงจรไฟฟ้าแบบขนานเมื่อจานวนถ่านไฟฉาย และจานวนหลอดไฟเท่ากันแบบใดอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้มากกว่ากันเพราะอะไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 6. หลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับ ค่าความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าแบบขนานจะมีค่ามากขึ้น หรือลดลงอย่างไร ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 36. 32 กระแสไฟฟ้ า หมายถึงการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนอิสระจากอะตอมหนึ่งไปยังอะตอมหนึ่ง จะ ไหลมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความต้านทานของวงจร ใช้แทนด้วยตัว I มีหน่วยวัดเป็น แอมแปร์ (A) เครื่องมือที่ใช้สาหรับวัดกระแสไฟฟ้าเรียกว่า แอมมิเตอร์ ความต่างศักย์ไฟฟ้ า เกิดจากความแตกต่างของระดับพลังงานของจุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้า โดย กระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง ไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ากว่าเสมอ และจะหยุดไหลเมื่อ ศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน ใช้แทนด้วยตัว V มีหน่วยเป็นโวลต์ (V) เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์เรียกว่า โวลต์มิเตอร์ กิจกรรมที่ 8 การวัดกระแสไฟฟ้ า และความต่างศักย์ไฟฟ้ าในวงจรไฟฟ้ า จุดประสงค์ 1. นักเรียนสามารถนาแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ ต่อเข้าในวงจรเพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้า และค่า ความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าได้ถูกต้อง 2. อธิบายและเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้าได้ 3. นักเรียนอธิบายได้ว่า การเพิ่มจานวนถ่านไฟฉายหรือการเพิ่มหลอดไฟในวงจร มีผลให้ กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรเปลี่ยนแปลง วิธีทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม โดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน หลอดไฟ 3 ดวง แอมมิเตอร์ (ต่อแบบอนุกรม) และโวลต์มิเตอร์ (ต่อแบบขนาน) เข้าในวงจร 2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และอ่านค่ากระแสไฟฟ้า จากแอมมิเตอร์ และค่าความต่างศักย์จากโวลต์มิเตอร์ 3. ทาซ้าข้อ 1 โดยเพิ่มถ่านไฟฉายทีละก้อนจนครบ 4 ก้อน สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และ บันทึกค่ากระแสไฟฟ้า และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า 4. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า กับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า 5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ที่มีแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ในวงจรไฟฟ้า 6. ทาซ้าข้อ 1 ถึงข้อ 5 แต่เปลี่ยนเป็นวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
  • 37. 33 ก. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า และความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม รูป ก. การวัดค่ากระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม บันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 วัดค่ากระแสไฟฟ้าและค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบอนุกรม จานวนถ่านไฟฉาย (ก้อน) ความสว่างของหลอดไฟ (+) กระแสไฟฟ้า (มิลลิแอมแปร์) ความต่างศักย์ (โวลต์)A B C 1 2 3 4
  • 39. 35 บันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 1 วัดค่ากระแสไฟฟ้าและค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน จานวนถ่านไฟฉาย (ก้อน) ความสว่างของหลอดไฟ (+) กระแสไฟฟ้า (มิลลิแอมแปร์) ความต่างศักย์ (โวลต์)A B C 1 2 3 4 ภาพการต่อวงจรไฟฟ้ า ภาพการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรแบบขนาน สรุปผลการทดลอง ................................................................................................................................................. ... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน) 1. แอมมิเตอร์ และโวลต์มิเตอร์ที่ใช้ในการทดลอง มีวิธีการใช้แตกต่างกันอย่างไร ........................................................................................................................................................... 2. ถ้านาโวลต์มิเตอร์ มาต่อในวงจรแบบอนุกรม จะมีผลอย่างไร.......................................................... ........................................................................................................................................................... 3. การสลับขั้วไฟฟ้าที่แอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์จะเกิดผลอย่างไร........................................................................ 4. วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม กับวงจรไฟฟ้าแบบขนาน ที่ใช้เซลล์ไฟฟ้า 4 เซลล์วงจรแบบใดมี กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มากกว่า และมากกว่ากี่มิลลิแอมแปร์............................................................................. 5. หลอดไฟฟ้าที่ต่อกันแบบขนานเมื่อหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งดับ จะมีผลทาให้หลอดไฟ ดวงอื่นๆ มีความสว่างเพิ่มขึ้นหรือไม่...............................................................................................
  • 40. 36 กฎของโอห์ม (Ohm’s Law) โอห์ม (George Simon Ohm) ได้ทดลองเกี่ยวกับไฟฟ้าและสรุปเป็นกฎขึ้นมาว่า “เมื่ออุณหภูมิ คงตัวกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวนาจะมีค่าแปรผันโดยตรงกับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างปลายขั้วทั้ง สองของตัวนานั้น” ความต้านทานไฟฟ้า ( Resistance) หมายถึง สมบัติของสารแต่ละชนิดที่จะยอมให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้ 1. ความยาวของลวดตัวนา 2. พื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนา 3. ชนิดของโลหะ 4. อุณหภูมิ อุณหภูมิในระดับ -230 °C โลหะจะมีค่าความต้านทานเป็นศูนย์(ตัวนายิ่งยวด) กิจกรรมที่ 9 ขนาดของเส้นลวดกับค่าความต้านทานไฟฟ้ า จุดประสงค์ 1. อธิบายได้ว่าเบอร์ของเส้นลวดโลหะ บอกถึงขนาดพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดได้ 2. เปรียบเทียบขนาดพื้นที่หน้าตัดของลวดโลหะ ต่อการไหลของกระแสไฟฟ้าและ ความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า วิธีทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน หลอดไฟ B ลวดนิโครม เบอร์ 26 ยาว 30 cm และ แอมมิเตอร์โดยต่อเป็นวงจรแบบอนุกรม แล้วใช้โวลต์มิเตอร์ต่อคร่อมจุด (แบบขนาน) ที่ลวดนิโครม เบอร์ 26 2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟ B บันทึกค่ากระแสไฟฟ้า และค่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า 3. ทาซ้าข้อ 1 แต่เปลี่ยนไปใช้ลวดนิโครม เบอร์ 30 ยาว 30 cm. สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และบันทึกค่ากระแสไฟฟ้า และความต่างศักย์ไฟฟ้า 4. สรุปเปรียบเทียบขนาดของเส้นลวดกับค่าความต้านทานไฟฟ้า 5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าตามการทดลอง
  • 42. 38 สรุปผลการทดลอง ..................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน) 1. จงบอกความหมายของลวดความต้านทานไฟฟ้า................................................................................. ............................................................................................................................................................ 2. ขนาดเบอร์ของลวดนิโครมบอกความหมายอะไร............................................................................... ............................................................................................................................................................ 3. พื้นที่หน้าตัดของลวดนิโครมมีความสัมพันธ์กับความต้านทานไฟฟ้าอย่างไร.................................. .......................................................................................................................................................... 4. สิ่งที่สังเกตได้จากการต่อลวดนิโครมเข้าในวงจรไฟฟ้า มีอะไรบ้าง.................................................. ........................................................................................................................................................... 5. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความต้านทานกับค่าความสว่างของหลอดไฟ
  • 43. 39 ความต้านทานไฟฟ้ า หมายถึง ตัวที่ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าให้ไหลในจานวนจากัด ซึ่ง อยู่ ในรูปของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด เช่น แผ่นลวดความร้อนของเตารีด หม้อหุงข้าว หลอดไฟฟ้า เป็นต้น เครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า ให้ไหลในจานวนจากัด ใช้แทนด้วยตัว R มี กิจกรรมที่ 10 ความยาวของเส้นลวดกับความต้านทานไฟฟ้ า จุดประสงค์ 1. อธิบายได้ว่าความยาวของเส้นลวดโลหะ มีผลต่อการไหลของกระแสไฟฟ้าและ ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า 2. สรุปความสัมพันธ์ของพื้นที่หน้าตัด ความยาว ชนิดของเส้นลวดโลหะมีผลต่อการไหลของ กระแสไฟฟ้า และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า วิธีทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน หลอดไฟ B ลวดนิโครมเบอร์ 30 ยาว 30 cm และแอมมิเตอร์โดยต่อเป็นวงจรแบบอนุกรม แล้วใช้โวลต์มิเตอร์ต่อคร่อมจุด (แบบขนาน) ที่ปลายลวดนิโครม เบอร์ 30 2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟ บันทึกค่ากระแสไฟฟ้าจากแอมมิเตอร์ และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าจากโวลต์มิเตอร์ 3. ทาซ้าข้อ 1 แต่เปลี่ยนไปใช้ลวดนิโครม เบอร์ 30 ยาว 15 cm สังเกตความสว่างของหลอดไฟ และบันทึกค่ากระแสไฟฟ้า และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า 4. เปรียบเทียบความยาวของเส้นลวด กับค่าความต้านทานไฟฟ้า 5. เขียนรูปแผนภาพวงจรไฟฟ้า ตามการทดลอง
  • 45. 41 คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 5 คะแนน) 1. ความยาวของลวดนิโครมมีผลต่อกระแสไฟฟ้าอย่างไร……………………………………………… 2 ความยาวของลวดนิโครมมีความสัมพันธ์อย่างไรกับความต้านทานไฟฟ้า ............................................................................................................................................................ 3. จากการทดลอง จงบอกค่าตัวแปรต่อไปนี้ 5.1 ตัวแปรต้น คือ...................................................................................................................... 5.2 ตัวแปรตาม คือ .................................................................................................................... 5.3 ตัวแปรควบคุม คือ...............................................................................................................
  • 46. 42 ฉนวนไฟฟ้ า คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปโดยสะดวก หรือไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้า เคลื่อนที่ผ่านไป วัตถุชนิดที่จะเป็นฉนวนไฟฟ้าได้ดี เช่น กระเบื้องเคลือบ ยาง แก้ว ไม้ พลาสติก เป็นต้น กิจกรรมที่ 11 ประโยชน์ของฉนวนหุ้มสายไฟ จุดประสงค์ 1. นักเรียนสามารถบอกประโยชน์ของฉนวนที่ใช้หุ้มสายไฟได้ 2. อธิบายการเกิดไฟฟ้าลัดวงจร และเส้นทางการไหลของกระแสไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง 3. นักเรียนบอกถึงอันตรายและผลที่เกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร วิธีทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน ต่อกับลวดนิโครมเบอร์ 26 ยาว 30 cm ไปยัง หลอดไฟ A แล้วต่อกับลวดนิโครม เบอร์ 30 ยาว 30 cm ตามลาดับเป็นวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม 2. กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของหลอดไฟ 3. ใช้ฝอยเหล็กวางพาดระหว่างลวดนิโครม เบอร์ 26 กับลวดนิโครม เบอร์ 30 สังเกตความสว่าง ของหลอดไฟฟ้า บันทึกผล 4. เขียนแผนภาพการต่อวงจรไฟฟ้า ตามการทดลอง
  • 47. 43 รูป แสดงการเกิดไฟฟ้าลัดวงจรจากฝอยเหล็ก บันทึกผลการทดลอง ...................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................
  • 48. 44 ภาพวงจรไฟฟ้ า สรุปผลการทดลอง ...................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... คาถาม (ข้อละ 1 คะแนน รวม 7 คะแนน) 1. ฉนวนไฟฟ้า คือ ........................................................................................................................... 2. ฉนวนหุ้มสายไฟที่ใช้ในบ้านเป็นสารจาพวกใด........................................................................... 3. ลวดนิโครมทั้งสองเส้นต่ออย่างไรในวงจรไฟฟ้า………………………………………………. 4. ฝอยเหล็กที่อยู่ในการทดลองเปรียบเสมือนการเกิดเหตุการณ์อะไร……………………………. ………………………………………………………………………………………………….. 5. เหตุใดฝอยเหล็กจึงร้อนมากขึ้น………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………….. 6. ฝอยเหล็กเกิดการลุกไหม้ได้หรือไม่……………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………….. 7. นักเรียนสามารถใช้อุปกรณ์ใดแทนฝอยเหล็กในการทดลองได้บ้าง……………………………. …………………………………………………………………………………………………..