SlideShare a Scribd company logo
หลุมดาและอวกาศ
หลุมดาคืออะไร ?
Stratrek มีการกล่าวถึงคาว่า หลุมดา อยูบอย ๆ แต่
่ ่
concept อย่างเป็ นทางการ (หมายถึงทางวิทยาศาสตร์ ที่ได้ รับการ
ยอมรับ) นิยามหลุมดาว่า “ เป็ นอาณาบริเวณในกาลอวกาศ
(spacetime) ที่มี สนามโน้ มถ่ วงสูงมาก ๆ แม้ กระทั่งแสง
(อนุภาคโฟตอนซึ่งเป็ นสิ่งที่เดินทาง ได้ เร็วที่สุดในเอกภพ เท่ าที่
เรารู้จกกัน) ก็ไม่ สามารถเล็ดลอดออกมาได้ ทาให้ อาณาบริเวณ
ั
นันดูเหมือนเป็ นสีดา ”
้
ประเภทของหลุมดา
• แบ่งเป็ น 3 ประเภท
• หลุมดามวลยิ่งยวด (Supermassive black holes)
เชื่อกันว่าหลุมดามวลยิ่งยวดอยูใจกลางของควอซ่าร์ (Quasars) ซึง
่
่
เป็ นใจกลางของgalaxy ที่มีการระเบิดเกิดขึ ้น และมันดูดดาวจานวน
นับพันล้ านดวง รวมถึงก๊ าซและฝุ่ น ในอวกาศ หรื อแม้ กระทังดาว
่
เคราะห์เข้ าไป ด้ วยเหตุนี ้จึงเรี ยกว่าหลุมดามวลยิ่งยวด ในปี 1994
กล้ องโทรทรรศน์อวกาศ Hubble ได้ ถ่ายภาพที่ถือว่าเป็ นหลักฐาน
แห่งการค้ นพบหลุมดามวลยิ่งยวด ณ ใจกลางของ galaxy M87
หลุมดาจิ๋ว (Mini black holes)
• เชื่อกันว่าหลุมดาพวกนี ้ (ขนาดราว 10-15 เมตร) เกิดขึ ้นระหว่างการ
ระเบิดครังยิ่งใหญ่ (The Big Bang) Stephen Hawking
้
เป็ นผู้นาในการเสนอทฤษฎีเกียวกับหลุมดาจิ๋ว ราวต้ นทศวรรษ 70 อีก
ชื่อหนึงของหลุมดาจิ๋วคือ หลุมดาแรกเริ่ม (Primordial black
่
holes) ในทฤษฎีนี ้ โปรตอนและปฏิโปรตอนอาจเกิดขึ ้นได้ รอบ ๆ
หลุมดาจิ๋ว
หลุมดาที่เกิดจากดาวที่ตายแล้ ว
(Stellar black holes)
• หลุมดาประเภทนี ้เกิดจากดาวยักษ์ แดง (Red giant stars) ที่มี
มวลมากกว่า 3 เท่าของ มวลของดวงอาทิตย์ตามวิวฒนาการของ
ั
ดวงดาว (Stellar evolution) ส่วนดาวที่มีมวล น้ อยกว่านี ้ก็จะ
วิวฒนาการไปสู่ ดาวแคระขาว (white dwarfs) หรื อ ดาว
ั
นิวตรอน (neutron stars)
• ตามหลัก ของการสร้ างและการทาลายล้ างอนุภาค (Pair
production and annihilation) โดยที่ถ้าตัวตัวหนึงตกลง
่
ไปในหลุมดาอีกตัวก็จะออกมา จากปรากฎการณ์นี ้ทาให้ เรารู้วา หลุม
่
ดาระเหยสาบสูญไป (Evaporate) และหลุมดาก็แผ่รังสีออกมา
Stephen Hawking ได้ สร้ างทฤษฎีเกี่ยวกับการแผ่รังสีของหลุม
ดาที่ร้ ูจกกันในนาม Hawking Radiation
ั
• การที่หลุมดาแผ่รังสีทาให้ มนมี อายุขยที่จากัด (หรื อกล่าวว่าหลุมดาก็
ั
ั
ตายได้ ) นอกจากนี ้ Hawking ได้ พบด้ วยว่าการแผ่รังสีของหลุมดา
นันเป็ นแบบ สเปกตรัมเชิงความร้ อน (Thermal spectrum)
้
แปลว่าหลุมดาจิ๋วที่มีมวล 1015 กรัม ซึงมีอายุขยน้ อยกว่าเอกภพได้
่
ั
ระเหยสาบสูญไปแล้ ว
การวางแผนสร้ างหลุมดาของมนุษย์
• หลุมดาทัง้ 3 ชนิดที่นกฟิ สิกส์เป็ นผู้แบ่งกลุม แต่ชนิดที่ มนุษย์จะสร้ าง
ั
่
ขึ ้น คือหลุมดาจิ๋ว เพราะถ้ า เราสร้ างหลุมดาชนิดที่ 1 และ 2 ได้ จริง ๆ ก็
ไม่มีอะไรเหลืออยู่ เพราะเราและ ทุกอย่าง บนโลกจะถูกดูดหายไป และ
เราก็คงไม่ได้ เรี ยนรู้อะไรอีก หลุมดาจิ๋วที่นกฟิ สิกส์จะสร้ างขึ ้นมาอยูที่
ั
่
CERN (ห้ องทดลองทางฟิ สกส์อนุภาคที่กรุงเจนีวา ประเทศ
ิ
สวิตเซอร์ แลนด์)
• โดยเครื่ องมือที่จะสร้ างมีชื่อว่า LHC (Large Hadron
Collider) ซึงเป็ นที่ที่นกฟิ สิกส์ จะจับ เอา Hadron มาชนกันที่
่
ั
พลังงานสูงยิงยวด Hadron คืออนุภาคที่มีอนตรกิริยา อย่างแรง นัน
่
ั
่
คือ Meson (ประกอบด้ วยควาก และปฏิควาก (quark antiquark) ) และ Baryon (ประกอบด้ วย ควาก 3 ตัว เช่น
โปรตอน นิวตรอน เป็ นต้ น) LHC ได้ รับการ คาดหมายว่าจะสร้ าง
เสร็จในปี 2005 และเดินเครื่ องได้ ในปี 2006
• การที่อนุภาควิ่งมาชนกันที่ LHC นัน จะเกิดพลังงาน ในระดับเดียวที่
้
เกิดขึ ้น 1 ในล้ านล้ านของวินาทีหลังจากการระเบิดครังยิ่งใหญ่ ซึงอุณ
้
่
ภูมิของเอกภพ ตอนนันจะอยูที่ประมาณ 1 หมื่นล้ านล้ านองศาเซลเซียส
้
่
(1016 ) ที่พลังงานสูงมาก ๆ ระดับนี ้ เราคาดหวังว่าสสารจะเปิ ดเผย
ความลับเช่น มวลสารนัน มาจากไหนกัน
้
• ไม่เป็ นที่แน่นอนและไม่มีสามารถยืนยันได้ 100 % ว่าหลุมดาจิ๋วจะ
เกิดขึ ้นได้ จากฝี มือของมนุษย์จริง ๆ ภายในปี 2006 การสร้ าง LHC นัน
้
ต้ องใช้ เงินทุนมหาศาล ดังนันจะเห็น ได้ ว่า ความรู้ความอยากเห็นของ
้
มนุษย์ต้องแลกมาด้ วยการทุมเทอย่างมากและเป็ นไปไม่ได้ ที่ทกประเทศ
่
ุ
ในโลกจะทาสิงนี ้ได้ สาเร็จ
่
ตัวอย่ างสิ่งที่คาดว่ าเป็ นหลุมดา
• แม้ เราจะมองไม่ สามารถมองเห็นมันได้ แต่ หลุมดาก็เป็ นสิ่งที่มี
อยู่จริงและน่ ากลัวมากเสียด้ วย เพราะมันมีพลังมากพอที่จะ
ดูดกลืนทุกสิ่งที่เข้ าไปอยู่ในรัศมี ชนิดที่ไม่ ว่าจะเป็ นสิ่งไหนก็ไม่
สามารถหลุดรอดไปได้ ไม่ เว้ นแม้ กระทั่งนาหรือแสง ซึ่งตอนนี ้
้
นักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่ านอกจากบนอวกาศแล้ ว บนโลกของเราก็มี
หลุมดาอยู่ด้วย
• เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2556 เว็บไซต์เดลี่เมลของอังกฤษ รายงานว่า
นักวิทยาศาสตร์ พบวังน ้าวนพลังงานมหาศาลซ่อนตัวอยูในมหาสมุทร
่
แอตแลนติก มีพลังและมีรูปแบบเดียวกับหลุมดาที่อยูในห้ วงอวกาศ
่
รายงานระบุว่า หลุมดาที่ว่านีอยู่ทางตอนใต้ ของมหาสมุทร
้
แอตแลนติก เป็ นนาวนขนาดยักษ์ และนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยอีที
้
เอช ซูริค และมหาวิทยาลัยไมอามี่ เชื่อว่ ามันดูดกลืนนาแบบเดียวกับ
้
ที่หลุมดาในห้ วงอวกาศดูดกลืนแสง อย่ างไรก็ตาม การจะสรุ ปว่ านี่
เป็ นแค่ นาวน หรื อเป็ นหลุมดาที่ซ่อนตัวอยู่บนโลก ยังคงเป็ นปริศนาที่
้
ไม่ อาจกล่ าวได้ แน่ ชัด
• ส่วนทางด้ าน จอร์ จ ฮอลเลอร์ ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัอีทีเอช ซู
ริค ได้ ทาการวิเคราะห์น ้าวนปริศนานี ้ด้ วยโมเดลทางคณิตศาสตร์ ผ่าน
การจับตามองด้ วยภาพจากดาวเทียม ทาให้ พบสิงที่น่าตกใจ ซึงก็คือ
่
่
การที่แสงแดดไม่สองไปในบริเวณนี ้ แต่กลับเบนกลับสูทิศเดิม
่
่
กลายเป็ นวงโคจรของแสง
• นอกจากนี ้ จากการที่นาวนปริศนานีทางานเหมือนกับหลุมดา คือ
้
้
ดูดกลืนทุกสิ่ง รวมทังทาให้ เกิดความผิดปกติของแสง คล้ ายคลึง
้
กับปรากฏการณ์ ท่ ีไอสไตน์ ตงชื่อว่ า โฟตอน สเฟี ยร์ ที่มกเกิด
ั้
ั
บริเวณหลุมดา ทาให้ นกวิทยาศาสตร์ ทงหลายให้ ความสนใจกับมันเป็ น
ั
ั้
พิเศษ และตังใจจะศึกษาต่อไป เพื่อค้ นหาว่ามันคือน ้าวนธรรมดาหรือ
้
หลุมดากันแน่ รวมทังศึกษาหาสาเหตุ เผื่อเป็ นแนวทางในการศึกษา
้
ปั ญหาเกี่ยวกับธรรมชาติเพิ่มเติม
รูหนอน ย้ อนเวลา ?
• “รูหนอน” คือสิ่งที่เชื่อกันว่าจะเป็ นประตูพาข้ ามเวลาไปยังอดีตหรื อ
อนาคตรวมถึงเอกภพอันห่างไกลได้ โดยภาพง่ายๆ ของทางลัดนี ้
สามารถแสดงได้ โดยการเจาะรูตรงปลายแผ่นกระดาษ 2 รูด้านตรงข้ าม
กันซึงแสดงถึงจุดที่ห่างไกลกันในเอกภพ
่
• แล้ วม้ วนด้ านใดด้ านหนึงให้ มาซ้ อนทับกันและหากบิดเบี ้ยวเวลาด้ วยวิธี
่
นี ้ได้ คนเราอาจจะกระโดดลงรูหนอนแล้ วไปโผล่ยงกาลเวลาที่ห่าง
ั
ออกไปหรื อสถานที่อนไกลโพ้ น โดยต้ องผ่านบริเวณ “คอคอด”
ั
(throat) ของรูหนอนที่มีลกษณะคล้ ายท่อและปลายทัง้ 2 ด้ านที่บาน
ั
ออก
• ทางลัดของจักรวาลซึงเชื่อมจุดหนึงในเอกภพไปยังอีกจุดหนึงนี ้ถูก เติม
่
่
่
แต่งจินตนาการจากนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ ให้ เป็ นทังตัวอธิบายการ
้
เดิน ทางข้ ามกาลเวลาและการหลีกเลี่ยงข้ อจากัดที่ถกกาหนดว่าไม่มีสง
ู
ิ่
ใดเคลื่อน ที่เร็วกว่าแสง และเหมือนเป็ นหนทางที่ดีที่สดสาหรับสร้ าง
ุ
ยานข้ ามเวลาแบบ "เรี ยลไทม์" แต่มีนกวิทยาศาสตร์ 2 กลุมที่แสดง
ั
่
แนวคิดว่าในการเดินข้ ามมิตผานรูหนอนนี ้ไม่ใช่เรื่ องง่าย
ิ ่
• ทังนี ้ตามหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก (Heisenberg’s
้
Uncertainty Principle) ซึงเป็ นส่วนหนึงของควอนตัมฟิ สกส์
่
่
ิ
(Quantum Physics) เมื่ออนุภาคเล็กๆ ในระบบๆ หนึงสันด้ วย
่ ่
ช่วงเวลาหนึง (t) จะเกิดพลังงาน (E) ขึ ้นมาจานวนหนึง เมื่อคูณค่าทัง้
่
่
2 เข้ าด้ วยกันแล้ วจะได้ มากกว่าหรื อเท่ากับค่าคงที่คาหนึงที่เรี ยกว่า
่ ่
“ค่าคงที่ของพลังค์” (Planck’s constant) และถ้ าระบบใดๆ ไม่มี
พลังงาน (E=0) นันหมายความว่าอะตอมต้ องสันด้ วยเวลาเป็ นอนันต์
่
่
(infinite)
• และตามแนวคิดหนึงเกี่ยวกับรูหนอน ประตูข้ามเวลานี ้จะเปิ ดอยูได้ ด้วย
่
่
การบรรจุสงที่เรี ยกว่า “วัตถุอนแปลกประหลาด” (exotic matter)
ิ่
ั
ลงในคอคอดรูหนอนหรื อบริเวณรอบๆ ซึงเป็ นวิธีอนน่าแปลกที่เดียว แต่
่
ั
วัตถุเหล่านันจะถูกผลักมากกว่าถูกดูดโดยแรงโน้ มถ่วง ซึงกล่าวได้ วามี
้
่
่
พลังงานเป็ นลบและมีความหมายที่น่าปวดหัวมากกว่าอวกาศที่ ว่าง
เปล่า (ไม่มีพลังงาน) ดังนันเพื่อจะอธิบายวิธีการนี ้ นักวิทยาศาสตร์ ต้อง
้
มองข้ ามกฎฟิ สิกส์ดงเดิมไปสูโลกของกลศาสตร์ ควอนตัม
ั้
่
ผลการศึกษาวิจยเรื่ องรู หนอน
ั
• กลุมแรกคือ ดร.สตีเฟน ซู (Dr.Stephen Hsu) และโรมัน บิวนี
่
(Roman Buniy) แห่งมหาวิทยาลัยโอเรกอน (University of
Oregon) สหรัฐซึงตีพิมพ์ผลงานผ่านเซิร์ฟเวอร์ ของ arXiv ได้ ค้ าน
่
ว่าทฤษฎีรูหนอนแบบเดิมนันอาจจะมีช่องโหว่ก็ได้ ซึงนักวิจยทัง้ 2 ได้
้
่
ั
เพ่งพินิจรูหนอนแบบ “ท่อ” กาล-อวกาศที่มีความคลาดเคลื่อนเล็กน้ อย
จากกฎฟิ สิกส์ดงเดิม และเสนอว่าไม่ควรนาวัตถุแปลกประหลาดเข้ ามา
ั้
รวมในการคานวณด้ วย
• ส่วนการศึกษาอีกด้ านหนึงโดย คริส ฟิ วสเตอร์ (Chris Fewster)
่
จากมหาวิทยาลัยแห่งยอร์ ค (the University of York) สหราช
อาณาจักร และธอมัส โรมัน จากมหาวิทยาลัย เซ็นทรัล คอนเนคติกต
ั
สเตต (Central Connecticut State University) สหรัฐ
• ใช้ วิธีการที่ตางออกไปเพื่อไขปริศนาของรูหนอนนี ้ โดยงานวิจยของพวก
่
ั
เขานันอาศัยพื ้นฐานที่คนอื่นศึกษาก่อนหน้ านี ้ว่าคอขอดของ รูหนอน
้
สามารถเปิ ดรับวัตถุแปลกประหลาดได้ เพียงเล็กน้ อยเท่านัน
้
• ฟิ วสเตอร์ และโรมันคานวณว่าแม้ จะสามารถสร้ างอะไรคล้ ายๆ กับรู
หนอนได้ แต่คอขอดของรูหนอนก็แคบเกินกว่าจะเดินทางผ่านกาลเวลา
ได้ แม้ จะเป็ นไปได้ ในเชิงทฤษฎีวาหากปรับเรขาคณิตของรูหนอนดีๆ คอ
่
ขอดของรูหนอนก็อาจจะกว้ างพอที่จะให้ คนๆ หนึงเดินทางทะลุมิติผ่าน
่
ไปได้
• แต่วาการจะสร้ างรูหนอนที่คอขอดมีรัศมีกว้ างพอที่จะให้ โปรตอนตัว
่
หนึงผ่านไปได้ ต้องปรับรายละเอียดโครงสร้ างในระดับ 1/1030 และรู
่
หนอนขนาดพอดีตวคนนันต้ องปรับกันที่ความละเอียด 1/1060 เลย
ั
้
ทีเดียว
• อย่างไรก็ดีก็ยงมีกลุมคน ที่สนับสนุนแนวคิดการสร้ างรูหนอนที่กาหนด
ั
่
สถานที่และเวลาได้ โดยนักฟิ สิกส์คนหนึงกล่าวว่าเขามองเห็นปั ญหาใน
่
ข้ อสรุปของทัง้ ดร.ซูและบิวนี ซึงเขาแสดงความเห็นว่าการละเมิด
่
หลักการทางฟิ สิกส์จากสภาวะที่ไม่มีพลังงาน นันเกิดขึ ้นในหลาย
้
ปรากฏการณ์ แต่นกวิจยจากมหาวิทยาลัยโอเรกอนก็พยายามที่จะมอง
ั ั
เพื่อละปั ญหานี ้ไป
• สาหรับสตีเฟน ฮอว์กิง (Stephen Hawking) นักฟิ สกส์จาก
ิ
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (Cembridge University) ก็เป็ น
นักวิจยอีกคนหนึงที่พยายามจะไขข้ อข้ องใจเกี่ยวกับหลุมดา
ั
่
โดยประมาณปี ค.ศ.1980 บางสิงที่เป็ นพื ้นฐานอยูภายใต้ กฎฟิ สิกส์นน
่
่
ั้
• จะต้ องปองกันรูหนอนจากการใช้ เพื่อเดินทางข้ ามเวลา ซึงความคิด
้
่
ดังกล่าวเป็ นพื ้นฐานของการคาดเดาของฮอว์กิงเกี่ยวกับการปกปอง
้
เรื่ องของเวลา (Hawking’s Chronology Protection
Conjecture) ซึงเชื่อว่าการเดินทางย้ อนเวลาไม่สามารถเกิดขึ ้นได้
่
ทาไมรูหนอนจึงถูกเชื่อกันว่ าข้ ามเวลาได้ O_o
เพราะตามกฏฟิ สิกส์ปัจจุบนแล้ วนันไม่สามารถนามาใช้ อธิบายรูหนอน
ั
้
เพราะมันอยูห่างไกลความเป็ นจริงไปหน่อย เราไม่ร้ ูวามีอะไรอยูหลัง
่
่
่
WormHole นักวิทยาศาสตร์ สวนใหญ่คิดว่าเราไม่สามารถกาหนด
่
เวลา มิติ ตาแหน่งและสถานที่ด้านหลังรูหนอนได้ เลย จึงมีความเป็ นไป
ได้ ที่จะไปยังตาแหน่งกาลอวกาศอีกจุดได้ ด้วย เพราะกาล
อวกาศคือจุดที่เวลาและอวกาศรวมกันเป็ นทางเดียวแล้ ว
อันตรายจากการข้ ามมิติ
1.เรายังไม่ร้ ูรูปแบบการปรากฏตัว"ที่แน่นอน"ของมัน
2.ความต่างชนิดของสสาร เพราะรูหนอนนันเป็ นสภาพลบและแน่นอน
้
ว่าเราเป็ นสสารบวก... กฏข้ อเนี ้ยแหละที่ฉีกการข้ ามมิตเิ ป็ นชิ ้นๆเลย...
• 3.พลังงานมหาศาลที่อยูรอบๆรูหนอนอาจบดขยี ้เราจนเละหากเราขับ
่
ยานพลาดไปชนมันเข้ า...
4.ข้ อสุดท้ าย การขับยานในรูหนอนนันต้ องระวังเป็ นพิเศษ หากเข้ าไป90
้
องศาตอนขับในนันก็ต้อง90องศา ห้ ามเฉียงแม้ แต่องศาเดียว เพราะไม่ร้ ู
้
อะไรจะเกิดขึ ้นถ้ าเราขับชนกาแพงรูหนอน
ผู้จัดทา
• 1. นางสาวชัญญา แสนเสมอ เลขที่ 19
• 2. นางสาวหิรัญญิการ์ หิรัญสุรงค์ เลขที่ 40
• ชัน ม. 6/3
้
แหล่ งอ้ างอิง
• http://www.neutron.rmutphysics.com/science
news/index.php?option=com_content&task=v
iew&id=500&Itemid=4

• http://www.manager.co.th/science/ViewNews
.aspx?NewsID=9570000012940
• http://www.dek-d.com/board/view/3077107/
• http://www.mythland.org/v3/thread-4595-11.html

More Related Content

What's hot

ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
menton00
 
ทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบงทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบง
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
Chakkrawut Mueangkhon
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53noeiinoii
 
123
123123
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพSakchai Sodsejan
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
Chakkrawut Mueangkhon
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
Chakkrawut Mueangkhon
 

What's hot (16)

ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
ทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบงทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบง
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 
123
123123
123
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
P11
P11P11
P11
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 

Similar to หลุมดำและอวกาศ

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4
Joe Stk
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เอเอ็นโอเอ็นซีเอดี ซีทีอาร์แอลเอแอลทีดีอีแอล
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3Mew
 

Similar to หลุมดำและอวกาศ (20)

กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
โลกของเรา
โลกของเราโลกของเรา
โลกของเรา
 
Univers1
Univers1Univers1
Univers1
 
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
ทฤษฎีความอลวน Chaos theory.ppt3
 

More from Hiran Vayakk

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Hiran Vayakk
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16Hiran Vayakk
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8Hiran Vayakk
 
7 วิชา ฟิสิกส์ the brain
7 วิชา ฟิสิกส์   the brain7 วิชา ฟิสิกส์   the brain
7 วิชา ฟิสิกส์ the brainHiran Vayakk
 
วิชาเคมี
วิชาเคมีวิชาเคมี
วิชาเคมีHiran Vayakk
 
7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษHiran Vayakk
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคมHiran Vayakk
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทยHiran Vayakk
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิตHiran Vayakk
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Hiran Vayakk
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Hiran Vayakk
 

More from Hiran Vayakk (13)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16ใบงานที่ 9 16
ใบงานที่ 9 16
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8
 
7 วิชา ฟิสิกส์ the brain
7 วิชา ฟิสิกส์   the brain7 วิชา ฟิสิกส์   the brain
7 วิชา ฟิสิกส์ the brain
 
วิชาเคมี
วิชาเคมีวิชาเคมี
วิชาเคมี
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

หลุมดำและอวกาศ

  • 2. หลุมดาคืออะไร ? Stratrek มีการกล่าวถึงคาว่า หลุมดา อยูบอย ๆ แต่ ่ ่ concept อย่างเป็ นทางการ (หมายถึงทางวิทยาศาสตร์ ที่ได้ รับการ ยอมรับ) นิยามหลุมดาว่า “ เป็ นอาณาบริเวณในกาลอวกาศ (spacetime) ที่มี สนามโน้ มถ่ วงสูงมาก ๆ แม้ กระทั่งแสง (อนุภาคโฟตอนซึ่งเป็ นสิ่งที่เดินทาง ได้ เร็วที่สุดในเอกภพ เท่ าที่ เรารู้จกกัน) ก็ไม่ สามารถเล็ดลอดออกมาได้ ทาให้ อาณาบริเวณ ั นันดูเหมือนเป็ นสีดา ” ้
  • 3.
  • 4. ประเภทของหลุมดา • แบ่งเป็ น 3 ประเภท • หลุมดามวลยิ่งยวด (Supermassive black holes) เชื่อกันว่าหลุมดามวลยิ่งยวดอยูใจกลางของควอซ่าร์ (Quasars) ซึง ่ ่ เป็ นใจกลางของgalaxy ที่มีการระเบิดเกิดขึ ้น และมันดูดดาวจานวน นับพันล้ านดวง รวมถึงก๊ าซและฝุ่ น ในอวกาศ หรื อแม้ กระทังดาว ่ เคราะห์เข้ าไป ด้ วยเหตุนี ้จึงเรี ยกว่าหลุมดามวลยิ่งยวด ในปี 1994 กล้ องโทรทรรศน์อวกาศ Hubble ได้ ถ่ายภาพที่ถือว่าเป็ นหลักฐาน แห่งการค้ นพบหลุมดามวลยิ่งยวด ณ ใจกลางของ galaxy M87
  • 5. หลุมดาจิ๋ว (Mini black holes) • เชื่อกันว่าหลุมดาพวกนี ้ (ขนาดราว 10-15 เมตร) เกิดขึ ้นระหว่างการ ระเบิดครังยิ่งใหญ่ (The Big Bang) Stephen Hawking ้ เป็ นผู้นาในการเสนอทฤษฎีเกียวกับหลุมดาจิ๋ว ราวต้ นทศวรรษ 70 อีก ชื่อหนึงของหลุมดาจิ๋วคือ หลุมดาแรกเริ่ม (Primordial black ่ holes) ในทฤษฎีนี ้ โปรตอนและปฏิโปรตอนอาจเกิดขึ ้นได้ รอบ ๆ หลุมดาจิ๋ว
  • 6. หลุมดาที่เกิดจากดาวที่ตายแล้ ว (Stellar black holes) • หลุมดาประเภทนี ้เกิดจากดาวยักษ์ แดง (Red giant stars) ที่มี มวลมากกว่า 3 เท่าของ มวลของดวงอาทิตย์ตามวิวฒนาการของ ั ดวงดาว (Stellar evolution) ส่วนดาวที่มีมวล น้ อยกว่านี ้ก็จะ วิวฒนาการไปสู่ ดาวแคระขาว (white dwarfs) หรื อ ดาว ั นิวตรอน (neutron stars)
  • 7. • ตามหลัก ของการสร้ างและการทาลายล้ างอนุภาค (Pair production and annihilation) โดยที่ถ้าตัวตัวหนึงตกลง ่ ไปในหลุมดาอีกตัวก็จะออกมา จากปรากฎการณ์นี ้ทาให้ เรารู้วา หลุม ่ ดาระเหยสาบสูญไป (Evaporate) และหลุมดาก็แผ่รังสีออกมา Stephen Hawking ได้ สร้ างทฤษฎีเกี่ยวกับการแผ่รังสีของหลุม ดาที่ร้ ูจกกันในนาม Hawking Radiation ั
  • 8. • การที่หลุมดาแผ่รังสีทาให้ มนมี อายุขยที่จากัด (หรื อกล่าวว่าหลุมดาก็ ั ั ตายได้ ) นอกจากนี ้ Hawking ได้ พบด้ วยว่าการแผ่รังสีของหลุมดา นันเป็ นแบบ สเปกตรัมเชิงความร้ อน (Thermal spectrum) ้ แปลว่าหลุมดาจิ๋วที่มีมวล 1015 กรัม ซึงมีอายุขยน้ อยกว่าเอกภพได้ ่ ั ระเหยสาบสูญไปแล้ ว
  • 9. การวางแผนสร้ างหลุมดาของมนุษย์ • หลุมดาทัง้ 3 ชนิดที่นกฟิ สิกส์เป็ นผู้แบ่งกลุม แต่ชนิดที่ มนุษย์จะสร้ าง ั ่ ขึ ้น คือหลุมดาจิ๋ว เพราะถ้ า เราสร้ างหลุมดาชนิดที่ 1 และ 2 ได้ จริง ๆ ก็ ไม่มีอะไรเหลืออยู่ เพราะเราและ ทุกอย่าง บนโลกจะถูกดูดหายไป และ เราก็คงไม่ได้ เรี ยนรู้อะไรอีก หลุมดาจิ๋วที่นกฟิ สิกส์จะสร้ างขึ ้นมาอยูที่ ั ่ CERN (ห้ องทดลองทางฟิ สกส์อนุภาคที่กรุงเจนีวา ประเทศ ิ สวิตเซอร์ แลนด์)
  • 10.
  • 11. • โดยเครื่ องมือที่จะสร้ างมีชื่อว่า LHC (Large Hadron Collider) ซึงเป็ นที่ที่นกฟิ สิกส์ จะจับ เอา Hadron มาชนกันที่ ่ ั พลังงานสูงยิงยวด Hadron คืออนุภาคที่มีอนตรกิริยา อย่างแรง นัน ่ ั ่ คือ Meson (ประกอบด้ วยควาก และปฏิควาก (quark antiquark) ) และ Baryon (ประกอบด้ วย ควาก 3 ตัว เช่น โปรตอน นิวตรอน เป็ นต้ น) LHC ได้ รับการ คาดหมายว่าจะสร้ าง เสร็จในปี 2005 และเดินเครื่ องได้ ในปี 2006
  • 12. • การที่อนุภาควิ่งมาชนกันที่ LHC นัน จะเกิดพลังงาน ในระดับเดียวที่ ้ เกิดขึ ้น 1 ในล้ านล้ านของวินาทีหลังจากการระเบิดครังยิ่งใหญ่ ซึงอุณ ้ ่ ภูมิของเอกภพ ตอนนันจะอยูที่ประมาณ 1 หมื่นล้ านล้ านองศาเซลเซียส ้ ่ (1016 ) ที่พลังงานสูงมาก ๆ ระดับนี ้ เราคาดหวังว่าสสารจะเปิ ดเผย ความลับเช่น มวลสารนัน มาจากไหนกัน ้
  • 13. • ไม่เป็ นที่แน่นอนและไม่มีสามารถยืนยันได้ 100 % ว่าหลุมดาจิ๋วจะ เกิดขึ ้นได้ จากฝี มือของมนุษย์จริง ๆ ภายในปี 2006 การสร้ าง LHC นัน ้ ต้ องใช้ เงินทุนมหาศาล ดังนันจะเห็น ได้ ว่า ความรู้ความอยากเห็นของ ้ มนุษย์ต้องแลกมาด้ วยการทุมเทอย่างมากและเป็ นไปไม่ได้ ที่ทกประเทศ ่ ุ ในโลกจะทาสิงนี ้ได้ สาเร็จ ่
  • 14. ตัวอย่ างสิ่งที่คาดว่ าเป็ นหลุมดา • แม้ เราจะมองไม่ สามารถมองเห็นมันได้ แต่ หลุมดาก็เป็ นสิ่งที่มี อยู่จริงและน่ ากลัวมากเสียด้ วย เพราะมันมีพลังมากพอที่จะ ดูดกลืนทุกสิ่งที่เข้ าไปอยู่ในรัศมี ชนิดที่ไม่ ว่าจะเป็ นสิ่งไหนก็ไม่ สามารถหลุดรอดไปได้ ไม่ เว้ นแม้ กระทั่งนาหรือแสง ซึ่งตอนนี ้ ้ นักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่ านอกจากบนอวกาศแล้ ว บนโลกของเราก็มี หลุมดาอยู่ด้วย
  • 15. • เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2556 เว็บไซต์เดลี่เมลของอังกฤษ รายงานว่า นักวิทยาศาสตร์ พบวังน ้าวนพลังงานมหาศาลซ่อนตัวอยูในมหาสมุทร ่ แอตแลนติก มีพลังและมีรูปแบบเดียวกับหลุมดาที่อยูในห้ วงอวกาศ ่ รายงานระบุว่า หลุมดาที่ว่านีอยู่ทางตอนใต้ ของมหาสมุทร ้ แอตแลนติก เป็ นนาวนขนาดยักษ์ และนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยอีที ้ เอช ซูริค และมหาวิทยาลัยไมอามี่ เชื่อว่ ามันดูดกลืนนาแบบเดียวกับ ้ ที่หลุมดาในห้ วงอวกาศดูดกลืนแสง อย่ างไรก็ตาม การจะสรุ ปว่ านี่ เป็ นแค่ นาวน หรื อเป็ นหลุมดาที่ซ่อนตัวอยู่บนโลก ยังคงเป็ นปริศนาที่ ้ ไม่ อาจกล่ าวได้ แน่ ชัด
  • 16. • ส่วนทางด้ าน จอร์ จ ฮอลเลอร์ ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัอีทีเอช ซู ริค ได้ ทาการวิเคราะห์น ้าวนปริศนานี ้ด้ วยโมเดลทางคณิตศาสตร์ ผ่าน การจับตามองด้ วยภาพจากดาวเทียม ทาให้ พบสิงที่น่าตกใจ ซึงก็คือ ่ ่ การที่แสงแดดไม่สองไปในบริเวณนี ้ แต่กลับเบนกลับสูทิศเดิม ่ ่ กลายเป็ นวงโคจรของแสง
  • 17. • นอกจากนี ้ จากการที่นาวนปริศนานีทางานเหมือนกับหลุมดา คือ ้ ้ ดูดกลืนทุกสิ่ง รวมทังทาให้ เกิดความผิดปกติของแสง คล้ ายคลึง ้ กับปรากฏการณ์ ท่ ีไอสไตน์ ตงชื่อว่ า โฟตอน สเฟี ยร์ ที่มกเกิด ั้ ั บริเวณหลุมดา ทาให้ นกวิทยาศาสตร์ ทงหลายให้ ความสนใจกับมันเป็ น ั ั้ พิเศษ และตังใจจะศึกษาต่อไป เพื่อค้ นหาว่ามันคือน ้าวนธรรมดาหรือ ้ หลุมดากันแน่ รวมทังศึกษาหาสาเหตุ เผื่อเป็ นแนวทางในการศึกษา ้ ปั ญหาเกี่ยวกับธรรมชาติเพิ่มเติม
  • 18. รูหนอน ย้ อนเวลา ? • “รูหนอน” คือสิ่งที่เชื่อกันว่าจะเป็ นประตูพาข้ ามเวลาไปยังอดีตหรื อ อนาคตรวมถึงเอกภพอันห่างไกลได้ โดยภาพง่ายๆ ของทางลัดนี ้ สามารถแสดงได้ โดยการเจาะรูตรงปลายแผ่นกระดาษ 2 รูด้านตรงข้ าม กันซึงแสดงถึงจุดที่ห่างไกลกันในเอกภพ ่
  • 19. • แล้ วม้ วนด้ านใดด้ านหนึงให้ มาซ้ อนทับกันและหากบิดเบี ้ยวเวลาด้ วยวิธี ่ นี ้ได้ คนเราอาจจะกระโดดลงรูหนอนแล้ วไปโผล่ยงกาลเวลาที่ห่าง ั ออกไปหรื อสถานที่อนไกลโพ้ น โดยต้ องผ่านบริเวณ “คอคอด” ั (throat) ของรูหนอนที่มีลกษณะคล้ ายท่อและปลายทัง้ 2 ด้ านที่บาน ั ออก
  • 20. • ทางลัดของจักรวาลซึงเชื่อมจุดหนึงในเอกภพไปยังอีกจุดหนึงนี ้ถูก เติม ่ ่ ่ แต่งจินตนาการจากนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ ให้ เป็ นทังตัวอธิบายการ ้ เดิน ทางข้ ามกาลเวลาและการหลีกเลี่ยงข้ อจากัดที่ถกกาหนดว่าไม่มีสง ู ิ่ ใดเคลื่อน ที่เร็วกว่าแสง และเหมือนเป็ นหนทางที่ดีที่สดสาหรับสร้ าง ุ ยานข้ ามเวลาแบบ "เรี ยลไทม์" แต่มีนกวิทยาศาสตร์ 2 กลุมที่แสดง ั ่ แนวคิดว่าในการเดินข้ ามมิตผานรูหนอนนี ้ไม่ใช่เรื่ องง่าย ิ ่
  • 21. • ทังนี ้ตามหลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก (Heisenberg’s ้ Uncertainty Principle) ซึงเป็ นส่วนหนึงของควอนตัมฟิ สกส์ ่ ่ ิ (Quantum Physics) เมื่ออนุภาคเล็กๆ ในระบบๆ หนึงสันด้ วย ่ ่ ช่วงเวลาหนึง (t) จะเกิดพลังงาน (E) ขึ ้นมาจานวนหนึง เมื่อคูณค่าทัง้ ่ ่ 2 เข้ าด้ วยกันแล้ วจะได้ มากกว่าหรื อเท่ากับค่าคงที่คาหนึงที่เรี ยกว่า ่ ่ “ค่าคงที่ของพลังค์” (Planck’s constant) และถ้ าระบบใดๆ ไม่มี พลังงาน (E=0) นันหมายความว่าอะตอมต้ องสันด้ วยเวลาเป็ นอนันต์ ่ ่ (infinite)
  • 22.
  • 23. • และตามแนวคิดหนึงเกี่ยวกับรูหนอน ประตูข้ามเวลานี ้จะเปิ ดอยูได้ ด้วย ่ ่ การบรรจุสงที่เรี ยกว่า “วัตถุอนแปลกประหลาด” (exotic matter) ิ่ ั ลงในคอคอดรูหนอนหรื อบริเวณรอบๆ ซึงเป็ นวิธีอนน่าแปลกที่เดียว แต่ ่ ั วัตถุเหล่านันจะถูกผลักมากกว่าถูกดูดโดยแรงโน้ มถ่วง ซึงกล่าวได้ วามี ้ ่ ่ พลังงานเป็ นลบและมีความหมายที่น่าปวดหัวมากกว่าอวกาศที่ ว่าง เปล่า (ไม่มีพลังงาน) ดังนันเพื่อจะอธิบายวิธีการนี ้ นักวิทยาศาสตร์ ต้อง ้ มองข้ ามกฎฟิ สิกส์ดงเดิมไปสูโลกของกลศาสตร์ ควอนตัม ั้ ่
  • 24. ผลการศึกษาวิจยเรื่ องรู หนอน ั • กลุมแรกคือ ดร.สตีเฟน ซู (Dr.Stephen Hsu) และโรมัน บิวนี ่ (Roman Buniy) แห่งมหาวิทยาลัยโอเรกอน (University of Oregon) สหรัฐซึงตีพิมพ์ผลงานผ่านเซิร์ฟเวอร์ ของ arXiv ได้ ค้ าน ่ ว่าทฤษฎีรูหนอนแบบเดิมนันอาจจะมีช่องโหว่ก็ได้ ซึงนักวิจยทัง้ 2 ได้ ้ ่ ั เพ่งพินิจรูหนอนแบบ “ท่อ” กาล-อวกาศที่มีความคลาดเคลื่อนเล็กน้ อย จากกฎฟิ สิกส์ดงเดิม และเสนอว่าไม่ควรนาวัตถุแปลกประหลาดเข้ ามา ั้ รวมในการคานวณด้ วย
  • 25. • ส่วนการศึกษาอีกด้ านหนึงโดย คริส ฟิ วสเตอร์ (Chris Fewster) ่ จากมหาวิทยาลัยแห่งยอร์ ค (the University of York) สหราช อาณาจักร และธอมัส โรมัน จากมหาวิทยาลัย เซ็นทรัล คอนเนคติกต ั สเตต (Central Connecticut State University) สหรัฐ
  • 26. • ใช้ วิธีการที่ตางออกไปเพื่อไขปริศนาของรูหนอนนี ้ โดยงานวิจยของพวก ่ ั เขานันอาศัยพื ้นฐานที่คนอื่นศึกษาก่อนหน้ านี ้ว่าคอขอดของ รูหนอน ้ สามารถเปิ ดรับวัตถุแปลกประหลาดได้ เพียงเล็กน้ อยเท่านัน ้
  • 27. • ฟิ วสเตอร์ และโรมันคานวณว่าแม้ จะสามารถสร้ างอะไรคล้ ายๆ กับรู หนอนได้ แต่คอขอดของรูหนอนก็แคบเกินกว่าจะเดินทางผ่านกาลเวลา ได้ แม้ จะเป็ นไปได้ ในเชิงทฤษฎีวาหากปรับเรขาคณิตของรูหนอนดีๆ คอ ่ ขอดของรูหนอนก็อาจจะกว้ างพอที่จะให้ คนๆ หนึงเดินทางทะลุมิติผ่าน ่ ไปได้
  • 28. • แต่วาการจะสร้ างรูหนอนที่คอขอดมีรัศมีกว้ างพอที่จะให้ โปรตอนตัว ่ หนึงผ่านไปได้ ต้องปรับรายละเอียดโครงสร้ างในระดับ 1/1030 และรู ่ หนอนขนาดพอดีตวคนนันต้ องปรับกันที่ความละเอียด 1/1060 เลย ั ้ ทีเดียว
  • 29. • อย่างไรก็ดีก็ยงมีกลุมคน ที่สนับสนุนแนวคิดการสร้ างรูหนอนที่กาหนด ั ่ สถานที่และเวลาได้ โดยนักฟิ สิกส์คนหนึงกล่าวว่าเขามองเห็นปั ญหาใน ่ ข้ อสรุปของทัง้ ดร.ซูและบิวนี ซึงเขาแสดงความเห็นว่าการละเมิด ่ หลักการทางฟิ สิกส์จากสภาวะที่ไม่มีพลังงาน นันเกิดขึ ้นในหลาย ้ ปรากฏการณ์ แต่นกวิจยจากมหาวิทยาลัยโอเรกอนก็พยายามที่จะมอง ั ั เพื่อละปั ญหานี ้ไป
  • 30. • สาหรับสตีเฟน ฮอว์กิง (Stephen Hawking) นักฟิ สกส์จาก ิ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (Cembridge University) ก็เป็ น นักวิจยอีกคนหนึงที่พยายามจะไขข้ อข้ องใจเกี่ยวกับหลุมดา ั ่ โดยประมาณปี ค.ศ.1980 บางสิงที่เป็ นพื ้นฐานอยูภายใต้ กฎฟิ สิกส์นน ่ ่ ั้
  • 31. • จะต้ องปองกันรูหนอนจากการใช้ เพื่อเดินทางข้ ามเวลา ซึงความคิด ้ ่ ดังกล่าวเป็ นพื ้นฐานของการคาดเดาของฮอว์กิงเกี่ยวกับการปกปอง ้ เรื่ องของเวลา (Hawking’s Chronology Protection Conjecture) ซึงเชื่อว่าการเดินทางย้ อนเวลาไม่สามารถเกิดขึ ้นได้ ่
  • 32. ทาไมรูหนอนจึงถูกเชื่อกันว่ าข้ ามเวลาได้ O_o เพราะตามกฏฟิ สิกส์ปัจจุบนแล้ วนันไม่สามารถนามาใช้ อธิบายรูหนอน ั ้ เพราะมันอยูห่างไกลความเป็ นจริงไปหน่อย เราไม่ร้ ูวามีอะไรอยูหลัง ่ ่ ่ WormHole นักวิทยาศาสตร์ สวนใหญ่คิดว่าเราไม่สามารถกาหนด ่ เวลา มิติ ตาแหน่งและสถานที่ด้านหลังรูหนอนได้ เลย จึงมีความเป็ นไป ได้ ที่จะไปยังตาแหน่งกาลอวกาศอีกจุดได้ ด้วย เพราะกาล อวกาศคือจุดที่เวลาและอวกาศรวมกันเป็ นทางเดียวแล้ ว
  • 33. อันตรายจากการข้ ามมิติ 1.เรายังไม่ร้ ูรูปแบบการปรากฏตัว"ที่แน่นอน"ของมัน 2.ความต่างชนิดของสสาร เพราะรูหนอนนันเป็ นสภาพลบและแน่นอน ้ ว่าเราเป็ นสสารบวก... กฏข้ อเนี ้ยแหละที่ฉีกการข้ ามมิตเิ ป็ นชิ ้นๆเลย...
  • 34. • 3.พลังงานมหาศาลที่อยูรอบๆรูหนอนอาจบดขยี ้เราจนเละหากเราขับ ่ ยานพลาดไปชนมันเข้ า... 4.ข้ อสุดท้ าย การขับยานในรูหนอนนันต้ องระวังเป็ นพิเศษ หากเข้ าไป90 ้ องศาตอนขับในนันก็ต้อง90องศา ห้ ามเฉียงแม้ แต่องศาเดียว เพราะไม่ร้ ู ้ อะไรจะเกิดขึ ้นถ้ าเราขับชนกาแพงรูหนอน
  • 35. ผู้จัดทา • 1. นางสาวชัญญา แสนเสมอ เลขที่ 19 • 2. นางสาวหิรัญญิการ์ หิรัญสุรงค์ เลขที่ 40 • ชัน ม. 6/3 ้
  • 36. แหล่ งอ้ างอิง • http://www.neutron.rmutphysics.com/science news/index.php?option=com_content&task=v iew&id=500&Itemid=4 • http://www.manager.co.th/science/ViewNews .aspx?NewsID=9570000012940 • http://www.dek-d.com/board/view/3077107/ • http://www.mythland.org/v3/thread-4595-11.html