SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
อายุทางธรณีวิทยา
อายุทางธรณีวิทยา
โดยทั่วไปอายุทางธรณีวิทยาแบ่งเป็น 2 แบบ คือ อายุ
เปรียบเทียบ และอายุสัมบูรณ์
อายุทางธรณีวิทยา
1. อายุเปรียบเทียบ (Relative age)
เป็นอายุหินเปรียบเทียบซึ่งบอกว่าหินชุดใดมีอายุมากหรือ
น้อยกว่ากัน อายุเปรียบเทียบหาได้โดยอาศัยข้อมูลจากซากดึก
ดาบรรพ์ที่ทราบอายุ ลักษณะการลาดับของชั้นหินต่าง ๆ และ
ลักษณะโครงสร้างธรณีวิทยาของหินแล้วนามาเปรียบเทียบกับ
ช่วงเวลาทางธรณีวิทยาที่เรียกว่า ธรณีกาล (Geologic time) ก็
จะสามารถบอกอายุของหินที่เราศึกษาได้ว่าเป็นหินในยุค
ไหน หรือมีช่วงอายุเป็นเท่าใด
อายุทางธรณีวิทยา
นักธรณีวิทยาได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับซากดึกดาบรรพ์
และจัดหมวดหมู่ตามอายุ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและ
สภาพแวดล้อมตามกาลเวลาที่ค้นพบจนในที่สุดสรุปเป็น
ตารางธรณีกาล
อายุทางธรณีวิทยา
อายุทางธรณีวิทยา
2. อายุสัมบูรณ์ (Absolute Age)
เป็นอายุของหินหรือซากดึกดาบรรพ์ที่สามารถบอกเป็น
จานวนปีที่ค่อนข้างแน่นอน การหาอายุสัมบูรณ์ใช้วิธีคานวณ
จากครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยู่ในหินหรือซากดึกดา
บรรพ์ที่ต้องการศึกษา ธาตุกัมมันตรังสีที่นิยมนามาหาอายุ
สัมบูรณ์ ได้แก่ ธาตุคาร์บอน-14 ธาตุโพแทสเซียม-40 ธาตุ
เรเดียม-226 และธาตุยูเรเนียม-238 เป็นต้น การหาอายุสัมบูรณ์
มักใช้กับหินที่มีอายุมากเป็นแสนหรือล้านปี
อายุทางธรณีวิทยา
แหล่งซากหอยนางรมยักษ์ วัดเจดีย์หอย
จังหวัดปทุมธานี พบเปลือกหอยทะเลหลายชนิด
สะสมตัว ปนกับซากไม้ผุในตะกอนดินเหนียวทะเล
ที่มีลักษณะอ่อนนุ่ม มีสีเทาถึงเทาปนเขียว ซากหอย
ที่พบมากที่สุดเป็นหอยนางรม เมื่อนาซากหอยนี้ไป
หาอายุ ด้วยวิธีกัมมันตภาพรังสีคาร์บอน 14 พบว่า
มีอายุประมาณ 5,500 ปี
แสดงให้เห็นว่า ในอดีตบริเวณวัดเจดีย์หอย
เคยเป็นชายทะเลมาก่อน โดยพบว่า น้าทะเลท่วมที่
ราบลุ่มภาคกลาง ไปจนถึงจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา เมื่อประมาณ 6,000 ปี ที่แล้ว
ต่อมาทะเลโบราณลดระดับลง และเริ่มถอยร่นออกไปในช่วงประมาณ 5,700-
5,000 ปีที่ผ่านมา เมื่อน้าทะเลถอยร่นออกไป จึงพบซากหอยอยู่ในบริเวณนี้
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์ (Fossil) คือ ซากและร่องรอยของ
สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่เคยอาศัยอยู่ในบริเวณนั้น เมื่อตายลง
ซากก็จะถูกทับถมและฝังตัวอยู่ในชั้นหินตะกอน
นักธรณีวิทยาใช้ซากดึกดาบรรพ์เป็นหลักฐานบอกกล่าวถึง
ประวัติความเป็นมาของพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งสามารถบอกถึง
สภาพแวดล้อมในอดีตว่าเป็นบนบกหรือในทะเล เป็น
ต้น นอกจากนั้นซากดึกดาบรรพ์ยังสามารถบอกช่วงอายุ
ของหินชนิดอื่นที่อยู่ร่วมกับหินตะกอนเหล่านั้นได้ด้วย
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี (Index fossil) เป็นซากดึกดา
บรรพ์ที่บอกอายุได้แน่นอน เนื่องจากเป็นซากดึกดาบรรพ์ที่มี
วิวัฒนาการทางโครงสร้างและรูปร่างอย่างรวดเร็ว มีความ
แตกต่างกันแต่ละช่วงอายุอย่างเด่นชัด และปรากฏให้เห็นเพียง
ช่วงอายุหนึ่งแล้วก็สูญพันธุ์ไป เช่น
ไทโลไบต์ เป็นสัตว์จาพวกไม่มีกระดูกสันหลัง ในยุคแคม
เบรียน
แกรพโตไลต์ เป็นสัตว์จาพวกไม่มีกระดูกสันหลังในทะเล
ในยุคออร์โดวิเชียน
ซากดึกดาบรรพ์
สาหรับประเทศไทยได้มีการค้นพบซากดึกดาบรรพ์ดัชนี ดังนี้
1. ซากดึกดาบรรพ์ไทโลไบต์ในหินทรายแดง ที่เกาะตะรุเตา
จังหวัดสตูล ทาให้นักธรณีวิทยาบอกได้ว่าหินทรายแดง เป็นหินที่มีอายุ
ประมาณ 570-505 ล้านปี
2. ซากดึกดาบรรพ์แกรปโตไลด์ในหินดินดานสีดา ที่อาเภอฝาง
จังหวัดเชียงใหม่ ทาให้นักธรณีวิทยาบอกได้ว่าหินดินดานสีดานั้นเป็นหิน
ที่มีอายุประมาณ 416-398 ล้านปี
3. ซากดึกดาบรรพ์ฟิวซูลินิดในหินปูน ที่จังหวัดสระบุรี ทาให้นัก
ธรณีวิทยาบอกได้ว่าหินปูนนั้นเป็นหินที่มีอายุประมาณ 286-245 ล้านปี
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์
การเกิดซากดึกดาบรรพ์
1. เกิดจากส่วนอ่อนของอวัยวะถูกย่อยสลาย เหลือส่วนที่แข็งเช่น
กระดูกเขา หรือไม้เนื้อแข็ง
2. เกิดจากสิ่งมีชีวิตถูกแช่แข็ง ไม่เน่าเปื่อย
3. เกิดจากการที่แมลงบินเข้าไปติดอยู่ที่ยางไม้
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์ในประเทศไทย
จะพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนมาก โดยจะฝังตัวอยู่
ในหินทราย หินทรายแป้ง ซึ่งเป็นหินในยุคไทรแอสสิกตอนปลายถึงยุคครี
เตเซียสตอนกลาง หรือ 200-100 ล้านปีที่ผ่านมา
- พบซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์ “ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน” พบ
ที่อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ภูกุ้มข้าว อาเภอสหัสขันธ์ จังหวัด
กาฬสินธุ์ เป็นไดโนเสาร์กินพืช คอและหางยาง เดินสี่เท้า
- ชัยภูมิ สกลนคร อุดรธานี อุบลราชธานี นครราชสีมา
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์ในประเทศไทย
- พบกะโหลกหมูดึกดาบรรพ์เมอริโคโปเตมัส เป็นสัตว์เลี้ยงลูก
ด้วยน้านม ซึ่งมีชีวิตอยู่ประมาณ 8-6 ล้านปีที่ผ่านมา กะโหลกที่พบมี 5
ชิ้น อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ พบที่บ่อขุดทราย ตาบลท่าช้าง อาเภอเฉลิม
พระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา
ซากดึกดาบรรพ์
ซากดึกดาบรรพ์ในประเทศไทย
- ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็นพืชที่เคย
พบ ได้แก่ ใบไม้ ละอองเรณู สปอร์
สาหร่ายทะเล และไม้กลายเป็นหิน
การลาดับชั้นหิน
การลาดับชั้นหิน
เป็นการรวบรวมข้อมูลทางธรณีวิทยาเกือบทุกทางมาใช้
ศึกษา วิเคราะห์ และประเมินศักยภาพของพื้นที่ ณ บริเวณใด
บริเวณหนึ่ง
ตะกอนต่างๆ สะสมตัวเกิดเป็นชั้น เมื่อเวลาผ่านไปหลาย
ล้านปี ชั้นตะกอนจะแข็งตัวเป็นชั้นหินตะกอนซ้อนกัน
ประเทศไทยข้อมูลส่วนมากจะอยู่ในรูปของแผนที่
ธรณีวิทยาและรายงาน
การลาดับชั้นหิน
การลาดับชั้นหิน
ในสภาพปกติชั้นหินที่อยู่ด้านล่างจะสะสมก่อน มีอายุ
มากกว่าชั้นหินที่วางทับอยู่ชั้นบน
การลาดับชั้นหิน
ชั้นหินในระยะเกิดใหม่ๆ จะมีการวางตัวในแนวระนาบ
ชั้นหินแบ่งเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ โดยอาศัยลักษณะที่ปรากฏอยู่
ภายในแต่ละชั้น ดังนี้
1. ชั้นสม่าเสมอ (regular bedding)
2. ชั้นหินกระแสคลื่น (current bedding)
3. ชั้นจัดเรียงอนุภาคอะตอม (graded bedding)
4. ชั้นเลื่อนผสม (slum bedding)
การลาดับชั้นหิน
นอกจากนี้โครงสร้างทางธรณีวิทยาที่ปรากฏอยู่ในหิน เช่น
รอยเลื่อน รอยคดโค้งของชั้นหิน และรอยไม่ต่อเนื่อง ก็สามารถ
อธิบายประวัติความเป็นมาของพื้นที่นั้นได้
การลาดับชั้นหิน
กรณีศึกษา การอธิบายว่าพื้นที่จังหวัดลาปางในปัจจุบัน
เมื่อหลายล้านปีก่อน เคยเป็นทะเล ด้วยเหตุผลดังนี้
1. พบหินทราย หินทรายแป้ง หินกรวดมน และหินปูน เกิด
สลับกัน 2 ช่วง โดยมีหินทราย หินกรวดมนสีแดงปิดทับอยู่
บนสุด
2. พบซากดึกดาบรรพ์ ได้แก่ หอยกาบคู่และหอยงวงช้าง
สะสมอยู่ในชั้นหิน
การลาดับชั้นหิน
โลกเมื่อกาเนิดขึ้นมาแล้วก็มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม
กระบวนการและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางธรณีวิทยา การ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทาให้หินที่ปรากฏอยู่บนเปลือกโลก
มีการเปลี่ยนแปลงทั้งรูปแบบและตาแหน่งที่ตั้ง
จากหลักการพื้นฐานทางธรณีวิทยาที่เสนอว่า
“ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันล้วน
เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต” หรืออาจจะสรุปเป็นคากล่าว
สั้น ๆ ว่า “ปัจจุบันคือกุญแจไขไปสู่อดีต”
การลาดับชั้นหิน
ในสภาพปกติชั้นหินตะกอนที่อยู่ข้างล่างจะสะสมตัว
ก่อน มีอายุมากกว่าชั้นหินตะกอนที่วางทับอยู่ชั้นบนขึ้นมา
หินดินดานเป็นหินที่มีอายุมากที่สุด หินปูนเกิดสะสมก่อน
หินกรวดมน และหินทรายมีอายุน้อยที่สุด
ต่อมาเมื่อเปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลงอาจ
เนื่องมาจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค แผ่นดินไหว
หรือภูเขาไฟระเบิด ทาให้ชั้นหินที่อยู่ในแนวราบเกิดเอียง
เทไป ซึ่งในปัจจุบันเรามักจะพบชั้นหินที่มีการเอียงเท
เสมอ
การลาดับชั้นหิน
รอยคดโค้ง รอยชั้นไม่ต่อเนื่องที่เกิดขึ้นในหิน มี
ความสาคัญต่อการลาดับชั้นหินตะกอน แต่ในกรณีที่ไม่มี
ชั้นหินและซากดึกดาบรรพ์ปรากฏให้เห็น จะต้องนา
โครงสร้างทางธรณีที่เกิดขึ้นในหินทุกชนิดที่เกิดร่วมกันมา
พิจารณาหาความสัมพันธ์
นอกจากนั้นรอยเลื่อนรูปแบบต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ใน
หิน ทาให้ชั้นหินเอียงเทและเคลื่อนออกจากตาแหน่ง
เดิม ก็สามารถที่จะนามาใช้เป็นหลักฐานในการลาดับชั้น
หินได้
การลาดับชั้นหิน
การศึกษาธรณีประวัตินอกจากจะทาให้เรารู้ความ
เป็นมาของแผ่นดินที่เราอาศัยอยู่แล้ว ผลจากการศึกษา
ซากดึกดาบรรพ์ และการลาดับชั้นหินให้เป็นหมวดหมู่
ตามอายุของซากนั้น ทาให้สามารถจากัดขอบเขตของหิน
ได้ชัดเจนขึ้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการนาข้อมูลเหล่านี้
ไปใช้ในการวางแผนพัฒนา และใช้ประโยชน์จากพื้นที่ให้
เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และยังใช้ในการสารวจหา
ทรัพยากรธรณี ทั้งนี้เพราะหินแต่ละช่วงอายุเกิดใน
สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน และมีทรัพยากรธรรมชาติ
ต่างกันไปด้วย
ธรณีกาล
ธรณีกาล
ธรณีกาล

More Related Content

What's hot

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
oranuch_u
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4
 
06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
หิน
หินหิน
หิน
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 

Viewers also liked

ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
Wankham Lungsu
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
Kobwit Piriyawat
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
พัน พัน
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
narongsakday
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Viewers also liked (14)

แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติเรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
เรื่องที่ 8 ธรณีประวัติ
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 

Similar to บทที่ 4 ธรณีประวัติ

Similar to บทที่ 4 ธรณีประวัติ (6)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
นำเสนอโลก
นำเสนอโลกนำเสนอโลก
นำเสนอโลก
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptxการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์.pptx
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 

More from Ta Lattapol

More from Ta Lattapol (8)

หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

บทที่ 4 ธรณีประวัติ