SlideShare a Scribd company logo
นวัตกรรมทางการ
พยาบาล
ชื่อเรื่อง แผงยา ตาดี
หน่วยงาน คลีนิกเบาหวานและความดันโลหิตสูง
หลักการและเหตุผล
ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ
และบางรายไม่มีผู้ดูแล ต้องพึ่งพาตนเองเป็นหลัก การรับประทานยา
จึงอาจจะหลงลืม หรือบางครั้งอาจจะจำาชื่อยาไม่ได้ จำาได้เพียงเม็ด
ยาหรือแผงยาเท่านั้น จึงทำาให้ทางคลินิกเล็งเห็นความสำาคัญใน
การจัดหาตัวอย่างยาให้ผู้ป่วยใช้ในการระบุยาที่ใช้ในการรักษา
โดยนำายาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มี
อยู่ในโรงพยาบาลทั้งหมดมารวมกันและจัดทำารูปแบบให้ใช้ง่ายและ
สะดวก ชัดเจน โดยประกอบด้วยยาเบาหวาน ยาลดความดัน ยา
ลดไขมันและยาละลายลิ่มเลือด เพือใช้ในการรักษา ผู้ป่วยจะได้
ระบุยาที่รับประทานอยู่โดยให้ดูตัวอย่างยาเป็นหลัก จะได้วางแผน
การรักษาและปรับยาได้ถูกต้อง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อใช้เป็นตัวอย่างให้ผู้ป่วยดูและระบุยาที่รับประทานได้ถูก
ต้อง
2. เพือสะดวกในการรักษาที่ต่อเนื่อง
3. เพื่อใช้เป็นตัวอย่างในกาารักษาของแพทย์ที่ต่อเนื่อง สะดวก
รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำา
กลวิธีในการดำาเนินงาน
1. จัดหาชื่อยาเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ยาไขมัน ยาละลายลิ่ม
เลือดที่ใช้ในโรงพยาบาลปทุมธานีและใช้ในคลินิกเบาหวานทั้งหมด
2. ระบุชื่อยาที่ต้องการส่งให้เภสัชกร จัดตัวอย่างชนิดละ 1-2 เม็ด
ใส่ซอง พร้อมทั้งระบุชื่อยา ขนาดยาที่ถูกต้อง ติดแต่ละซอง
3. จัดหาฟิวเจอร์บอร์ดขนาดที่พอเหมาะ ติดซองยาโดยแยกยาแต่ละ
ประเภท ประกอบด้วย
- ยาเบาหวาน
- ยาความดันโลหิตสูง
- ยาลดไขมันในเลือด
- ยาละลายลิ่มเลือด
4. ประกอบซองยาเป็นแผง ขนาดพอเหมาะ
5. แจกแผงตัวอย่างยา ชื่อ แผงยาตาดี ไปแต่ละห้องตรวจอายุร
กรรมและห้องตรวจเบาหวานเพื่อเป็นคัวอย่างให้ผู้ป่วยดู เพื่อระบุยา
ที่ใช้ได้ถูกต้อง รวดเร็ว แม่นยำา และถูกต้อง เพื่อการรักษาที่ต่อ
เนื่องของแพทย์
ก่อนการพัฒนา
ุุ หลังการพัฒนา
ระยะเวลาที่ใช้ในการประดิษฐ์คิค้น
30 พย.57 - 31 ธ.ค.57
ลักษณะเด่นของผลงานประดิษฐ์คิดค้น
- ต้นทุนตำ่า
- เห็นตัวอย่างชัดเจน
- นำาไปใช้ประโยชน์ได้จริง
คุณสมบัติ
- ใช้ง่าย
- สะดวก
- ประหยัด
- ถูกต้อง แม่นยำา
- ชัดเจน
งบประมาณ
20บาท/ ชิ้นงาน
ประโยขน์ที่ได้รับจากการประดิษฐ์คิดค้น
นำาไปใช้ได้จริงในการทำางาน ต้นทุนตำ่า และเห็นผลชัดเจน เป็น
ประโยชน์ต่อการรักษา
ผลการดำาเนินงาน
หลังการนำาแผงยาตาดีไปใช้ในแต่ละห้องตรวจ ได้ประโยชน์
กับผู้ป่วย แพทย์สะดวกในการใช้งาน ประหยัดเวลาในการสื่อสาร
กับผู้ป่วยเรื่องการใช้ยา ระบุยาที่ใช้ได้ถูกต้อง รวดเร็ว แม่นยำา มี
ผลให้กาารักษาที่ต่อเนื่อง ประหยัดเวลาในการซักถาม

More Related Content

What's hot

Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Narenthorn EMS Center
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
Nursing Room By Rangsima
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
Aphisit Aunbusdumberdor
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
Warning sign
Warning signWarning sign
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
ชนิกานต์ บุญชู
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Atls for nurse
Atls for nurse Atls for nurse
Atls for nurse
Mai Parachy
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Chutchavarn Wongsaree
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
Atls for nurse
Atls for nurse Atls for nurse
Atls for nurse
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 

Viewers also liked

นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
taem
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมsomdetpittayakom school
 
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56Dpc Phitsanulok
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกtaem
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์taem
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
somjit003
 
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไรห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
taem
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)taem
 
อวช อ.สมบัติ บุญขวาง
อวช อ.สมบัติ บุญขวางอวช อ.สมบัติ บุญขวาง
อวช อ.สมบัติ บุญขวาง
Prapiroon Sridamat
 
เรื่องเล่า ชาวบาดาล
เรื่องเล่า ชาวบาดาลเรื่องเล่า ชาวบาดาล
เรื่องเล่า ชาวบาดาล
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
MU
 
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
taem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
taem
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Aphisit Aunbusdumberdor
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)taem
 
45 ผลการเปรียบเทียบการใช้ Water Support กับ Jel Support ที่มีผลต่อการป้องกันก...
45 ผลการเปรียบเทียบการใช้ Water Support กับ Jel Support ที่มีผลต่อการป้องกันก...45 ผลการเปรียบเทียบการใช้ Water Support กับ Jel Support ที่มีผลต่อการป้องกันก...
45 ผลการเปรียบเทียบการใช้ Water Support กับ Jel Support ที่มีผลต่อการป้องกันก...
Pain clinic pnk
 
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉินศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 

Viewers also liked (20)

นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
นวัตกรรมการพยาบาลฉุกเฉิน อ.สุนันทา สิริเวชพันธ์
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรม
 
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
ผลงานนวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยในการทำงานในโรงพยาบาล56
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
 
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไรห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
ห้องฉุกเฉินจะทำอย่างไร
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (ศรีทัย)
 
อวช อ.สมบัติ บุญขวาง
อวช อ.สมบัติ บุญขวางอวช อ.สมบัติ บุญขวาง
อวช อ.สมบัติ บุญขวาง
 
เรื่องเล่า ชาวบาดาล
เรื่องเล่า ชาวบาดาลเรื่องเล่า ชาวบาดาล
เรื่องเล่า ชาวบาดาล
 
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
เส้นทางสู่นวัตกรรม Innovator 30 Sept. 2014
 
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
1ฉุกเฉินไทยก้าวไกล อ.ศิริอร สินธุ
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Att00001
Att00001Att00001
Att00001
 
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)
TAEM11: ฉุกเฉินแออัด (นพ.นเรนทร์)
 
45 ผลการเปรียบเทียบการใช้ Water Support กับ Jel Support ที่มีผลต่อการป้องกันก...
45 ผลการเปรียบเทียบการใช้ Water Support กับ Jel Support ที่มีผลต่อการป้องกันก...45 ผลการเปรียบเทียบการใช้ Water Support กับ Jel Support ที่มีผลต่อการป้องกันก...
45 ผลการเปรียบเทียบการใช้ Water Support กับ Jel Support ที่มีผลต่อการป้องกันก...
 
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉินศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
ศัพท์การแพทย์ฉุกเฉิน
 

Similar to นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58

Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Aimmary
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
tackysuttida
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
Utai Sukviwatsirikul
 
hypertension guidebook
hypertension guidebookhypertension guidebook
hypertension guidebook
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
Pa'rig Prig
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
looknam7
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
Pasa Sukson
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
Utai Sukviwatsirikul
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
Thorsang Chayovan
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58 (20)

Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
hypertension guidebook
hypertension guidebookhypertension guidebook
hypertension guidebook
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Dm 2557
Dm 2557Dm 2557
Dm 2557
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 
4 0
4 04 0
4 0
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 

นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58

  • 1. นวัตกรรมทางการ พยาบาล ชื่อเรื่อง แผงยา ตาดี หน่วยงาน คลีนิกเบาหวานและความดันโลหิตสูง หลักการและเหตุผล ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ และบางรายไม่มีผู้ดูแล ต้องพึ่งพาตนเองเป็นหลัก การรับประทานยา จึงอาจจะหลงลืม หรือบางครั้งอาจจะจำาชื่อยาไม่ได้ จำาได้เพียงเม็ด ยาหรือแผงยาเท่านั้น จึงทำาให้ทางคลินิกเล็งเห็นความสำาคัญใน การจัดหาตัวอย่างยาให้ผู้ป่วยใช้ในการระบุยาที่ใช้ในการรักษา โดยนำายาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มี อยู่ในโรงพยาบาลทั้งหมดมารวมกันและจัดทำารูปแบบให้ใช้ง่ายและ สะดวก ชัดเจน โดยประกอบด้วยยาเบาหวาน ยาลดความดัน ยา ลดไขมันและยาละลายลิ่มเลือด เพือใช้ในการรักษา ผู้ป่วยจะได้ ระบุยาที่รับประทานอยู่โดยให้ดูตัวอย่างยาเป็นหลัก จะได้วางแผน การรักษาและปรับยาได้ถูกต้อง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อใช้เป็นตัวอย่างให้ผู้ป่วยดูและระบุยาที่รับประทานได้ถูก ต้อง 2. เพือสะดวกในการรักษาที่ต่อเนื่อง 3. เพื่อใช้เป็นตัวอย่างในกาารักษาของแพทย์ที่ต่อเนื่อง สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำา กลวิธีในการดำาเนินงาน 1. จัดหาชื่อยาเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ยาไขมัน ยาละลายลิ่ม เลือดที่ใช้ในโรงพยาบาลปทุมธานีและใช้ในคลินิกเบาหวานทั้งหมด 2. ระบุชื่อยาที่ต้องการส่งให้เภสัชกร จัดตัวอย่างชนิดละ 1-2 เม็ด ใส่ซอง พร้อมทั้งระบุชื่อยา ขนาดยาที่ถูกต้อง ติดแต่ละซอง 3. จัดหาฟิวเจอร์บอร์ดขนาดที่พอเหมาะ ติดซองยาโดยแยกยาแต่ละ ประเภท ประกอบด้วย - ยาเบาหวาน - ยาความดันโลหิตสูง - ยาลดไขมันในเลือด - ยาละลายลิ่มเลือด
  • 2. 4. ประกอบซองยาเป็นแผง ขนาดพอเหมาะ 5. แจกแผงตัวอย่างยา ชื่อ แผงยาตาดี ไปแต่ละห้องตรวจอายุร กรรมและห้องตรวจเบาหวานเพื่อเป็นคัวอย่างให้ผู้ป่วยดู เพื่อระบุยา ที่ใช้ได้ถูกต้อง รวดเร็ว แม่นยำา และถูกต้อง เพื่อการรักษาที่ต่อ เนื่องของแพทย์ ก่อนการพัฒนา
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. ระยะเวลาที่ใช้ในการประดิษฐ์คิค้น 30 พย.57 - 31 ธ.ค.57 ลักษณะเด่นของผลงานประดิษฐ์คิดค้น - ต้นทุนตำ่า - เห็นตัวอย่างชัดเจน - นำาไปใช้ประโยชน์ได้จริง คุณสมบัติ - ใช้ง่าย - สะดวก - ประหยัด - ถูกต้อง แม่นยำา - ชัดเจน งบประมาณ 20บาท/ ชิ้นงาน ประโยขน์ที่ได้รับจากการประดิษฐ์คิดค้น นำาไปใช้ได้จริงในการทำางาน ต้นทุนตำ่า และเห็นผลชัดเจน เป็น ประโยชน์ต่อการรักษา ผลการดำาเนินงาน หลังการนำาแผงยาตาดีไปใช้ในแต่ละห้องตรวจ ได้ประโยชน์ กับผู้ป่วย แพทย์สะดวกในการใช้งาน ประหยัดเวลาในการสื่อสาร กับผู้ป่วยเรื่องการใช้ยา ระบุยาที่ใช้ได้ถูกต้อง รวดเร็ว แม่นยำา มี ผลให้กาารักษาที่ต่อเนื่อง ประหยัดเวลาในการซักถาม