SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
อาจารย์ที่ปรึกษา
ความรู้ทั่วไปเรื่องเบาหวาน
O โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง และก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ก่อให้เกิด
ปัญหากับ ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือดแดง ท่านผู้อ่าน
สามารถป้ องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆได้ โดยการปรับ อาหาร การออก
กาลังกาย และยาให้เหมาะสม ท่านผู้อ่านสามารถนาข้อเสนอแนะจาก
บทความนี้ไปปรึกษากับแพทย์ที่รักษาท่านอยู่ ท่านต้องร่วมมือกับ
คณะแพทย์ที่ทาการรักษาเพื่อกาหนดเป้ าหมายการรักษา บทความนี้
เชื่อว่าจะช่วยท่านควบคุมเบาหวานได้ดีขึ้น
โรคเบาหวานคืออะไร ??
O อาหารที่รับประทานเข้าไปส่วนใหญ่จะเปลี่ยนจะเปลี่ยนเป็นน้าตาล
กลูโคสในกระแสเลือดเพื่อใช้เป็นพลังงาน เซลล์ในตับอ่อนชื่อเบต้า
เซลล์เป็นตัวสร้างอินซูลิน อินซูลินเป็นตัวนาน้าตาลกลูโคสเข้าเซลล์เพื่อ
ใช้เป็นพลังงาน โรคเบาหวานเป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับน้าตาลใน
เลือดสูงกว่าปกติ เกิดเนื่องจากการขาดฮอร์โมนอินซูลิน หรือ
ประสิทธิภาพของอินซูลินลดลงเนื่องจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน ทาให้
น้าตาลในเลือดสูงขึ้นอยู่เป็นเวลานานจะเกิดโรคแทรกซ้อนต่ออวัยวะ
ต่างๆ เช่น ตา ไต และระบบประสาท
ฮอร์โมนอินซูลินมีความสาคัญต่อร่างกาย
อย่างไร
O อินซูลินเป็นฮอร์โมนสาคัญตัวหนึ่งของร่างกาย สร้างและหลั่งจากเบต้า
เซลล์ของตับอ่อน ทาหน้าที่เป็นตัวพาน้าตาลกลูโคสเข้าสู่เนื้อเยื่อต่างๆ
ของร่างกาย เพื่อเผาผลาญเป็นพลังงานในการดาเนินชีวิต ถ้าขาด
อินซูลินหรือการออกฤทธิ์ไม่ดี ร่างกายจะใช้น้าตาลไม่ได้ จึงทาให้
น้าตาลในเลือดสูงมีอาการต่างๆของโรคเบาหวาน นอกจากมีความ
ผิดปกติของการเผาผลาญอาหารคาร์โบไฮเดรตแล้ว ยังมีความผิดปกติ
อื่น เช่น มีการสลายของสารไขมันและโปรตีนร่วมด้วย
ใครที่ควรจะต้องเจาเลือดหาโรคเบาหวาน
O ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สองพบมากและมักจะวินิจฉัยไม่ได้ในระยะแรก
การที่มีภาวะน้าตาลสูงเป็นเวลานานๆทาให้เกิดการเสื่อมของอวัยวะ
ต่างๆเช่น ตา หัวใจ ไต เส้นประสาท เส้นเลือด นอกจากนี้ยังพบว่ามีโรค
ความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในโลหิตสูงร่วมด้วย ดังนั้นจึงจาเป็นอย่าง
ยิ่งในการวินิจฉัยให้เร็วที่สุดเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน การตรวจคัดกรอง
เบาหวานในผู้ใหญ่ที่ไม่มีอาการ
ผู้ที่สมควรได้รับการเจาะเลือดตรวจตรวจหา
เบาหวานโดยที่ไม่มีอาการ คือ
1.ผู้ที่อ้วนหรือน้าหนักเกินโดยมีดัชนีมวลกายมากกว่า 25 Kg/m2 (อยาก
ทราบว่าดัชนีมวลกายเท่าไรคลิกที่นี่) และมีอีกหนึ่งปัจจัยเสี่ยงได้แก่
O ประวัติครอบครัวพ่อแม่ พี่ หรือ น้อง เป็นเบาหวานควรจะตรวจเลือดแม้ว่าคุณ
จะไม่มีอาการ
O ผู้ที่ตรวจพบ IFG หรือ IGT หรือมีค่า HA1C 5.7-6.4
O ความดันโลหิตสูงมากกว่า140/90 mmHg
O ระดับไขมัน HDL น้อยกว่า35 มก%และหรือ TG มากกว่า250 มก.%
O ผู้ที่ไม่ค่อยได้ออกกาลังกาย
2.หากไม่มีปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวก็ให้เริ่มตรวจหาโรคเบาหวานเมื่ออายุ 45
ปี
3.หากผลการตรวจเลือดปกติก็ให้ตรวจซ้าทุก 3 ปี ความถี่ของการตรวจ
ขึ้นกับระดับน้าตาลที่เจาะและความเสี่ยง
อาการของโรคเบาหวาน
-คนปกติก่อนรับประทานอาหารเช้าจะมีระดับน้าตาลในเลือด 70-110
มก.% หลังรับประทานอาหารแล้ว 2 ชม.ระดับน้าตาลไม่เกิน 140
มก.% ผู้ที่ระดับน้าตาลสูงไม่มากอาจจะไม่มีอาการอะไร การ
วินิจฉัยโรคเบาหวานจะทาได้โดยการเจาะเลือด อาการที่พบได้บ่อย
-ผู้ป่วยจะหิวน้าบ่อยเนื่องจากต้องทดแทนน้าที่ถูกขับออกทางปัสสาวะ
-อ่อนเพลีย น้าหนักลดเกิดเนื่องจากร่างกายไม่สามารถใช้น้าตาล จึงย่อย
สลายส่วนที่เป็นโปรตีนและไขมันออกมา
คนที่มีโอกาสเป็นโรคเบาหวาน
O สาเหตุของการเกิดโรคเบาหวานยังไม่ทราบแน่นอน แต่องค์ประกอบ
สาคัญที่อาจเป็นต้นเหตุของการเกิดได้แก่ กรรมพันธุ์อ้วนลงพุง โรค
อ้วน ขาดการออกกาลังกาย หากบุคคลใดมีปัจจัยเสี่ยงมากย่อมมี่
โอกาสที่จะเป็นเบาหวานมากขึ้น
การคัดกรองของโรคเบาหวานชนิดที่สองในบุคคล
ทั่วไป
O ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สองพบมากและมักจะวินิจฉัยไม่ได้ในระยะแรก
การที่มีภาวะน้าตาลสูงเป็นเวลานานๆทาให้เกิดการเสื่อมของอวัยวะ
ต่างๆเช่น ตา หัวใจ ไต เส้นประสาท เส้นเลือด นอกจากนี้ยังพบว่ามีโรค
ความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในโลหิตสูงร่วมด้วย ดังนั้นจึงจาเป็นอย่าง
ยิ่งในการวินิจฉัยให้เร็วที่สุดเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน การตรวจคัดกรอง
เบาหวานในผู้ใหญ่ที่ไม่มีอาการ
ผู้ที่ไม่มีอาการของโรคเบาหวานสมควรได้รับการ
เจาะเลือดตรวจตรวจหาเบาหวาน
1.คนที่มีดัชนีมวลกายมากกว่า 25 มและมีปัจจัยเสี่ยงข้อใดข้อหนึ่งการ
คานวนดัชนีมวลกายคลิกที่น
O ไม่ออกกาลังกาย
O ประวัติครอบครัวพ่อแม่ พี่ หรือ น้อง เป็นเบาหวาน
O ชนชาติหรือเชื้อชาติกลุ่มเสี่ยงต่อเบาหวาน
O ความดันโลหิตสูงมากกว่า140/90 mmHg
2.หากไม่มีเกณฑ์ดังกล่าวก็ให้ตรวจเมื่ออายุ 45 ปี
3.หากผลปกติให้ตรวจทุก 3 ปี
จบการนาเสนอค่ะ

More Related Content

Similar to โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพBowy Wannawong
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58Yupin Jitbumrung
 
โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีWan Ngamwongwan
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดVorawut Wongumpornpinit
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
Final project
Final projectFinal project
Final projectlooknam7
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Aimmary
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน 54321_
 

Similar to โรคเบาหวาน (20)

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพ
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
โรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรีโรคจากการสูบบุหรี
โรคจากการสูบบุหรี
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Present
PresentPresent
Present
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
Dm
DmDm
Dm
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 

โรคเบาหวาน