SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
บทที่ 7
ต้นทุนการผลิต
และรายรับจากการผลิต
อ.อรคพัฒร์ บัวลม
2
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และต้นทุนทางบัญชี
(Economics Cost and Accounting Cost)
ต้นทุนทางเศรษฐกิจ (Economics Cost) :
ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้านั้น ไม่ว่าจะมีการจ่าย
ไปจริงหรือไม่ก็ตาม (Explicit Cost + Implicit Cost) รวมต้นทุน
ค่าเสียโอกาสเข้าไว้ด้วย
ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost) :
ต้นทุนในการผลิตสินค้าที่ผู้ผลิตได้มีการจ่ายจริงและได้ลงบันทึก
รายการทางบัญชีไว้(Explicit Cost)
3
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity cost)
ค่าเสียโอกาส คือ ต้นทุนที่ไม่ได้จ่ายเป็นเงินจริง แต่เป็นค่าเสีย
โอกาสที่จะใช้ปัจจัยนั้นไปทาประโยชน์อย่างอื่น
ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้ง(Explicit Cost and Implicit Cost)
– ต้นทุนชัดแจ้ง(Explicit cost) : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่าย
ออกไปเป็นตัวเงินจริงๆ
– ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost) : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการผลิต
จริงๆ แต่ไม่มีการจ่ายออกไปเป็นตัวเงิน เกิดจากการนาปัจจัยการ
ผลิตที่ตนเองเป็นเจ้าของมาใช้ในการผลิต
4
ต้นทุนเอกชน กับ ต้นทุนสังคม (Private Cost and Social Cost)
– ต้นทุนเอกชน หมายถึง ต้นทุนที่หน่วยผลิตต้องรับผิดชอบ
โดยตรง เช่น ค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบี้ย ค่าวัตถุดิบ ฯลฯ ดังนั้น
ต้นทุนเอกชนจะเท่ากับต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
– ต้นทุนสังคม หมายถึง ต้นทุนเอกชนรวมกับผลกระทบ
ภายนอก ซึ่งไม่ได้เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต เป็นผลให้
ต้นทุนสังคมไม่เท่ากับต้นทุนเอกชน ต้นทุนที่ตกแก่บุคคล
อื่นในสังคมเรียกว่า ผลกระทบภายนอก (Externalities)
5
ต้นทุนในการผลิตระยะสั้น ที่ผู้ผลิตไม่สามารถเปลี่ยนแปลง
ต้นทุนหรือปัจจัยการผลิตได้ประกอบด้วยต้นทุน 2 ประเภท คือ
• ต้นทุนคงที่ (fixed cost - FC) คือค่าตอบแทนที่จ่ายให้กับปัจจัย
คงที่ ต้นทุนคงที่นี้ จะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิต
• ต้นทุนแปรผัน (variable cost - VC) คือค่าตอบแทนที่จ่ายให้กับ
ปัจจัย แปรผัน ต้นทุนแปรผันจึง เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการ
ผลิต
*จากต้นทุนทั้ง 2 ประเภท สามารถหาต้นทุนรวม ต้นทุนเพิ่ม และ
ต้นทุนเฉลี่ยได้
1. ต้นทุนการผลิตระยะสั้น
6
1.1 ต้นทุนรวม(Total cost - TC) คือต้นทุนทั้งหมดในการผลิตใน
ระยะสั้น ประกอบด้วยต้นทุนคงที่ทั้งหมด(TFC) และต้นทุนผัน
แปรทั้งหมด(TVC)
1)ต้นทุนคงที่ทั้งหมด(Total Fixed cost : TFC) เช่น ต้นทุนในการ
จัดหาปัจจัยคงที่เพื่อการผลิต เช่น ค่าก่อสร้าง , ค่าที่ดิน , ค่าเครื่องจักร
เป็นต้น
2) ต้นทุนผันแปรทั้งหมด(Total Variable cost : TVC) เช่น ต้นทุน
ในการจัดหาปัจจัยแปรผัน เช่นค่าจ้างแรงงาน , ค่าวัตถุดิบ เป็นต้น
TC = TFC + TVC
7
1.2 ต้นทุนรวมเฉลี่ยต่อหน่วย(Average total cost : ATC) คือ
ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า(ต้นทุนทั้งหมด
ต่อการผลิตสินค้า 1 หน่วย)
ต้นทุนเฉลี่ยจะเท่ากับผลรวมของต้นทุนคงที่เฉลี่ย(AFC)
และต้นทุนแปรผันเฉลี่ย(AVC)
Q
TFC
AFC 
Q
TVC
AVC 
Q
TC
SAC  AVCAFCSAC หรือ
8
1.3 ต้นทุนเพิ่ม(Marginal cost: MC) คือ ต้นทุนหน่วยสุดท้าย
หมายถึง ต้นทุนรวมที่เพิ่มขึ้น เมื่อผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นอีก 1 หน่วย
*(ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นคือต้นทุนผันแปรเท่านั้น เนื่องจากในระยะสั้น
ต้นทุนคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง)
Q
TC
MC



9
1.4 ตารางต้นทุนการผลิตและเส้นต้นทุนการผลิตระยะสั้น
Q TC TFC TVC MC AC=TC/Q
AFC=
TFC/Q
AVC=
TVC/Q
0 550 550 0 - - - -
1 850 550 300 300 850 550 300
2 1100 550 550 250 550 275 275
3 1300 550 750 200 433 183 250
4 1600 550 1050 300 400 138 263
5 2100 550 1550 500 420 110 310
6 2800 550 2250 700 467 92 375
7 3700 550 3150 900 529 79 450
8 4800 550 4250 1100 600 69 531
10
1.5 เส้นต้นทุนการผลิตระยะสั้น
กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง TC , TFC , TVC
TFC
TVC
TCต้นทุน
ผลผลิต
TVC
TFC
140
60
80
4
11
1.5 เส้นต้นทุนการผลิตระยะสั้น (ต่อ)
ผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วย
AVC
ATC
MC
AFC
B
4
15
5
20
8
30
A
C
12
2. ต้นทุนการผลิตระยะยาว
ระยะยาว คือ ระยะเวลาที่ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนปัจจัยการ
ผลิตทุกชนิดได้หมด นั่นคือ สามารถเลือกขนาดของโรงงานได้
ต้นทุนการผลิตระยะยาว (Long Run Total Cost : LTC)
จึงมีเฉพาะต้นทุนแปรผันเท่านั้น
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยระยะยาว (Long Run Average Cost)
คือ ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิตในระยะ
ยาว (LAC = LTC / Q)
13
2.1 เส้นกราฟต้นทุนการผลิตในระยะยาว
LTC
ต้นทุน
ผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วย
ผลผลิต
LAC
LMC
A
14
2.2 เส้นกราฟต้นทุนการผลิตเฉลี่ยในระยะยาว
Q ปริมาณผลผลิต
ต้นทุนต่อหน่วย
10
20
30
40
50
60
70
80
90
LAC
SAC1
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
SAC2
SAC3
การหาเส้นต้นทุนการผลิตระยะยาว(LAC)หาได้
จากการลากเส้นสัมผัสกับต้นทุนเฉลี่ยระยะสั้น
(SAC)ที่ต่าสุดนั่นเอง
15
2.3 ลักษณะเส้นต้นทุนเฉลี่ยในระยะยาว
เส้น LAC มีลักษณะเป็นรูปตัว U คือในตอนแรกเมื่อขยายการ
ผลิตออกไปต้นทุนเฉลี่ยจะลดลงจนต่าสุด และเมื่อขยายการผลิต
ต่อไปต้นทุนเฉลี่ยจะสูงขึ้นอีก เนื่องจากการประหยัด และไม่
ประหยัดต่อขนาด
16
การประหยัดต่อขนาด (economies of scale)
• การประหยัดที่เกิดขึ้นกับหน่วยธุรกิจ เมื่อขยายขนาดการผลิต
เพิ่มการใช้ปัจจัยการผลิตทุกชนิดพร้อมๆกัน เป็นสัดส่วน
เดียวกัน
• การประหยัดภายใน เมื่อขยายขนาดการผลิต มีการแบ่งงานกัน
ทาความชานาญเฉพาะด้านมีมากขึ้น ประสิทธิภาพการผลิตสูง
• การประหยัดภายนอก เมื่ออุตสาหกรรมมีขนาดใหญ่ขึ้น ก็
สามารถประหยัดได้มากขึ้น เช่น ซื้อวัตถุดิบได้ถูกลงเพราะมี
ผู้นามาขายที่โรงงานไม่เสียค่าใช้จ่ายเพื่อเดินทางไปซื้อที่ไกลๆ
17
3. รายรับจากการผลิต(Revenue)
รายรับจากการผลิต คือรายได้ที่ผู้ผลิตได้รับจากการขาย
ผลผลิตของตนตามราคาที่กาหนด
กาไร = รายรับทั้งหมด – ต้นทุนการผลิต
18
3.1 รายรับรวม (Total Revenue : TR)
รายรับรวม (TR) คือ รายรับที่ได้จากการขายผลผลิต
TR = P x Q
• TR คือ รายรับรวมทั้งหมด
• P คือ ราคาผลผลิต
• Q คือ ผลผลิต
19
3.2 รายรับเฉลี่ย (Average Revenue : AR)
รายรับเฉลี่ย (AR) คือ รายรับเฉลี่ยต่อหน่วยที่ได้จากการขาย
• AR คือ รายรับเฉลี่ย
• TR คือ รายรับรวมทั้งหมด
• Q คือ ผลผลิต
Q
TR
AR 
20
3.3 รูปแสดงเส้นอุปสงค์(D)และเส้นรายรับเฉลี่ย(AR)
ราคา (P)
ปริมาณ (Q)0
1 2 3 4 5 6 7
2
4
6
8
10
12
14
D = AR
21
3.4 รายรับเพิ่ม (Marginal Revenue : MR)
รายรับเพิ่ม หรือ รายรับหน่วยสุดท้าย (MR) รายรับที่ได้รับ
เพิ่มขึ้นเมื่อขายผลผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย
• MR คือ รายรับเพิ่ม
• TR คือ ส่วนเปลี่ยนแปลงรายได้ทั้งหมด
• Q คือ ส่วนเปลี่ยนแปลงผลผลิต
Q
TR
MR



22
ตาราง แสดงความสัมพันธ์ TR,AR,MR
ราคา(P) ปริมาณ(Q) TR=P*Q AR=TR/Q MR=TR/Q
15 0 0 - -
12 1 12 12 12
10 2 20 10 8
8 3 24 8 4
6 4 24 6 0
4 5 20 4 -4
2 6 12 2 -8
0 7 0 0 -12
23
รูปแสดงความสัมพันธ์ TR,AR,MR
ราคา (P)
ปริมาณ (Q)0
1 2 3 4 5 6 7
5
10
12
15
20
24
AR, D
TR
MR
24
ความสัมพันธ์ TR,AR,MR และราคา (P) เมื่อราคาคงที่
ราคา(P) ปริมาณ(Q) TR=P*Q AR=TR/Q MR=TR/Q
20 1 20 20 20
20 2 40 20 20
20 3 60 20 20
20 4 80 20 20
20 5 100 20 20
20 6 120 20 20
20 7 140 20 20
20 8 160 20 20
25
รูปแสดงความสัมพันธ์ TR,AR,MR และ P
20
40
60
80
100
0
1 2 3 4 5 6 7
AR=MR=P
TR
ปริมาณ (Q)
รายรับ (TR)
26
3.5 เงื่อนไขการได้กาไรสูงสุด
กาไร คือ ผลต่างระหว่างรายรับรวม (Total Revenue : TR)
กับต้นทุนการผลิต(Total Cost : TC)
 = TR – TC
กาไร และกาไรสูงสุด คือเป้าหมายสาคัญของผู้ประกอบการ
จุดที่จะได้กาไรสูงสุดก็เมื่อ TR และ TC มีค่าต่างกันมากที่สุด
27
ตาราง แสดงอุปสงค์เพื่อหารายรับทั้งหมด
P Q TC TR AR MR
20 0 10 0 0 - -
18 1 15 18 3 18 18
16 2 20 32 12 16 14
14 3 25 42 17 14 10
12 4 30 48 18 12 6
10 5 35 50 15 10 2
8 6 40 48 8 8 -2
6 7 45 42 -3 6 -6
4 8 50 32 -18 4 -10

28
รูปแสดงผลต่างของเส้น TR กับ TC
10
20
30
40
50
0
1 2 3 4 5 6 7
TC
TR
ปริมาณ (Q)
TR/TC
กาไร
29
END

More Related Content

What's hot

Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคtumetr1
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์ssuser214242
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs productionsavinee
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 

What's hot (20)

Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-604+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
04+heap4+dltv54+ใบความรู้ ใบงาน สุขศึกษา ระดับประถม 4-6
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
64 กำหนดราคาเชิงกลยุทธ์
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs production
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 

Similar to บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต

Similar to บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต (8)

Econ presentation 4
Econ presentation 4Econ presentation 4
Econ presentation 4
 
การผลิตและต้นทุนการผลิต
การผลิตและต้นทุนการผลิตการผลิตและต้นทุนการผลิต
การผลิตและต้นทุนการผลิต
 
03 cvp
03 cvp03 cvp
03 cvp
 
Econ Presentation 5
Econ Presentation 5Econ Presentation 5
Econ Presentation 5
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
บท10 depreciation
บท10 depreciationบท10 depreciation
บท10 depreciation
 
บท10 depreciation
บท10 depreciationบท10 depreciation
บท10 depreciation
 
6.present worth
6.present worth6.present worth
6.present worth
 

More from Ornkapat Bualom

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

More from Ornkapat Bualom (8)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต