SlideShare a Scribd company logo
การวัดและการแปลความหมายข้ อมูล
2.1 ความยาว มวล และเวลามาตรฐาน
            เนื่องจากชีวตประจาวันของเราจะเกี่ยวข้องกับการวัดมาตลอด เช่น ความยาว มวล เวลา เป็ นต้น
                        ิ
ดังนั้นวิธีการวัด และเครื่ องมือที่ใช้วดจะต้องมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อประโยชน์ต่อการสื่ อสารระหว่างกัน
                                       ั
            ก.ความยาวมาตรฐาน มีหน่วยเป็ น เมตร มาตรฐานของความยาวหนึ่งเมตร ซึ่ งกาหนดเมื่อเดือน
ตุลาคม พ. ศ. 2526 กาหนดไว้วา       ่
                                                                            1
          1 เมตร คือระยะทางที่แสงเดินทางในสุญญากาศในช่ วงเวลา                       วินาที
                                                                      299 ,792 ,458


                                 ตาราง 2.1 ขนาดความยาวบางค่าที่น่าสนใจ
                                        ความยาว                             เมตร
               ระยะทางจากโลกถึง quasar ที่เห็นได้                         1.4 x 1026
               ระยะทางจากโลกถึง Andromeda galaxy                           2 x 1022
               ระยะทาง 1 ปี แสง                                          9.46 x 1015
               รัศมีวงโคจรของดาวพลูโต                                       6 x 1012
               รัศมีวงโคจรของโลก                                          1.5x 1011
               รัศมีของดวงอาทิตย์                                            7x 108
               รัศมีของโลก                                                   6x 106
               ความสู งของภูเขา Everest                                     9 x 103
               ความยาวของสนามฟุตบอล                                        9.1 x 101
               อนุภาคฝุ่ นที่เล็กที่สุด                                     1 x10-4
               ขนาดของเซลล์ของสิ่ งมีชีวตส่ วนใหญ่
                                           ิ                                1 x 10-5
               ขนาดของไวรัสบางชนิด                                          1 x 10-6
               รัศมีของอะตอมไฮโดรเจน                                       5 x 10-11
               รัศมีของโปรตอน                                              1 x 10-15



            ข.มวลมาตรฐาน กาหนดว่า
    กิโลกรั มคือ หน่ วยของมวลซึ่ งเท่ ากับมวลของ platinum-iridium อัลลอย รู ปทรงกระบอก
    ซึ่ งเก็บไว้ ที่ International Bureau of Weights and Measures ประเทศฝรั่ งเศส
รู ป 2.1 มวลมาตรฐานขนาด 1 กิโลกรัมบรรจุในคนโทแก้วรู ประฆัง 2 ใบซ้อนกัน
                           ตาราง 2.2 ขนาดของมวลบางค่าที่น่าสนใจ
                            วัตถุ                 มวล (กิโลกรัม)
                        ดวงอาทิตย์                      2 x 1030
                            โลก                         6 x 1024
                        ดวงจันทร์                       7 x 1022
                             ช้าง                       4 x 103
                             คน                         6 x 101
                             กบ                         1 x10-1
                             ฝุ่ น                      7 x10-10
                           ไวรัส                       1 x 10-15
                         โปรตอน                        2 x 10-27
                        อิเล็กตรอน                     9 x 10-31

        ค. เวลามาตรฐาน มีหน่วยเป็ น วินาที มาตรฐานของเวลา 1 วินาที กาหนดว่า
        1 วินาที คือ เวลาที่มีค่าเท่ ากับ 9,192,631,770 เท่ า ของคาบการแผ่ รังสี ของอะตอมซี เซี ยม-133




                                                           ่
รู ป 2.2 เครื่ องมือมาตรฐานสาหรับกาหนดเวลา 1 วินาที ตั้งอยูที่ National Institute of Standards and
                                 Technology ประเทศสหรัฐอเมริ กา
ตาราง 2.3 ช่วงเวลาบางค่าที่น่าสนใจ
                                     ช่วงเวลา                             วินาที
                   ช่วงชีวตของโปรตอน
                          ิ                                      1040
                   อายุของจักรวาล                               5 x 1017
                   อายุของโลก                                   1.3 x 1017
                   อายุของพีระมิด Cheops                        1 x 1011
                   ช่วงเวลา 1 ปี                                3 x 107
                   ช่วงเวลา 1 วัน                               9 x 104
                   คาบของดาวเทียมดวงหนึ่ง                       5 x 103
                   ช่วงเวลาการเต้นของหัวใจปกติ                  8 x 10-1
                   คาบการสั่นของซ้อมเสี ยงที่เปล่งเสี ยง A      2 x 10-3
                   คาบของคลื่นไมโครเวฟ                          1 x 10-10
                   คาบการหมุนของโมเลกุลบางชนิด                  1 x 10-12
                   ช่วงเวลาที่แสงใช้ในการเดินทางผ่านโปรตอน 3 x 10-24


2.2 เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์
         การศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งที่สาคัญยิงอย่างหนึ่งคือ การวัดปริ มาณต่างๆซึ่ งเป็ นที่มาของ
                                                    ่
แหล่งข้อมูลใหม่ๆการวัดปริ มาณต่างๆสิ่ งที่ติองระวังเป็ นพิเศษคือ
                เครื่ องมือวัด    ต้ องได้ มาตรฐานและต้ องเหมาะสมกับปริ มาณที่ จะวัด
                วิธีการวัด       ต้ องเป็ นวิธีที่สะดวกปลอดภัยและได้ ค่าที่ละเอียดถูกต้ อง
           ก. การแสดงผลของการวัด เครื่ องมือวัดที่ใช้งานทางด้านวิทยาศาสตร์จะแสดงผลการวัด 2
แบบ คือแบบขีดสเกลและแบบตัวเลข เช่นรู ป 2.3 และรู ป 2.4 ตามลาดับ




                 รู ป 2.3 ไมโครมิเตอร์ใช้วดความหนาของวัตถุแสดงผลเป็ นแบบขีดสเกล
                                          ั
                                   สามารถวัดได้ละเอียดถึง 0.01 ม.ม.
รู ป 2.4 นาฬิกาบอกเวลาแสดงผลแบบตัวเลข
         ข.การอ่านผลจากเครื่องมือวัด เนื่องจากเครื่ องมือวัดทางด้านวิทยาศาสตร์ แสดงผลการวัดแบบ
ขีดสเกล และแบบตัวเลข ดังนั้น การอ่านผลจากเครื่ องมือวัดที่แสดงผลการวัดแบบต่างๆจะมีขอพิจารณา
                                                                                        ้
ดังนี้
         เครื่องมือวัดแบบแสดงผลด้ วยขีดสเกล ค่าที่อ่านได้จากเครื่ องมือนี้ เช่น ความยาวของไม้ที่วด
                                                                                                 ั
ด้วยไม้บรรทัดความหนาแน่นของแผ่นกระดาษที่วดด้วยไม้โมมิเตอร์ เป็ นต้น จะประกอบด้วย
                                                     ั
               ค่ าอ่ านที่ได้ โดยตรง + ค่ าที่ต้องประมาณด้ วยสายตา




                                             รู ป 2.5
           จากรู ป 2.5 ใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวของกิ่งไม้ A และ B ค่าที่อ่านได้จะเป็ นดังนี้

              ค่าที่อ่านได้โดยตรง      ค่าที่ประมาณด้วยสายตา          ความยาวที่อ่านได้
                  (เซนติเมตร)                 (เซนติเมตร)               (เซนติเมตร)
          กิ่งไม้ A                               0                        9.00
          กิ่งไม้ B                              0.03                      7.73
่
            เครื่องมือวัดแบบแสดงผลด้ วยตัวเลข ค่าที่อานได้จากเครื่ องมือชนิ ดนี้เช่น ค่าความต่าง
ศักย์ไฟฟ้ าที่วดด้วยเครื่ องมัลติมิเตอร์ เป็ นต้น จะประกอบด้วยค่าความคลาดเคลื่อนไว้ไห้ในคู่มือการใช้
                ั
             ค. การเลือกใช้ เครื่องมือวัด ในการเลือกใช้เครื่ องมือวัด มีหลักในการพิจารณา คือ ต้องเลือก
เครื่ องมือวัดให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน เช่น การวัดความยาวของกิ่งไม้ตามที่แสดงในรู ป 2.5 เราใช้ไม้
บรรทัดที่สามารถวัดได้ละเอียดถึง 0.1 มิลลิเมตร ก็เพียงพอ โดยไม่จาเป็ นต้องใช้ไมโครมิเตอร์ ซ่ ึ งมีความ
ละเอียดในการวัดถึง 0.01 มิลลิเมตร เป็ นต้น
             ง.สิ่ งทีมีผลกระทบต่ อความถูกต้ องของการวัด การวัดปริ มาณทางวิทยาศาสตร์ สิ่ งที่จะมี
                      ่
ผลกระทบต่อความถูกต้องของการวัด ได้แก่

           เครื่ องมือวัด วิธีการวัด ผู้ทาการวัด สภาพแวดล้ อมขณะทาการวัด

              สิ่ งที่มีผลกระทบต่อความถูกต้องของการวัดปริ มาณต่างๆ ในทางวิทยาศาสตร์ ดงกล่าวแล้วนั้น มี
                                                                                             ั
ข้อพึงระมัดระวังเพื่อไม่ให้สิ่งเหล่านั้นมีผลมากนัก ดังตาราง 2.4
                         ตาราง 2.4 สรุ ปสิ่ งที่มีผลกระทบต่อความถูกต้องของการวัดและข้อระวัง
   สิ่ งที่มีผลต่อการวัด                                  ข้อควรระวังและควรปฏิบติ ั
  เครื่ องมือวัด                1. เครื่ องมือวัดที่ได้มาตรฐานจะต้องผ่านการเทียบมาตรฐานความเที่ยงตรง
                                    มาแล้ว
                                2. ต้องดูแลเครื่ องมืออย่างดีตามความเหมาะสม
 วิธีการวัด                     1. ในการวัดปริ มาณใดๆ ต้องคานึงถึงวิธีที่ใช้วด โดยจะต้องเป็ นวิธีวดที่
                                                                                ั                    ั
                                    เหมาะสมกับการวัดปริ มาณนั้น
                                2. วิธีการวัดที่ใช้ตองไม้ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงปริ มาณของสิ่ งที่ ต้อง
                                                       ้
                                    การวัด
 ผูทาการวัด
   ้                            1. ผูทาการวัดต้องมีความรู ้และเข้าใจเครื่ องวัดและวิธีการวัดเป็ นอย่างดี
                                         ้
                                2. ผูทาการวัดต้องมีความรอบคอบ
                                       ้
                                3. ผูทาการวัดต้องมีสภาพร่ างกายที่พร้อม
                                           ้
 สภาพแวดล้อมขณะทา 1. ต้องกาหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมขณะทาการวัด
 การวัด                         2. การวัดทุกครั้งจะต้องมีสภาพแวดล้อมที่เหมือนกัน

ตัวอย่าง 1 ในการวัดมวลของสารเคมีเพื่อเตรี ยมการทดลองทางด้านเคมีดวยเครื่ องชัง ดังรู ป (equal-
                                                                      ้        ่
arm balance) การวัดนี้กระทาในห้องซึ่ งเปิ ดหน้าต่างให้ลมพัดโกรกเข้ามาได้ ค่ามวลที่อ่านได้จะมี
ความผิดพลาดอย่างไร
วิธีทา มวลของสารเคมีที่อ่านได้ดวยวิธีการวัดนี้จะมีความผิดพลาดเนื่ องจากอิทธิ พลของลม ซึ่ งจะเข้าไป
                                 ้
กระทบเครื่ องชังซึ่ งอาศัยหลักการสมดุล โดยจะทาให้จานตาชังแกว่งขึ้นลงแนวดิ่งทาให้การอ่านค่ามวล
               ่                                          ่
ทาได้ลาบาก ควรจะทาการวัดในห้องปิ ดหรื อนาเครื่ องชังใส่ ไว้ในตูแล้วชังสารเคมีในตู ้
                                                     ่         ้     ่

ตัวอย่าง 2 การวัดระยะระหว่างต้นไม้สองต้น ดังรู ป กระทาโดยใช้สายวัดยาว 10 เมตร สายวัดทาด้วย
พลาสติกอ่อน อ่านค่าระยะระหว่างต้นไม้สองต้นได้ 9.25 เมตรระยะที่วดได้น้ ี จะมีความผิดพลาดจากกรณี
                                                               ั
ไดบ้าง




วิธีทา การวัดระยะระหว่างต้นไม้ตามวิธีการวัดนี้จะมีความผิดพลาดจาก
         1. เครื่ องมือวัด เพราะสายวัดทาด้วยพลาสติกอ่อนซึ่ งยืดได้ ดังนั้นค่าที่อ่านได้จะเกิดความผิดพลาด
จากการยืดตัวของสายวัด
         2. วิธีการ เพราะวิธีการวัดเราต้องยึดสานวัดไว้ที่จุด A แล้วพยายามขึงสายวัดให้ตึงไม่ให้อ่อน
ซึ่งเป็ นวิธีที่จะทาให้สายวัดยืดตัว
         3. สภาพแวดล้อม เพราะในที่โล่งถ้ามีลมพัดแรงจะทาให้สายวัดสะบัด เราจึงจาเป็ นต้องขึงสาย
วัดให้ตึงเพื่อลดการสะบัดซึงเป็ นสาเหตุให้สายวัดยืด
2.3 การแปลความหมายข้ อมูล
           การแปลความหมายข้อมูลมีข้ นตอนต่างๆที่เกี่ยวข้องต่อไปนี้
                                     ั
           ก. การบันทึกข้ อมูลลงในตาราง จะช่วยให้อ่านได้สะดวกและชัดเจน และมีความรวดเร็ วในการ
บันทึกซึ่ งจะนาไปสู่ การแปลความหมายข้อมูลที่มีประสิ ทธิ ภาพ การบันทึกขอมูลควรจัดลาดับรายละเอียด
ให้เหมาะสม เช่น ควรจดบันทึก

          หัวข้ อการทดลองวัน เวลา และสถานที่ทาการทดลองสภาพแวดล้ อมขณะทาการทดลอง
จุดประสงค์ รายการ วัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ วิธีทาการทดลองภาพแสดงการจัดอุปกรณ์ ขณะทดลอง
ตารางการบันทึกข้ อมูลกราฟ สร้ างขึนจากข้ อมูลที่วดได้ เพื่ อแสดงความสาพันธ์ ระหว่ างปริ มาณต่ างๆ
                                      ้            ั
การคานวณจากตารางข้ อมูลหรื อกราฟ การสรุ ปและอภิปรายผล

         การบันทึกข้อมูลลงในตาราง เป็ นขั้นตอนหนึ่งของการแปลความหมายข้อมูลซึ่ งมีความจาเป็ นมาก
เช่น การนับจานวนนักเรี ยนที่เดินผ่านประตูของโรงเรี ยนแห่งหนึ่งเข้าไปในโรงเรี ยน ตั้งแต่ 6: 00 นาฬิกา
ถึง 9:00 นาฬิกา บันทึกข้อมูลลงในตารางได้ดงนี้
                                            ั

                                             ตาราง 2.5
                                                    จานวนนักเรี ยน
                   เวลา (นาฬิกา)                หญิง                 ชาย
                    6:00   -   6:30               5                   1
                    6:30   -   7:00              10                   5
                    7:00   -   7:30              80                  20
                    7:30   -   8:00              80                  80
                    8:00   -   8:30              30                  60
                    8:30   -   9:00              10                  40

          จากข้อมูลซึ่ งบันทึกลงในตารางในช่วงเวลาต่างๆจะทาให้เห็นชัดเจนขึ้นว่า มีจานวนนักเรี ยนแยก
เป็ นหญิงและชายเดินผ่านประตูโรงเรี ยนเข้าไปจานวนกี่คนในช่วงเวลาต่างๆ

           ข. การนาเสนอข้ อมูล หมายถึง การนาข้อมูลที่บนทึกลงในตารางเขียนเป็ นแผนภูมิทางสถิติ เพื่อ
                                                       ั
การนาเสนอที่จะทาให้เกิดการมองข้อมูลที่สะดวกขึ้นอีก เช่น เขียนเป็ นแผนภูมิเส้นตรง ดังรู ป 2.6 แผนภูมิ
แท่งดังรู ป 2.7 หรื อแผนภูมิวงกลมดังรู ป 2.8 เป็ นต้น
รู ป 2.6 แผนภูมิเส้นตรง




   รู ป 2.7 แผนภูมิแท่ง
รู ป 2.8 แผนภูมิวงกลม
                                                       ั
         ค. การเขียนกราฟระบบพิกัดฉาก กราฟระบบพิกดฉากใช้เพื่อแสดงความสาพันธ์ระหว่างปริ มาณ
สองปริ มาณหรื อตัวแปรสองตัวที่คาดว่าจะเกี่ยวข้องกัน โดยใช้แกน X เป็ นแกนราบและแกน Y เป็ นแกนดิ่ง
แกน X เป็ นค่าของตัวแปรอิสระส่ วนแกน Y เป็ นค่าของตัว แปรตาม




                        รู ป 2.9 แสดงความสาพันธ์ระหว่างอุณหภูมิของก๊าซ
                                                                  ั
                       กับปริ มาตรของก๊าซ ด้วยการเขียนกราฟระบบพิกดฉาก
จากรู ป 2.9 ก๊าวซึ่ งบรรจุในกระบอกสู บโดยมีลูกสู บเคลื่อนไปตามแนวลูกศรได้เมื่อก๊าซร้อนขึ้น ถ้า
เราจะดูความสาพันธ์ระหว่างอุณหภูมิของก๊าซในกระบอกสู บกับปริ มาตรของก๊าซในกระบอกสู บ ทาได้โดย
ให้
               อุณหภูมิเป็ นตัวแปรอิสระ เพราะเราสามารถกาหนดร่ วงหน้าได้ ดังตาราง 2.6
               ปริมาตรก๊าซเป็ นตัวแปรตาม ซึ่ งจะมีค่าแปรตามอุณหภูมิ ดังตาราง 2.6
                             อุณหภูมิ               ปริ มาตร            คู่ลาดับ
                        (ตัวแปรอิสระ)            (ตัวแปรตาม)
                                T1                      V1              (T1V1)
                                T2                      V2              (T2V2)
                                T3                      V3              (T3V3)
                                T4                       V4             (T4V4)
                                T5                       V5             (T5V5)

         เมื่อนาคู่ลาดับตามที่ปรากฎในตารางไปเขียนกราฟในระบบพิกดฉากดังกล่าว สมมุติวาได้ดงรู ป
                                                                 ั                ่ ั
                                                                      ั
2.9 จากลักาณะจุดที่ปรากฎทาให้เห็นแนวโน้มความสาพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกบปริ มาตรของก๊าซปรากฏ
                            ่        ั                             ั
ออกมาเป็ นเส้นตรง สรุ ปได้วาอุณหภูมิกบปริ มาตรของก๊าซมีความสาพันธ์กนแบบเชิงเส้น

        ง. การวิเคราะห์ และแปรความหมายกราฟเส้ นตรง กาหนดให้ X เป็ นตัวแปรอิสระ Y เป็ น
ตัวแปรตาม ในวิชาคณิ ตศาสตร์ สมการเส้นตรงจะเขียนได้ดงนี้
                                                   ั
                              y = mx + c
                                                                      ่
        เมื่อ m เป็ นความชันของกราฟ และ c เป็ นจุดตัดบนแกน y สมมุติวา y = 4x + 2
โดยกาหนดให้ตวแปรอิสระ x = 0, 2, 4, 6, 8 , 10 ตามลาดับ เราจะได้ y = 2, 10, 18, 26, 34,
              ั
42 ตามลาดับ นาคู่ลาดับ ( X,Y) ไปเขียนกราฟ จะได้ดงรู ป 2.10
                                                 ั

                        x               y = 4x + 2             (x,y)
                        0                    2                 (0,2)
                        2                   10                (2,10)
                        4                   18                (4,18)
                        6                   26                (6,26)
                        8                   34                (8,34)
                        10                  42               (10,42)
รู ป 2.10
                                ่
        จาก y = 4x + 2 จะได้วา แฟกเตอร์ ของตัวแปรอิสระเป็ นความชันของเส้นกราฟ ซึ่ งทาให้ได้
ความชันของเส้นกราฟเท่ากับ 4 และจากเส้นกราฟในรู ป 2.10 เราสามารถหาค่าความชันได้จาก

                                 tan = 26  10  4
                                       62


2.4 หน่ วยเอสไอ
           หน่วยเอสไอ ( SI = Systeme International d ' Unites ) เป็ นระบบหน่วยระหว่างชาติใช้วด
                                                                                             ั
ปริ มาณทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเริ่ มใช้เมื่อ พ.ศ. 2503 ระบบหน่วยระหว่างชาติประกอบด้วย
หน่วยฐานและหน่วยอนุพนธ์ ั
           ก. หน่ วยฐาน เป็ นหน่วยหลักของหน่วยเอสไอ มี 7 หน่วย ดังตาราง 2.7
                                     ตาราง 2.7
             ปริ มาณ                             หน่วย                สัญลักษณ์
      ความยาว                                     เมตร                     M
      มวล                                       กิโลกรัม                   Kg
      เวลา                                        วินาที                    S
      กระแสไฟฟ้ า                               แอมแปร์                     A
      อุณหภูมิอุณหพลวัติ                         เคลวิน                     K
      ปริ มาณสาร                                   โมล                    Mol
      ความเข้มข้นของการส่ องสว่าง               แคนเดลา                    Cd
ข. หน่ วยอนุพนธ์ เป็ นหน่วยที่เกิดจากหน่วยฐานหลายหน่วยรวมกัน เช่น แรง ความดัน งาน
                         ั
 พลังงานกาลัง เป็ นต้น ดูภาคผนวก

          ค. คาอุปสรรค ในกรณี ที่หน่วยฐานหรื อหน่วยอนุพนธ์มีค่ามากหรื อน้อยเกินไป เราจะใช้คา
                                                         ั
อุปสรรค (prefixes) เขียนวางไว้หน้าหน่วยนั้น โดยมีหลักว่า

               ใช้คาอุปสรรคครั้งเดียวโดยไม่ตองเขียนซ้อนกัน
                                             ้
               เมื่อใช้คาอุปสรรควางหน้าหน่วยใดแล้วเวลายกกาลังไม่ตองใส่
                                                                  ้
              วงเล็บ



  ***********************************************************************************

More Related Content

Similar to 2การวัด

บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01witthawat silad
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01witthawat silad
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ทับทิม เจริญตา
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัดkroojaja
 
Ass6
Ass6Ass6
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01witthawat silad
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
Watcharinz
 
กิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัดกิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัด
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นkanokpan krueaprasertkun
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752
CUPress
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48Unity' Aing
 

Similar to 2การวัด (20)

บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
 
การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 
Ass6
Ass6Ass6
Ass6
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
0 pat2 53-1
0 pat2 53-10 pat2 53-1
0 pat2 53-1
 
กิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัดกิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัด
 
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752
 
Pat 3
Pat 3Pat 3
Pat 3
 
Plan 2
Plan 2Plan 2
Plan 2
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48
 

More from ชิตชัย โพธิ์ประภา

ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจ
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
วานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญาวานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญา
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
สมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษสมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษ
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ

More from ชิตชัย โพธิ์ประภา (20)

ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
 
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
 
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
 
ทหารหาญ
ทหารหาญทหารหาญ
ทหารหาญ
 
ยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจ
 
วานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญาวานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญา
 
สมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษสมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษ
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้ง
 
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
 
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
 
1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
 
ตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงานตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงาน
 
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงานรายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
 
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ
ปอซอ
 

2การวัด

  • 1. การวัดและการแปลความหมายข้ อมูล 2.1 ความยาว มวล และเวลามาตรฐาน เนื่องจากชีวตประจาวันของเราจะเกี่ยวข้องกับการวัดมาตลอด เช่น ความยาว มวล เวลา เป็ นต้น ิ ดังนั้นวิธีการวัด และเครื่ องมือที่ใช้วดจะต้องมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อประโยชน์ต่อการสื่ อสารระหว่างกัน ั ก.ความยาวมาตรฐาน มีหน่วยเป็ น เมตร มาตรฐานของความยาวหนึ่งเมตร ซึ่ งกาหนดเมื่อเดือน ตุลาคม พ. ศ. 2526 กาหนดไว้วา ่ 1 1 เมตร คือระยะทางที่แสงเดินทางในสุญญากาศในช่ วงเวลา วินาที 299 ,792 ,458 ตาราง 2.1 ขนาดความยาวบางค่าที่น่าสนใจ ความยาว เมตร ระยะทางจากโลกถึง quasar ที่เห็นได้ 1.4 x 1026 ระยะทางจากโลกถึง Andromeda galaxy 2 x 1022 ระยะทาง 1 ปี แสง 9.46 x 1015 รัศมีวงโคจรของดาวพลูโต 6 x 1012 รัศมีวงโคจรของโลก 1.5x 1011 รัศมีของดวงอาทิตย์ 7x 108 รัศมีของโลก 6x 106 ความสู งของภูเขา Everest 9 x 103 ความยาวของสนามฟุตบอล 9.1 x 101 อนุภาคฝุ่ นที่เล็กที่สุด 1 x10-4 ขนาดของเซลล์ของสิ่ งมีชีวตส่ วนใหญ่ ิ 1 x 10-5 ขนาดของไวรัสบางชนิด 1 x 10-6 รัศมีของอะตอมไฮโดรเจน 5 x 10-11 รัศมีของโปรตอน 1 x 10-15 ข.มวลมาตรฐาน กาหนดว่า กิโลกรั มคือ หน่ วยของมวลซึ่ งเท่ ากับมวลของ platinum-iridium อัลลอย รู ปทรงกระบอก ซึ่ งเก็บไว้ ที่ International Bureau of Weights and Measures ประเทศฝรั่ งเศส
  • 2. รู ป 2.1 มวลมาตรฐานขนาด 1 กิโลกรัมบรรจุในคนโทแก้วรู ประฆัง 2 ใบซ้อนกัน ตาราง 2.2 ขนาดของมวลบางค่าที่น่าสนใจ วัตถุ มวล (กิโลกรัม) ดวงอาทิตย์ 2 x 1030 โลก 6 x 1024 ดวงจันทร์ 7 x 1022 ช้าง 4 x 103 คน 6 x 101 กบ 1 x10-1 ฝุ่ น 7 x10-10 ไวรัส 1 x 10-15 โปรตอน 2 x 10-27 อิเล็กตรอน 9 x 10-31 ค. เวลามาตรฐาน มีหน่วยเป็ น วินาที มาตรฐานของเวลา 1 วินาที กาหนดว่า 1 วินาที คือ เวลาที่มีค่าเท่ ากับ 9,192,631,770 เท่ า ของคาบการแผ่ รังสี ของอะตอมซี เซี ยม-133 ่ รู ป 2.2 เครื่ องมือมาตรฐานสาหรับกาหนดเวลา 1 วินาที ตั้งอยูที่ National Institute of Standards and Technology ประเทศสหรัฐอเมริ กา
  • 3. ตาราง 2.3 ช่วงเวลาบางค่าที่น่าสนใจ ช่วงเวลา วินาที ช่วงชีวตของโปรตอน ิ  1040 อายุของจักรวาล 5 x 1017 อายุของโลก 1.3 x 1017 อายุของพีระมิด Cheops 1 x 1011 ช่วงเวลา 1 ปี 3 x 107 ช่วงเวลา 1 วัน 9 x 104 คาบของดาวเทียมดวงหนึ่ง 5 x 103 ช่วงเวลาการเต้นของหัวใจปกติ 8 x 10-1 คาบการสั่นของซ้อมเสี ยงที่เปล่งเสี ยง A 2 x 10-3 คาบของคลื่นไมโครเวฟ 1 x 10-10 คาบการหมุนของโมเลกุลบางชนิด 1 x 10-12 ช่วงเวลาที่แสงใช้ในการเดินทางผ่านโปรตอน 3 x 10-24 2.2 เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งที่สาคัญยิงอย่างหนึ่งคือ การวัดปริ มาณต่างๆซึ่ งเป็ นที่มาของ ่ แหล่งข้อมูลใหม่ๆการวัดปริ มาณต่างๆสิ่ งที่ติองระวังเป็ นพิเศษคือ เครื่ องมือวัด ต้ องได้ มาตรฐานและต้ องเหมาะสมกับปริ มาณที่ จะวัด วิธีการวัด ต้ องเป็ นวิธีที่สะดวกปลอดภัยและได้ ค่าที่ละเอียดถูกต้ อง ก. การแสดงผลของการวัด เครื่ องมือวัดที่ใช้งานทางด้านวิทยาศาสตร์จะแสดงผลการวัด 2 แบบ คือแบบขีดสเกลและแบบตัวเลข เช่นรู ป 2.3 และรู ป 2.4 ตามลาดับ รู ป 2.3 ไมโครมิเตอร์ใช้วดความหนาของวัตถุแสดงผลเป็ นแบบขีดสเกล ั สามารถวัดได้ละเอียดถึง 0.01 ม.ม.
  • 4. รู ป 2.4 นาฬิกาบอกเวลาแสดงผลแบบตัวเลข ข.การอ่านผลจากเครื่องมือวัด เนื่องจากเครื่ องมือวัดทางด้านวิทยาศาสตร์ แสดงผลการวัดแบบ ขีดสเกล และแบบตัวเลข ดังนั้น การอ่านผลจากเครื่ องมือวัดที่แสดงผลการวัดแบบต่างๆจะมีขอพิจารณา ้ ดังนี้ เครื่องมือวัดแบบแสดงผลด้ วยขีดสเกล ค่าที่อ่านได้จากเครื่ องมือนี้ เช่น ความยาวของไม้ที่วด ั ด้วยไม้บรรทัดความหนาแน่นของแผ่นกระดาษที่วดด้วยไม้โมมิเตอร์ เป็ นต้น จะประกอบด้วย ั ค่ าอ่ านที่ได้ โดยตรง + ค่ าที่ต้องประมาณด้ วยสายตา รู ป 2.5 จากรู ป 2.5 ใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวของกิ่งไม้ A และ B ค่าที่อ่านได้จะเป็ นดังนี้ ค่าที่อ่านได้โดยตรง ค่าที่ประมาณด้วยสายตา ความยาวที่อ่านได้ (เซนติเมตร) (เซนติเมตร) (เซนติเมตร) กิ่งไม้ A 0 9.00 กิ่งไม้ B 0.03 7.73
  • 5. เครื่องมือวัดแบบแสดงผลด้ วยตัวเลข ค่าที่อานได้จากเครื่ องมือชนิ ดนี้เช่น ค่าความต่าง ศักย์ไฟฟ้ าที่วดด้วยเครื่ องมัลติมิเตอร์ เป็ นต้น จะประกอบด้วยค่าความคลาดเคลื่อนไว้ไห้ในคู่มือการใช้ ั ค. การเลือกใช้ เครื่องมือวัด ในการเลือกใช้เครื่ องมือวัด มีหลักในการพิจารณา คือ ต้องเลือก เครื่ องมือวัดให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน เช่น การวัดความยาวของกิ่งไม้ตามที่แสดงในรู ป 2.5 เราใช้ไม้ บรรทัดที่สามารถวัดได้ละเอียดถึง 0.1 มิลลิเมตร ก็เพียงพอ โดยไม่จาเป็ นต้องใช้ไมโครมิเตอร์ ซ่ ึ งมีความ ละเอียดในการวัดถึง 0.01 มิลลิเมตร เป็ นต้น ง.สิ่ งทีมีผลกระทบต่ อความถูกต้ องของการวัด การวัดปริ มาณทางวิทยาศาสตร์ สิ่ งที่จะมี ่ ผลกระทบต่อความถูกต้องของการวัด ได้แก่ เครื่ องมือวัด วิธีการวัด ผู้ทาการวัด สภาพแวดล้ อมขณะทาการวัด สิ่ งที่มีผลกระทบต่อความถูกต้องของการวัดปริ มาณต่างๆ ในทางวิทยาศาสตร์ ดงกล่าวแล้วนั้น มี ั ข้อพึงระมัดระวังเพื่อไม่ให้สิ่งเหล่านั้นมีผลมากนัก ดังตาราง 2.4 ตาราง 2.4 สรุ ปสิ่ งที่มีผลกระทบต่อความถูกต้องของการวัดและข้อระวัง สิ่ งที่มีผลต่อการวัด ข้อควรระวังและควรปฏิบติ ั เครื่ องมือวัด 1. เครื่ องมือวัดที่ได้มาตรฐานจะต้องผ่านการเทียบมาตรฐานความเที่ยงตรง มาแล้ว 2. ต้องดูแลเครื่ องมืออย่างดีตามความเหมาะสม วิธีการวัด 1. ในการวัดปริ มาณใดๆ ต้องคานึงถึงวิธีที่ใช้วด โดยจะต้องเป็ นวิธีวดที่ ั ั เหมาะสมกับการวัดปริ มาณนั้น 2. วิธีการวัดที่ใช้ตองไม้ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงปริ มาณของสิ่ งที่ ต้อง ้ การวัด ผูทาการวัด ้ 1. ผูทาการวัดต้องมีความรู ้และเข้าใจเครื่ องวัดและวิธีการวัดเป็ นอย่างดี ้ 2. ผูทาการวัดต้องมีความรอบคอบ ้ 3. ผูทาการวัดต้องมีสภาพร่ างกายที่พร้อม ้ สภาพแวดล้อมขณะทา 1. ต้องกาหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมขณะทาการวัด การวัด 2. การวัดทุกครั้งจะต้องมีสภาพแวดล้อมที่เหมือนกัน ตัวอย่าง 1 ในการวัดมวลของสารเคมีเพื่อเตรี ยมการทดลองทางด้านเคมีดวยเครื่ องชัง ดังรู ป (equal- ้ ่ arm balance) การวัดนี้กระทาในห้องซึ่ งเปิ ดหน้าต่างให้ลมพัดโกรกเข้ามาได้ ค่ามวลที่อ่านได้จะมี ความผิดพลาดอย่างไร
  • 6. วิธีทา มวลของสารเคมีที่อ่านได้ดวยวิธีการวัดนี้จะมีความผิดพลาดเนื่ องจากอิทธิ พลของลม ซึ่ งจะเข้าไป ้ กระทบเครื่ องชังซึ่ งอาศัยหลักการสมดุล โดยจะทาให้จานตาชังแกว่งขึ้นลงแนวดิ่งทาให้การอ่านค่ามวล ่ ่ ทาได้ลาบาก ควรจะทาการวัดในห้องปิ ดหรื อนาเครื่ องชังใส่ ไว้ในตูแล้วชังสารเคมีในตู ้ ่ ้ ่ ตัวอย่าง 2 การวัดระยะระหว่างต้นไม้สองต้น ดังรู ป กระทาโดยใช้สายวัดยาว 10 เมตร สายวัดทาด้วย พลาสติกอ่อน อ่านค่าระยะระหว่างต้นไม้สองต้นได้ 9.25 เมตรระยะที่วดได้น้ ี จะมีความผิดพลาดจากกรณี ั ไดบ้าง วิธีทา การวัดระยะระหว่างต้นไม้ตามวิธีการวัดนี้จะมีความผิดพลาดจาก 1. เครื่ องมือวัด เพราะสายวัดทาด้วยพลาสติกอ่อนซึ่ งยืดได้ ดังนั้นค่าที่อ่านได้จะเกิดความผิดพลาด จากการยืดตัวของสายวัด 2. วิธีการ เพราะวิธีการวัดเราต้องยึดสานวัดไว้ที่จุด A แล้วพยายามขึงสายวัดให้ตึงไม่ให้อ่อน ซึ่งเป็ นวิธีที่จะทาให้สายวัดยืดตัว 3. สภาพแวดล้อม เพราะในที่โล่งถ้ามีลมพัดแรงจะทาให้สายวัดสะบัด เราจึงจาเป็ นต้องขึงสาย วัดให้ตึงเพื่อลดการสะบัดซึงเป็ นสาเหตุให้สายวัดยืด
  • 7. 2.3 การแปลความหมายข้ อมูล การแปลความหมายข้อมูลมีข้ นตอนต่างๆที่เกี่ยวข้องต่อไปนี้ ั ก. การบันทึกข้ อมูลลงในตาราง จะช่วยให้อ่านได้สะดวกและชัดเจน และมีความรวดเร็ วในการ บันทึกซึ่ งจะนาไปสู่ การแปลความหมายข้อมูลที่มีประสิ ทธิ ภาพ การบันทึกขอมูลควรจัดลาดับรายละเอียด ให้เหมาะสม เช่น ควรจดบันทึก หัวข้ อการทดลองวัน เวลา และสถานที่ทาการทดลองสภาพแวดล้ อมขณะทาการทดลอง จุดประสงค์ รายการ วัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ วิธีทาการทดลองภาพแสดงการจัดอุปกรณ์ ขณะทดลอง ตารางการบันทึกข้ อมูลกราฟ สร้ างขึนจากข้ อมูลที่วดได้ เพื่ อแสดงความสาพันธ์ ระหว่ างปริ มาณต่ างๆ ้ ั การคานวณจากตารางข้ อมูลหรื อกราฟ การสรุ ปและอภิปรายผล การบันทึกข้อมูลลงในตาราง เป็ นขั้นตอนหนึ่งของการแปลความหมายข้อมูลซึ่ งมีความจาเป็ นมาก เช่น การนับจานวนนักเรี ยนที่เดินผ่านประตูของโรงเรี ยนแห่งหนึ่งเข้าไปในโรงเรี ยน ตั้งแต่ 6: 00 นาฬิกา ถึง 9:00 นาฬิกา บันทึกข้อมูลลงในตารางได้ดงนี้ ั ตาราง 2.5 จานวนนักเรี ยน เวลา (นาฬิกา) หญิง ชาย 6:00 - 6:30 5 1 6:30 - 7:00 10 5 7:00 - 7:30 80 20 7:30 - 8:00 80 80 8:00 - 8:30 30 60 8:30 - 9:00 10 40 จากข้อมูลซึ่ งบันทึกลงในตารางในช่วงเวลาต่างๆจะทาให้เห็นชัดเจนขึ้นว่า มีจานวนนักเรี ยนแยก เป็ นหญิงและชายเดินผ่านประตูโรงเรี ยนเข้าไปจานวนกี่คนในช่วงเวลาต่างๆ ข. การนาเสนอข้ อมูล หมายถึง การนาข้อมูลที่บนทึกลงในตารางเขียนเป็ นแผนภูมิทางสถิติ เพื่อ ั การนาเสนอที่จะทาให้เกิดการมองข้อมูลที่สะดวกขึ้นอีก เช่น เขียนเป็ นแผนภูมิเส้นตรง ดังรู ป 2.6 แผนภูมิ แท่งดังรู ป 2.7 หรื อแผนภูมิวงกลมดังรู ป 2.8 เป็ นต้น
  • 8. รู ป 2.6 แผนภูมิเส้นตรง รู ป 2.7 แผนภูมิแท่ง
  • 9. รู ป 2.8 แผนภูมิวงกลม ั ค. การเขียนกราฟระบบพิกัดฉาก กราฟระบบพิกดฉากใช้เพื่อแสดงความสาพันธ์ระหว่างปริ มาณ สองปริ มาณหรื อตัวแปรสองตัวที่คาดว่าจะเกี่ยวข้องกัน โดยใช้แกน X เป็ นแกนราบและแกน Y เป็ นแกนดิ่ง แกน X เป็ นค่าของตัวแปรอิสระส่ วนแกน Y เป็ นค่าของตัว แปรตาม รู ป 2.9 แสดงความสาพันธ์ระหว่างอุณหภูมิของก๊าซ ั กับปริ มาตรของก๊าซ ด้วยการเขียนกราฟระบบพิกดฉาก
  • 10. จากรู ป 2.9 ก๊าวซึ่ งบรรจุในกระบอกสู บโดยมีลูกสู บเคลื่อนไปตามแนวลูกศรได้เมื่อก๊าซร้อนขึ้น ถ้า เราจะดูความสาพันธ์ระหว่างอุณหภูมิของก๊าซในกระบอกสู บกับปริ มาตรของก๊าซในกระบอกสู บ ทาได้โดย ให้ อุณหภูมิเป็ นตัวแปรอิสระ เพราะเราสามารถกาหนดร่ วงหน้าได้ ดังตาราง 2.6 ปริมาตรก๊าซเป็ นตัวแปรตาม ซึ่ งจะมีค่าแปรตามอุณหภูมิ ดังตาราง 2.6 อุณหภูมิ ปริ มาตร คู่ลาดับ (ตัวแปรอิสระ) (ตัวแปรตาม) T1 V1 (T1V1) T2 V2 (T2V2) T3 V3 (T3V3) T4 V4 (T4V4) T5 V5 (T5V5) เมื่อนาคู่ลาดับตามที่ปรากฎในตารางไปเขียนกราฟในระบบพิกดฉากดังกล่าว สมมุติวาได้ดงรู ป ั ่ ั ั 2.9 จากลักาณะจุดที่ปรากฎทาให้เห็นแนวโน้มความสาพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกบปริ มาตรของก๊าซปรากฏ ่ ั ั ออกมาเป็ นเส้นตรง สรุ ปได้วาอุณหภูมิกบปริ มาตรของก๊าซมีความสาพันธ์กนแบบเชิงเส้น ง. การวิเคราะห์ และแปรความหมายกราฟเส้ นตรง กาหนดให้ X เป็ นตัวแปรอิสระ Y เป็ น ตัวแปรตาม ในวิชาคณิ ตศาสตร์ สมการเส้นตรงจะเขียนได้ดงนี้ ั y = mx + c ่ เมื่อ m เป็ นความชันของกราฟ และ c เป็ นจุดตัดบนแกน y สมมุติวา y = 4x + 2 โดยกาหนดให้ตวแปรอิสระ x = 0, 2, 4, 6, 8 , 10 ตามลาดับ เราจะได้ y = 2, 10, 18, 26, 34, ั 42 ตามลาดับ นาคู่ลาดับ ( X,Y) ไปเขียนกราฟ จะได้ดงรู ป 2.10 ั x y = 4x + 2 (x,y) 0 2 (0,2) 2 10 (2,10) 4 18 (4,18) 6 26 (6,26) 8 34 (8,34) 10 42 (10,42)
  • 11. รู ป 2.10 ่ จาก y = 4x + 2 จะได้วา แฟกเตอร์ ของตัวแปรอิสระเป็ นความชันของเส้นกราฟ ซึ่ งทาให้ได้ ความชันของเส้นกราฟเท่ากับ 4 และจากเส้นกราฟในรู ป 2.10 เราสามารถหาค่าความชันได้จาก tan = 26  10  4 62 2.4 หน่ วยเอสไอ หน่วยเอสไอ ( SI = Systeme International d ' Unites ) เป็ นระบบหน่วยระหว่างชาติใช้วด ั ปริ มาณทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเริ่ มใช้เมื่อ พ.ศ. 2503 ระบบหน่วยระหว่างชาติประกอบด้วย หน่วยฐานและหน่วยอนุพนธ์ ั ก. หน่ วยฐาน เป็ นหน่วยหลักของหน่วยเอสไอ มี 7 หน่วย ดังตาราง 2.7 ตาราง 2.7 ปริ มาณ หน่วย สัญลักษณ์ ความยาว เมตร M มวล กิโลกรัม Kg เวลา วินาที S กระแสไฟฟ้ า แอมแปร์ A อุณหภูมิอุณหพลวัติ เคลวิน K ปริ มาณสาร โมล Mol ความเข้มข้นของการส่ องสว่าง แคนเดลา Cd
  • 12. ข. หน่ วยอนุพนธ์ เป็ นหน่วยที่เกิดจากหน่วยฐานหลายหน่วยรวมกัน เช่น แรง ความดัน งาน ั พลังงานกาลัง เป็ นต้น ดูภาคผนวก ค. คาอุปสรรค ในกรณี ที่หน่วยฐานหรื อหน่วยอนุพนธ์มีค่ามากหรื อน้อยเกินไป เราจะใช้คา ั อุปสรรค (prefixes) เขียนวางไว้หน้าหน่วยนั้น โดยมีหลักว่า  ใช้คาอุปสรรคครั้งเดียวโดยไม่ตองเขียนซ้อนกัน ้  เมื่อใช้คาอุปสรรควางหน้าหน่วยใดแล้วเวลายกกาลังไม่ตองใส่ ้ วงเล็บ ***********************************************************************************