SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
 
เบาหวาน สาเหตุของโรคเบาหวาน เบาหวาน สามารถแบ่งออกเป็น  2  ชนิด ได้แก่ โรคเบาหวานชนิดที่  1   สาเหตุ เกิดจากภูมิต้านทานของร่างกายทำลายเซลล์ที่สร้างอินซูลิน ในตับอ่อน ทำให้ร่างกายหยุดการสร้างอินซูลิน ดังนั้นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่  1  จึงจำเป็นต้องฉีดอินซูลิน  เพื่อควบคุมน้ำตาลในเลือดระยะยาว โรคเบาหวานชนิดที่  2   สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบชัดเจน แต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ พันธุกรรม นอกจากนี้ ยังมีความสัมพันธ์กับภาวะน้ำหนักตัวมาก การขาดการออกกำลังกาย และวัยที่เพิ่มขึ้น เซลล์ของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่  2  ร่างกายยังคงมีการสร้างอินซูลิน แต่ทำงานไม่เป็นปกติเนื่องจากมีภาวะดื้อต่ออินซูลิน ทำให้เซลล์ที่สร้างอินซูลินค่อยๆถูกทำลายไป บางคนเริ่มมีภาวะแทรกซ้อนโดยไม่รู้ตัว และต้องการยาในการรับประทาน และบางรายต้องใช้อินซูลินชนิดฉีด เพื่อควบคุมน้ำตาลในเลือด สรุปว่ายังมีอีกหลายสาเหตุที่ทำให้เป็นโรคเบาหวานเช่น  1. กรรมพันธุ์ คงปฏิเสธไม่ได้ว่ากรรมพันธุ์มีส่วนเกี่ยวข้องแน่นอนกับเบาหวาน คุณคงเคยเห็นว่ามีญาติเป็นเบาหวานแล้วในครอบครัวนั้นก็เป็นเบาหวานกัน  2. ความอ้วน เนื่องจากในคนอ้วนมีไขมันสะสมมาก ทำให้มีภาวะดื้อต่อการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนอินสุลิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่นำน้ำตาลเข้าเซลล์ ทำให้มีน้ำตาลส่วนเกินอยู่ในกระแสเลือด
อาการของโรคเบาหวาน ถ้าหากพบอาการดังต่อไปนี้ควรปรึกษาแพทย์ ปัสสาวะมากขึ้นและบ่อยครั้งขึ้น ปัสสาวะกลางคืนบ่อยขึ้น  ( ระหว่างช่วงเวลาที่เข้านอนแล้วจนถึงเวลาตื่นนอน )  หิวน้ำบ่อยและดื่มน้ำในปริมาณที่มากๆ  เหนื่อยง่ายไม่มีเรี่ยวแรง อาการแทรกซ้อน  ภาวะแทรกซ้อนทางสายตา  (Diabetic retinopathy)  เกิดจากการที่น้ำตาลเข้าไปใน  endothelium  ของ หลอดเลือดเล็กๆ ในลูกตา ทำให้หลอดเลือดเหล่านี้มีการสร้างไกลโคโปรตีนซึ่งจะถูกขนย้ายออกมาเป็น  Basement membrane  มากขึ้น ทำให้  Basement membrane  หนา แต่เปราะหลอดเลือดเหล่านี้จะฉีกขาดได้ง่าย เลือดและสารบางอย่างที่อยู่ในเลือดจะรั่วออกมา และมีส่วนทำให้  Macula  บวม ซึ่งจะทำให้เกิด  Blurred vision  หลอดเลือดที่ฉีกขาดจะสร้างแขนงของหลอดเลือดใหม่ออกมามากมายจนบดบังแสงที่มาตกกระทบยัง  Retina  ทำให้การมองเห็นของผู้ป่วยแย่ลง ยังมีแทรกซ้อนอีกหน่อยคือ ภาวะแทรกซ้อนทางไต  (Diabetic nephropathy) พยาธิสภาพของหลอดเลือดเล็กๆ ที่  Glomeruli  จะทำให้  Nephron  ยอมให้  albumin  รั่วออกไปกับ  filtrate  ได้  Proximal tubule  จึงต้องรับภาระในการดูดกลับสารมากขึ้น ซึ่งถ้าเป็นนานๆ ก็จะทำให้เกิด  Renal failure  ได้ ซึ่งผู้ป่วยมักจะเสียชีวิตภายใน  2- 3  ปี นับเข้าสู่ภาวะไตวายระยะสุดท้าย หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี และยังมีอาการแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย
วิธีการป้องกันโรคเบาหวานสามารถทำได้  2  วิธีคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งมีวิธีดังนี้  1. ลดน้ำหนัก   ลงให้ได้ร้อยละ 5-7  จากน้ำหนักเบื้องต้น โดยเฉพาะผู้ที่อ้วน ( ชาวเอเซียใช้ดัชนีมวลกายเท่ากับหรือมากกว่า  23)  2. ออกกำลัง สัปดาห์ละ  150  นาที โดยการเดินหรือวิ่ง วิธีการป้องกันโรคเบาหวาน การป้องกันโรคเบาหวานจะใช้ยาหรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแนะนำให้ใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเนื่องจากสามารถลดการเกิดโรคเบาหวานได้ถึงร้อยละ  58  ในขณะที่ใช้ยาลดได้ร้อยละ  36  และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยังช่วยลดการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในขณะที่ใช้ยายังไม่มีรายงานดังกล่าว นอกจากนั้นการใช้ยาต่อเนื่องเป็นเวลานานอาจจะเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา Metformin  สามารถลดการเกิดโรคเบาหวานลงได้ร้อยละ  31  ใช้ได้ผลดีกับผู้ที่อายุน้อย  20-44  ปี และอ้วน สรุปหากท่านเป็นกลุ่มเสี่ยงหรือ  Prediabetic  ท่านจะต้องเจาะเลือดเพื่อตรวจประเมินความเสี่ยงหากท่าน เป็นกลุ่มเสี่ยงท่านจะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ออกกำลังกาย ท่านต้องลดน้ำหนักลง  5-7% โดยการเดินให้เร็ววิ่งสลับกับเดินเร็ว  การใช้ยาเพื่อป้องกันโรคเบาหวาน  เช่น  Acarbose  สามารถลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานได้ร้อยละ  32 Troglitazone  สามารถลดการเกิดโรคเบาหวานได้ร้อยละ  56
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ในฐานะโฆษกเครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน กล่าวว่า ในปี  2543  คาดการณ์ไว้ว่า เมื่อถึงปี  2553  ทั่วโลกจะมีผู้ป่วยโรคเบาหวาน  220  ล้านคน  แต่ขณะนี้เพียงแค่ปี  2550  กลับพบผู้ป่วยเบาหวานแล้วถึง  246  ล้านคน ขณะนี้เพียงแค่ปี  2550  กลับพบผู้ป่วยเบาหวานแล้วถึง  246  ล้านคน สูงกว่าที่คาดไว้  26  ล้านคน จึงเป็นไปได้ว่าคนเป็นโรคเบาหวานทั่วโลก  จะเพิ่มเป็น  380  ล้านคน ในปี  2568   โดยผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก  4  ใน  5  เป็นชาวเอเชีย มีต้นเหตุใหญ่จากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เป็นสัญญาณที่บอกว่าเสี่ยงกับภาวะเบาหวาน โดยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลายเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญ เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและตายอันดับต้นๆ ของคนไทย สถิติการเฝ้าระวังโรค   2549  บอกว่ามีผู้ป่วย ถึง  1  ล้าน  5  แสนคน เรื่องนี้น่าห่วงมาก เพราะอดีตโรคหัวใจขาดเลือดและโรคเบาหวาน มักเกิดในผู้อายุ  40  ปีขึ้นไป แต่ตอนนี้กลับพบผู้ป่วยอายุน้อยลงเรื่อยๆ จุดเริ่มต้นหนึ่งมาจากปัญหาเด็กอ้วน ข้อมูลของไทยพบ  20%  ของเด็กที่อ้วนไปแล้ว จะมีความผิดปกติในการเผาผลาญกลูโคสในเลือด  และในกลุ่มนี้ เราพบเบาหวานประเภทที่  2  แล้วถึง  3%   โรคเบาหวานประเภทที่  2  ไม่ได้เกิดจากพันธุกรรม แต่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภค
 

More Related Content

What's hot

โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานbeam35734
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานiceconan25
 
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7norrakamol
 
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7norrakamol
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02vora kun
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับTODSAPRON TAWANNA
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนพัน พัน
 

What's hot (18)

โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
Dm
DmDm
Dm
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
 
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
 
DM diagnosis and management
DM diagnosis and managementDM diagnosis and management
DM diagnosis and management
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วน
 

Similar to เบาหวาน

โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01vora kun
 
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจโรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจMMBB MM
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesUtai Sukviwatsirikul
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรงวิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรงPanuwat Beforetwo
 
Final project
Final projectFinal project
Final projectlooknam7
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ pacharapornoiw
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to เบาหวาน (20)

โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจโรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
 
Diabetic control - Thai
Diabetic control - ThaiDiabetic control - Thai
Diabetic control - Thai
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in Diabetes
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
Diabetes manual2
Diabetes manual2Diabetes manual2
Diabetes manual2
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรงวิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
วิธีลดความอ้วน เพื่อสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
พัชราภรณ์
พัชราภรณ์ พัชราภรณ์
พัชราภรณ์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 

เบาหวาน

  • 1.  
  • 2. เบาหวาน สาเหตุของโรคเบาหวาน เบาหวาน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ โรคเบาหวานชนิดที่ 1 สาเหตุ เกิดจากภูมิต้านทานของร่างกายทำลายเซลล์ที่สร้างอินซูลิน ในตับอ่อน ทำให้ร่างกายหยุดการสร้างอินซูลิน ดังนั้นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 จึงจำเป็นต้องฉีดอินซูลิน เพื่อควบคุมน้ำตาลในเลือดระยะยาว โรคเบาหวานชนิดที่ 2 สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบชัดเจน แต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ พันธุกรรม นอกจากนี้ ยังมีความสัมพันธ์กับภาวะน้ำหนักตัวมาก การขาดการออกกำลังกาย และวัยที่เพิ่มขึ้น เซลล์ของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ร่างกายยังคงมีการสร้างอินซูลิน แต่ทำงานไม่เป็นปกติเนื่องจากมีภาวะดื้อต่ออินซูลิน ทำให้เซลล์ที่สร้างอินซูลินค่อยๆถูกทำลายไป บางคนเริ่มมีภาวะแทรกซ้อนโดยไม่รู้ตัว และต้องการยาในการรับประทาน และบางรายต้องใช้อินซูลินชนิดฉีด เพื่อควบคุมน้ำตาลในเลือด สรุปว่ายังมีอีกหลายสาเหตุที่ทำให้เป็นโรคเบาหวานเช่น 1. กรรมพันธุ์ คงปฏิเสธไม่ได้ว่ากรรมพันธุ์มีส่วนเกี่ยวข้องแน่นอนกับเบาหวาน คุณคงเคยเห็นว่ามีญาติเป็นเบาหวานแล้วในครอบครัวนั้นก็เป็นเบาหวานกัน 2. ความอ้วน เนื่องจากในคนอ้วนมีไขมันสะสมมาก ทำให้มีภาวะดื้อต่อการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนอินสุลิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่นำน้ำตาลเข้าเซลล์ ทำให้มีน้ำตาลส่วนเกินอยู่ในกระแสเลือด
  • 3. อาการของโรคเบาหวาน ถ้าหากพบอาการดังต่อไปนี้ควรปรึกษาแพทย์ ปัสสาวะมากขึ้นและบ่อยครั้งขึ้น ปัสสาวะกลางคืนบ่อยขึ้น ( ระหว่างช่วงเวลาที่เข้านอนแล้วจนถึงเวลาตื่นนอน ) หิวน้ำบ่อยและดื่มน้ำในปริมาณที่มากๆ เหนื่อยง่ายไม่มีเรี่ยวแรง อาการแทรกซ้อน ภาวะแทรกซ้อนทางสายตา (Diabetic retinopathy) เกิดจากการที่น้ำตาลเข้าไปใน endothelium ของ หลอดเลือดเล็กๆ ในลูกตา ทำให้หลอดเลือดเหล่านี้มีการสร้างไกลโคโปรตีนซึ่งจะถูกขนย้ายออกมาเป็น Basement membrane มากขึ้น ทำให้ Basement membrane หนา แต่เปราะหลอดเลือดเหล่านี้จะฉีกขาดได้ง่าย เลือดและสารบางอย่างที่อยู่ในเลือดจะรั่วออกมา และมีส่วนทำให้ Macula บวม ซึ่งจะทำให้เกิด Blurred vision หลอดเลือดที่ฉีกขาดจะสร้างแขนงของหลอดเลือดใหม่ออกมามากมายจนบดบังแสงที่มาตกกระทบยัง Retina ทำให้การมองเห็นของผู้ป่วยแย่ลง ยังมีแทรกซ้อนอีกหน่อยคือ ภาวะแทรกซ้อนทางไต (Diabetic nephropathy) พยาธิสภาพของหลอดเลือดเล็กๆ ที่ Glomeruli จะทำให้ Nephron ยอมให้ albumin รั่วออกไปกับ filtrate ได้ Proximal tubule จึงต้องรับภาระในการดูดกลับสารมากขึ้น ซึ่งถ้าเป็นนานๆ ก็จะทำให้เกิด Renal failure ได้ ซึ่งผู้ป่วยมักจะเสียชีวิตภายใน 2- 3 ปี นับเข้าสู่ภาวะไตวายระยะสุดท้าย หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี และยังมีอาการแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย
  • 4. วิธีการป้องกันโรคเบาหวานสามารถทำได้ 2 วิธีคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งมีวิธีดังนี้ 1. ลดน้ำหนัก ลงให้ได้ร้อยละ 5-7 จากน้ำหนักเบื้องต้น โดยเฉพาะผู้ที่อ้วน ( ชาวเอเซียใช้ดัชนีมวลกายเท่ากับหรือมากกว่า 23) 2. ออกกำลัง สัปดาห์ละ 150 นาที โดยการเดินหรือวิ่ง วิธีการป้องกันโรคเบาหวาน การป้องกันโรคเบาหวานจะใช้ยาหรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแนะนำให้ใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเนื่องจากสามารถลดการเกิดโรคเบาหวานได้ถึงร้อยละ 58 ในขณะที่ใช้ยาลดได้ร้อยละ 36 และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยังช่วยลดการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในขณะที่ใช้ยายังไม่มีรายงานดังกล่าว นอกจากนั้นการใช้ยาต่อเนื่องเป็นเวลานานอาจจะเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา Metformin สามารถลดการเกิดโรคเบาหวานลงได้ร้อยละ 31 ใช้ได้ผลดีกับผู้ที่อายุน้อย 20-44 ปี และอ้วน สรุปหากท่านเป็นกลุ่มเสี่ยงหรือ Prediabetic ท่านจะต้องเจาะเลือดเพื่อตรวจประเมินความเสี่ยงหากท่าน เป็นกลุ่มเสี่ยงท่านจะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ออกกำลังกาย ท่านต้องลดน้ำหนักลง 5-7% โดยการเดินให้เร็ววิ่งสลับกับเดินเร็ว การใช้ยาเพื่อป้องกันโรคเบาหวาน เช่น Acarbose สามารถลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานได้ร้อยละ 32 Troglitazone สามารถลดการเกิดโรคเบาหวานได้ร้อยละ 56
  • 5. สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ในฐานะโฆษกเครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน กล่าวว่า ในปี 2543 คาดการณ์ไว้ว่า เมื่อถึงปี 2553 ทั่วโลกจะมีผู้ป่วยโรคเบาหวาน 220 ล้านคน  แต่ขณะนี้เพียงแค่ปี 2550 กลับพบผู้ป่วยเบาหวานแล้วถึง 246 ล้านคน ขณะนี้เพียงแค่ปี 2550 กลับพบผู้ป่วยเบาหวานแล้วถึง 246 ล้านคน สูงกว่าที่คาดไว้ 26 ล้านคน จึงเป็นไปได้ว่าคนเป็นโรคเบาหวานทั่วโลก  จะเพิ่มเป็น 380 ล้านคน ในปี 2568  โดยผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลก 4 ใน 5 เป็นชาวเอเชีย มีต้นเหตุใหญ่จากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เป็นสัญญาณที่บอกว่าเสี่ยงกับภาวะเบาหวาน โดยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลายเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญ เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและตายอันดับต้นๆ ของคนไทย สถิติการเฝ้าระวังโรค 2549 บอกว่ามีผู้ป่วย ถึง 1 ล้าน 5 แสนคน เรื่องนี้น่าห่วงมาก เพราะอดีตโรคหัวใจขาดเลือดและโรคเบาหวาน มักเกิดในผู้อายุ 40 ปีขึ้นไป แต่ตอนนี้กลับพบผู้ป่วยอายุน้อยลงเรื่อยๆ จุดเริ่มต้นหนึ่งมาจากปัญหาเด็กอ้วน ข้อมูลของไทยพบ 20% ของเด็กที่อ้วนไปแล้ว จะมีความผิดปกติในการเผาผลาญกลูโคสในเลือด  และในกลุ่มนี้ เราพบเบาหวานประเภทที่ 2 แล้วถึง 3%  โรคเบาหวานประเภทที่ 2 ไม่ได้เกิดจากพันธุกรรม แต่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภค
  • 6.