SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
ความรูเรื่อง

  โรคเบาหวานกับสุขภาพชองปาก




                รวบรวมโดย…
            ทพญ.ดาวเรือง แกวขันตี
กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
                  พ.ศ. 2546
โรคเบาหวานกับสุขภาพชองปาก

1 บทนํา
        โรคเบาหวานเป น โรคเรื้ อ รั ง ที่ เ กิ ด จากการที่ ร  า งกายขาดอิ น ซู ลิ น หรื อ มี ภ าวะดื้ อตอ
อินซูลิน ผลที่ตามมาคือ มีระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดสูง และชีวเคมีในรางกายเปลี่ยนแปลง นํา
ไปสูภาวะแทรกซอนรุนแรงทั้งระยะสั้นระยะยาว โรคเบาหวานเปนสาเหตุนําของไตลมเหลว ตา
บอดในผูใหญ การถูกตัดแขนขา และยังเปนปจจัยเสี่ยงหลักของโรคหัวใจ เสนเลือดสมองอุดตัน
ความผิดปกติแตกําเนิด ทําใหความยืนยาวของชีวิตลดลงประมาณ 15 ป อัตราปวยและอัตรา
ตายของประชากรโลกเพิ่มขึ้นจากทั้งโรคเบาหวานโดยตรง และจากภาวะแทรกซอน
        โรคเบาหวานมีความชุกเพิ่มขึ้นอยางมากในทุกประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยดวย
ขอมูลขององคการอนามัยโลก (World Health Organisation-WHO) ในป พ.ศ. 2538 พบวา มี
ประชากรเปนโรคเบาหวานมากกวา 135 ลานคน และคาดประมาณวาจะเพิ่มเปน 300 ลานคน
ในป พ.ศ. 2568 และจากเอกสาร Thailand Health Profile, 1997-1998 ระบุวาความชุกของโรค
เบาหวานของคนไทยในป พ.ศ.2538 มี 33.3 รายตอประชากรแสนคน เพิ่มขึ้นเปน 147.2 ราย
ตอประชากรแสนคนในป พ.ศ.2540
        ปจจุบันนี้ วงการทันตสาธารณสุขใหความสนใจกับความสัมพันธของโรคเบาหวานกับ
สุขภาพชองปากมากขึ้น และไดนับโรคในชองปากเปนภาวะแทรกซอนอันดับที่ 6 ของโรคเบา
หวานดวย The National Oral Health Information Clearinghouse แหงสหรัฐอเมริกาไดสรุปวา
การติดเชื้อของเหงือกทําใหการควบคุมนํ้าตาลในเลือดของผูปวยโรคเบาหวานทําไดยาก ขณะ
เดียวกันผูปวยโรคเบาหวานที่มีการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดไดดีสามารถปองกันปญหาที่
เกิดกับเหงือกได การดูแลและรักษาผูปวยโรคเบาหวานตองการความรวมมือทั้ง แพทย ตัวผู
ปวย ญาติของผูปวย และทีมสุขภาพอื่นๆ ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขที่เปนทีมสุขภาพมีความจํา
เปนตองมีความรูความเขาใจอยางถองแท ในเรื่องโรคเบาหวาน ทั้งนี้เพื่อใหผูปวยโรคเบาหวาน
ไดมีคุณภาพชีวิตที่ดีไดเต็มตามศักยภาพที่ควรเปน

1.1 วัตถุประสงค
         เอกสารนี้ จัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมองคความรูพื้นฐานของโรคเบาหวาน ความเกี่ยวของ
ของโรคเบาหวานกับสุขภาพชองปาก การดูแลสุขภาพชองปากของผูปวยโรคเบาหวาน ที่จํา
เปนใหแกกลุมเปาหมายที่เปนบุคลากรสาธารณสุขที่มีภารกิจตองรับผิดชอบในการดูแลผูปวย
โรคเบาหวานใหมีความรูความเขาใจอยางเพียงพอ เพื่อใหเกิดความมั่นใจในการดูแลและใหคํา
แนะนํ าการดูแลผูปวยโรคเบาหวานอยางมีความมั่นใจมากขึ้น เอกสารนี้ไดจากการทบทวน
เอกสารทางวิชาการทั้งในและตางประเทศ และจาก Website ทีคดเลือกวาเปนของสถาบันที่นา
                                                                  ่ ั
เชื่อถือได ซึ่งองคความรูจากทั้ง 2 แหลงนี้ อาจทันสมัยอยูในชวงเวลาหนึ่ง ผูที่นําเอกสารไปใชมี
ความจําเปนตองติดตามศึกษาและปรับองคความรูใหทันสมัยอยูเสมอ เพราะหลายประเด็นของ


                                                                                                          1
โรคเบาหวานยังไมสามารถสรุปรวมจนเปนยุติไดชัดเจน เชน การอธิบายสาเหตุที่แทจริงของโรค
เบาหวาน เปนตน

1.2 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
       เอกสารชวงตนนี้เปนการทบทวนความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโรคเบาหวานโดยตรง ใน
ประเด็นตอไปนี้

         1.2.1 โรคเบาหวานคืออะไร
         โรคเบาหวานมีลักษณะที่แสดงออกโดยการมีระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดสูงขึ้น เกิดมา
จากรางกายสรางอินซูลินไมเพียงพอหรือการดื้อตออินซูลิน ปกติอินซูลินหลั่งออกมาโดย β-cell
ซึ่งเปนเซลลพิเศษในตับออน อินซูลินเปนฮอรโมนที่สําคัญที่สุดของรางกายที่ชวยรักษาระดับนํ้า
ตาลกลูโคสในเลือดและการที่ระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดสูงจนถึงระดับที่เปนโรคเบาหวาน จะมี
ผลกระทบตอการรักษาระดับไขมันในเลือดดวย ทั้งนี้อินซูลินมีบทบาทหลักในการควบคุมความ
คงทีและความสมดุลยของพลังงานในเลือด เพื่อควบคุม metabolism ของรวงกาย β-cell เปน
     ่
เซลลที่มีลักษณะเฉพาะ และมีการคัดลอกทางพันธุกรรม

         1.2.2 ชนิดของโรคเบาหวาน
         ในป พ.ศ.2522 The National Diabetes Data Group ในสหรัฐอเมริกาไดจัดแบงโรค
เบาหวานเปน 3 ชนิด ไดแก Type 1-insulin-dependent diabetes mellitus (IDDM), Type 2-
non-insulin-dependent diabetes mellitus (NIDDM) และ Type 3 other types of diabetes
(Pancreatic disease, Hormonal disease, Drug-thiazide diuretics, Lithium salts, Others)
ซึ่งองคการอนามัยโลกไดรับมาใชในป พ.ศ.2523 และปรับปรุงเล็กนอยในป พ.ศ.2528 จากนั้น
The American Diabetes Association Expert Committee ไดทบทวนเกณฑการวินิจฉัยโรค
เบาหวานและไดปรับการแบงชนิดของโรคเบาหวานดังตอไปนี้
         (1) ใชคําวา type 1 และ type 2 แทน IDDM และ NIDDM ในการกลาวถึงโรคเบา
หวานชนิดหลักทั้ง 2
         (2) ใชระดับนํ้าตาลกลูโคสในพลาสมาขณะอดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง (Fasting
plasma glucose-FPG) วัด 2 ครั้ง เปนตัวชี้วัด
         (3) ระดับ FPG 126 มก./ดล. ขึ้นไป อยางนอย 2 ครั้ง จะถูกวินิจฉัยวาเปนโรคเบา
หวาน (ระดับนี้เทากับ 200 มก./ดล. ใน Oral glucose tolerance test–OGTT)
         สําหรับประเทศไทย สมาคมตอมไรทอแหงประเทศไทยไดยึดตามสหพันธโรคเบาหวาน
แหงสหรัฐเมริกา พ.ศ. 2540 จําแนกโรคเบาหวานเปน 4 ชนิด คือ
         (1) โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes) คือ โรคเบาหวานที่เกิดจากการทําลาย β-
cell ของตับออน สวนใหญเกิดจาก autoimmune มีบางสวนที่ไมทราบสาเหตุ โรคเบาหวานชนิด

                                                                                           2
นี้ สุดทายก็ตองใชอินซูลินเพื่อปองกัน ketoacidosis โดยที่ตองมีการควบคุมอาหาร ตองออก
กําลังกายทุกวันและตองคอยตรวจระดับนํ้าตาลในเลือดเสมอ โรคเบาหวานชนิดนี้พบในเด็กและ
ผูใหญที่มีอายุตํ่ากวา 30 ป
          (2) โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes) คือ โรคเบาหวานที่ไมเกี่ยวของกับ β-cell
ถูกทําลาย แตเกิดจากภาวะดื้อตออินซูลินรวมกับความผิดปกติในการหลั่งอินซูลินของตับออน
และการเพิ่มขึ้นของการสรางกลูโคสในตับ ผูปวยโรคเบาหวานชนิดนี้รางกายยังสามารถสราง
อินซูลินไดบาง แตไมเพียงพอกับความตองการ
          (3) โรคเบาหวานชนิดอื่นๆ (Other specific type) คือ โรคเบาหวานที่เกิดจากความผิด
ปกติทางพันธุกรรม ที่ทราบชัดเจน เชน โรคของตับออน ความผิดปกติของฮอรโมน ยาหรือสาร
เคมีและอื่นๆ
          (4) โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ (Gestational diabetes)คือ โรคเบาหวาน หรือความผิด
ปกติของความทนตอนํ้าตาลกลูโคสที่ไดรับครั้งแรกขณะตั้งครรภ

             1.2.3 การวินิจฉัยโรค
             สมาคมโรคเบาหวานแหงสหรัฐอเมริกากําหนดวิธีและเกณฑการวินิจฉัยโรคเบาหวาน
ไว ดังนี้
         (1) fasting plasma glucose (FPG) มากกวา 126 มก./ดล. เปนวิธีที่นยมมาก (Fasting
                                                                          ิ
หมายถึง อดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง) หรือ
         (2) การมีกลุมอาการของโรคเบาหวานรวมกับระดับนํ้าตาลกลูโคสในพลาสมาเมื่อเวลา
ใดก็ได (Random plasma glucose) 200 มก./ดล. ขึ้นไป กลุมอาการหลักของเบาหวานไดแก
ปสสาวะมาก ดื่มนํ้ามาก และการมีนํ้าหนักตัวลดลงโดยไมทราบสาเหตุ หรือ
         (3) การมีระดับนํ้าตาลกลูโคสในพลาสมา เมื่อ 2 ชั่วโมงหลังการทํา Oral glucose
tolerance test (OGTT) 200 มก./ดล. ขึ้นไป วิธีการที่องคการอนามัยโลกกําหนดคือ ใหดื่มนํ้า
ตาลกลูโคส (Anhydrous glucose) ที่ละลายในนํ้าในปริมาณ 75 กรัม
         นอกจากนี้ ยังตองยืนยันผลการทดสอบดวยการทําซํ้า ในวันอื่น และวิธีที่ 3 ไมแนะนํา
ใหทําเปน Routine ในคลินิก
         สมาคมตอมไรทอแหงประเทศไทย ไดรับเกณฑและวิธีการนี้มาใชในประเทศไทยดวย
         นอกจากนี้ สมาคมไร ท  อแห ง ประเทศไทยได เสนอแนะในการคัดกรองโรคเบาหวาน
เพราะโรคเบาหวานในระยะแรกจะไมกอใหเกิดอาการผิดปกติ ผูปวยโรคเบาหวานที่พบใหมมีไม
                                                              
นอยที่ตรวจพบวา มีโรคแทรกซอนของเบาหวานแลว การคัดกรองหาเบาหวานในประชากรกลุม
เสียงจะชวยใหมีการวินิจฉัยโรคเบาหวานและรักษาไดเร็วขึ้น ซึ่งเปนผลดีตอตัวผูปวยเอง โดย
   ่
เสนอใหแบงการคัดกรองเปน 2 กลุม คือ




                                                                                          3
การคัดกรองโรคเบาหวานในผูที่ไมไดตั้งครรภ ผูที่เปนกลุมเสี่ยงไดแก ผูที่มีลักษณะใด
ลักษณะหนึ่งตอไปนี้
        (1) อายุ 40 ป ขึ้นไป
        (2) อวน (BMI≥ 25 กก./ม2 )
        (3) มีญาติพี่นองเปนโรคเบาหวาน
        (4) เปนความดันโลหิตสูง
        (5) เปนโรคไขมันในเลือดผิดปกติ (ไตรกลีเซอไรด ≥ 250 มก./ดล. หรือ HDL ≤ 35
มก./ดล.)
        (6) มีประวัตเปนโรคเบาหวานขณะตั้งครรภหรือเคยคลอดบุตรนํ้าหนักเกิน 4 กก.
                     ิ
        (7) เคยไดรับการตรวจพบเปน Impaired glucose tolerance (IGT-นํ้าตาลกลูโคสใน
พลาสมาที่ 2 ชั่วโมงหลังดื่มนํ้าตาลกลูโคส 75 กรัม มีคา 140-199 มก./ดล.) หรือ Impaired
fasting glucose (IFG-นํ้าตาลกลูโคสในพลาสมาขณะอดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง มีคา 110-
125 มก./ดล.)

        การคัดกรองโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ ควรทําทุกราย ยกเวนผูที่มีความเสี่ยงตํ่ามาก
ไดแก ผูที่อายุนอยกวา 25 ป รวมกับมีนํ้าหนักตัวปกติ และไมมีประวัติโรคเบาหวานใน
ครอบครัว โดยเสนอแนะใหทํา Glucose screening test โดยใหดื่มนํ้าตาลกลูโคส 50 กรัม ขณะ
ตั้งครรภได 24-28 สัปดาห โดยไมตองอดอาหารมากอน ถาระดับนํ้าตาลกลูโคสในพลาสมาที่ 1
ชั่วโมงหลังดื่มนํ้าตาลกลูโคส 50 กรัม มีคา ≥ 140 มก./ดล. ถือวามีความผิดปกติ ตองตรวจยืน
ยันดวย 100 กรัม Oral glucose tolerance test (OGTT) ตอไป

         1.2.4 สาเหตุของโรคเบาหวาน
         โรคเบาหวานเกิดจากสาเหตุรวมระหวางกรรมพันธุกับสิ่งแวดลอม
         โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เปนผลจากการที่ β-cell ถูกทําลายอยางมาก ทําใหสรางอินซูลิน
เพื่อควบคุมระดับนํ้าตาลกลูโคสไมได มีนักวิชาการหลายทานพยายามสรุปวา autoimmune
และการติดเชื้อไวรัส (หัด ตับอักเสบ คางทูม และ cytomegalovirus) เปนสาเหตุท่ทําใหเกิดโรค
                                                                               ี
เบาหวานชนิดที่ 1 ไดเหมือนๆ กัน ในประเด็นการติดเชื้อไวรัส ยังไมมีหลักฐานที่สรุปความ
เกียวของจนเปนขอยุติไดอยางชัดเจน แตประเด็นของพันธุกรรมนั้น พอจะสามารถอธิบายไดวา
   ่
ความไวตอการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ขึ้นอยูกับ human leucocyte antigen (HLA) ซึ่งอยูที่
ผิวของ T lymphocytes ซึ่ง HLA นีถูกควบคุมโดยกรรมพันธุ
                                   ้
         โรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีการสรุปจากการวิเคราะหหลาย ๆ ครั้ง วามีสาเหตุจาก
กรรมพันธุและสิ่งแวดลอมเชนเดียวกัน โดยที่โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไมไดมีการทําลาย β-cell
จึงยังมีการสรางอินซูลินอยู แตเซลลรางกายดื้อตออินซูลิน จึงตองการอินซูลนในปริมาณที่มาก
                                                                            ิ
กวาปกติ พบบอยในคนที่มีนํ้าหนักเกินและมีไขมันในกลามเนื้อ เซลลของผูสูงอายุมักสูญเสีย

                                                                                              4
ความสามารถในการตอบสนองตออินซูลิน การดื้อตออินซูลินมักเชื่อมโยงกับความดันโลหิตสูง
และระดับไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ควบคุมไดโดยการลดนํ้าหนักดวยการควบคุม
อาหารและออกกําลังกาย บางครั้งอาจตองใชยารวมดวย
        อาการของโรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิด จะมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวาเกณฑท่กลาวไวใน
                                                                           ี
1.2.3 ทําใหมีการตอไปนี้
        • กระหายนํ้า
        • ปสสาวะบอย
        • ออนเพลีย
        • ตามัว
        • นํ้าหนักลด



         1.2.5 ภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวาน
         โรคเบาหวานเปนโรคที่รายแรง ถาไมถูกตรวจพบแตแรกเริ่มแลวรีบใหการรักษา จะนําสู
ภาวะแทรกซอนมากมาย โรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิดมีผลตอ ตา ไต ประสาท และเสนเลือดขนาด
ใหญ เปนผลใหตามองไมเห็น การที่ตองถูกตัดอวัยวะ เชน แขน ขา และมีอาการไตวาย กลาม
                                    
เนื้อหัวใจตาย
         โรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิดมีความสัมพันธกบการเกิดภาวะแทรกซอน ซึ่งกระบวนการที่จะ
                                              ั
เกิดภาวะแทรกซอนคือ การควบคุมกลไกรางกายผิดปกติ ไดแกการมีระดับนํ้าตาลกลูโคสใน
เลือดสูง และ ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ ซึ่งในระยะตอมาจะกระทบตอทั้ง Micro และ Macro
vascular system (micro-เสนผาศูนยกลางนอยกวา 100 ไมครอน macro-เสนผาศูนยกลาง 100
ไมครอนขึ้นไป) ซึ่งพบไดในโรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิด
         ภาวะแทรกซอนใน Micro vascular system พบมากในผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 1
เปนภาวะที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและโครงสรางของหลอดเลือดเล็ก มีผลตอ
ดวงตา (retinopathy) ไต (nephropathy) และประสาท (neuropathy) ทังนี้มีความชุกในผูปวย
                                                                      ้
โรคเบาหวานชนิดที่ 1 ประมาณ รอยละ 45 ชนิดที่ 2 ประมาณรอยละ 35
         สําหรับผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีผลมาจากการดูดซึมนํ้าตาลกลูโคสเขากลามเนื้อ
และไขมัน รวมกับการที่ตับเพิ่มการผลิตนํ้าตาลกลูโคส และการหลั่งอินซูลินที่ผิดปกติเพราะ β-
cell สูญเสียการทําหนาที่หรือจํานวนไมเพียงพอกับความตองการที่เพิ่มขึ้น สงผลกระทบใหสญ ู
เสียการควบคุมการใชพลังงานของรางกาย (fuel utilization) มีการเพิ่มขึ้นของ free fatty acids
(FFA) ทําใหมีไขมันไตรกลีเซอไรดชนิด LDL ในเลือดเพิ่มขึ้น และไขมันกลีเซอไรดชนิด HDL
ในเลือดลดลง มีผลตอ macro vascular system นําไปสู โรคหัวใจขาดเลือด กลามเนื้อหัวใจตาย
และเสนโลหิตในสมองแตก โรคทั้ง 3 นี้ เปนสาเหตุการตายของผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ถึง
ประมาณรอยละ 80



                                                                                        5
สถิตสภาวะสุขภาพและปญหาของประชาชนไทย ในเอกสาร Thailand Health Profile,
           ิ
1997-1998 แสดงความชุกของโรคเบาหวานเปน 147.2 ตอประชากรแสนคน ในป พ.ศ. 2540
และเอกสารสถานะสุขภาพคนไทยสรุปสาเหตุการตายวา โรคเบาหวานเปนสาเหตุการตายโดย
ตรงของคนไทยในอัตราตาย 29 ตอประชากรแสนคน โดยอัตราการตายในเพศหญิงเปน 38.3
ชายเปน 28.1 ตอประชากรแสนคน แตยังมีการตายที่มีสาเหตุมาจากสภาวะแทรกซอนของโรค
เบาหวานอีกจํานวนหนึ่งดวย ดังตารางที่1

ตารางที่ 1 อัตราการตายจําแนกตามสาเหตุการตายตามกลุมโรคและเพศ ป พ.ศ.2541

    อัตราตายรวม 2 เพศ             อัตราตายในเพศชาย              อัตราตายในเพศหญิง
          (ตอแสน)                      (ตอแสน)                      (ตอแสน)
1.โรคติดเชื้อ          101    1.โรคติดเชื้อ          132    1.ระบบไหลเวียนเลือด 99.6
2. ระบบไหลเวียนเลือด   100    2.สาเหตุภายนอก         121    2.มะเร็ง               82.8
3.มะเร็ง               94.2   3. มะเร็ง              106    3.โรคติดเชื้อ          70.7
4.สาเหตุภายนอก         79.2   4.ระบบไหลเวียนเลือด 100       4.เบาหวาน              38.3
5.ทางเดินหายใจสวนลาง 37.2   5.ทางเดินหายใจสวนลาง 48.3   5.สาเหตุภายนอก         37.5
6.เบาหวาน              29.0   6.เบาหวาน              28.1   6.ทางเดินหายใจสวนลาง 18.7
7.ระบบทางเดินอาหาร     23.4   7.ระบบทางเดินอาหาร     19.6   7.ระบบทางเดินอาหาร 16.6
8.ไต& ทางเดินปสสาวะ 17.7     8.ไต& ทางเดินปสสาวะ 18.9     8.ไต& ทางเดินปสสาวะ   10.1
9.ระบบประสาท           11.9   9.ระบบประสาท           13.7   9.ระบบประสาท            6.8
10.ระบบกลามเนื้อ       5.8   10.โรคตอมไรทอ       5.8    10.ระบบกลามเนื้อ       6.2
11.โรคตอมไรทอ        5.6   11.ระบบกลามเนื้อ      4.7    11.โรคตอมไรทอ        4.5
12.ชราภาพ               4.5   12.ชราภาพ              4.5    12.ชราภาพ               4.5
อื่นๆ                   7.6   อื่นๆ                  6.2    อื่นๆ                   2.9
อัตราตายรวม            520    อัตราตายรวม            612    อัตราตายรวม            424

ที่มา: จันทรเพ็ญ ชูประภาวรรณ. สถานสุขภาพคนไทย ชุดสุขภาพคนไทยป พ.ศ. 2543

         1.2.6 การรักษา
         เนืองจากโรคเบาหวาน 2 ชนิด มีสาเหตุท่แตกตางกัน การรักษาจึงแตกตางกันดวย ผู
            ่                                    ี
ปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ตองมีการฉีดอินซูลินทันทีที่ตรวจพบ เพราะ β-cell ถูกทําลาย แต
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เริ่มตนรักษาดวยการควบคุมอาหารและการออกกําลังกายเพื่อควบคุม
ระดับนํ้าตาลในเลือด ถาไมไดผลจึงใชยาเม็ดลดนํ้าตาล (oral hypoglycemic agent-OHA) และ
เมื่อโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เปนมากขึ้นการใชยา OHA จะไมไดผล จึงใชการฉีดอินซูลิน

                                                                                     6
การรักษาโรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิด มีวัตถุประสงคโดยรวมเหมือนกัน คือ ลดอาการที่
เกิดจากมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูง
         การรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 1 รักษาโดยการฉีดอินซูลินตั้งแตรูวาเปนโรคนี้ การฉีด
อินซูลินอาจมีผลคางเคียงบาง ไดแก ภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า (hypoglycemia) Lipodystrophy
ภาวะแพยา ระยะแรกที่ฉีดอาจมีอาการบวมบาง ตามัวบาง และการมีนํ้าหนักตัวเพิ่ม แตผลขาง
เคียงที่สํ าคัญ คือ ภาวะนํ้ าตาลในเลือดตํ่ า ซึ่งสามารถแกไขโดยใหดื่มอาหารเหลวพวก
คารโบไฮเดรตที่ดูดซึมเร็ว เชน นํ้าตาล 1 ชอนโตะผสมกับนํ้า 100 มล.
         การฉีดอินซูลิน The Diabetes Control and Communications Trial (DCCT) ซึ่งเนน
การศึกษาวิธีการจัดการโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ไดสรุปเปนขอเสนอวา วิธีการที่ดีของการฉีด
อินซูลินคือ การเลียนแบบอินซูลินตามธรรมชาติมากที่สุด วิธการนี้เรียก “intensive” โดยการฉีด
                                                           ี
วันละ 3 ครั้งขึ้นไป ใชขอกําหนด “basal-bolus” ซึงประกอบดวยการฉีดอินซูลินแบบออกฤทธิ์
                                                    ่
เร็วตามมื้ออาหารเพื่อรักษาระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดที่แกวงขึ้นลง และฉีดอินซูลินแบบออก
ฤทธิ์ปานกลางหรือชา 1 ครั้ง เพื่อรักษาระดับตํ่าสุดที่รางกายตองการ ปจจุบันมีการใชปากกา
อินซูลนที่สามารถปรับขนาดยาและพกพาไดใหผูปวยใชไดสะดวกมากขึ้น นอกจากนี้ DCCT ยัง
      ิ
ใหขอมูลอีกวา การฉีดอินซูลินโดยการปฏิบัติตามคําแนะนําอยางเครงครัดชวยลดความเสี่ยงตอ
การเปนโรคตาประมาณรอยละ 76 โรคไตเปนภาวะแทรกซอนจากโรคเบาหวานประมาณรอยละ
54 และการทําลายประสาทประมาณรอยละ 60 ในประเทศไทยสมาคมตอมไรทอแหงประเทศ     
ไทยแนะนําใหฉีดอินซูลินวันละ 2 ครั้งหรือมากกวานั้นขึ้นไป อยางไรก็ตามการดูดซึมอินซูลิน
ของผูปวยแตละคนมีความแตกตางกัน
         การรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ขั้นตอนแรก คือ การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ
และออกกําลังกายมากขึ้น ในผูปวยนํ้าหนักตัวเกิน การลดนํ้าหนักมีความสําคัญ ถาทําทั้งสอง
อยางแลวยังรักษาระดับนํ้าตาลไมไดระดับที่เหมาะสมจึงจะใหรับประทานยา OHA หรือการฉีด
อินซูลิน
         ยาและผลของยาที่จัดอยูในกลุม OHA มีดังนี้
         • Sulphonylureas การะตุนใหตับออนหลั่งสารอินซูลินมากขึ้น
         • Biguanides (metformin) ลดการสรางนํ้าตาลกลูโคสของตับ และชวยการดูดซึม
              นํ้าตาลกลูโคสเขาสูเนื้อเยื่อมากขึ้น
         • Alpha-glucosidase inhibitors ชลอการยอยคารโบไฮเดรตในลําไส
         • Prandial glocose regulator รับประทานในมื้ออาหารชวยกระตุนการหลั่งอินซูลิน
         • Insulin sensitisers ชวยใหมีความไวตออินซูลิน

       การใชยากลุม OHA เพื่อชวยควบคุมระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือด มีทางเลือก 3 ทาง คือ
       ทางเลือกที่ 1 ใชยากลุม OHA เพียงอยางเดียว
       ทางเลือกที่ 2 ใชยากลุม OHAs 2 ชนิดรวมกัน

                                                                                       7
ทางเลือกที่ 3 ฉีดอินซูลินอยางเดียว หรือรวมกับการใชยากลุม OHAs

          อยางไรก็ตามการรับประทานยากลุม OHA จะมีประสิทธิผลเมื่อรางกายสามารถสราง
อินซูลินไดอยู ผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 บางคนใชไมไดแลว ตองฉีดอินซูลินเทานั้น และใน
ชวงที่มีการเจ็บปวยรุนแรงอาจตองฉีดอินซูลินแทนการใชยากลุม OHA ชั่วคราว
          ในการรักษาระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดของผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตองจัดการ
ปจจัยเสี่ยงดวย เชน ความดันโลหิตสูง ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ การสูบบุหรี่
          เอกสารทางวิชาการที่ United Kingdom Prospective Diabetes Study (UKPDS) พิมพ
เผยแพรปลายป พ.ศ.2541 แนะนําวา การรักษาระดับนํ้าตาลในเลือดใหใกลเคียงกับปกติมาก
เทาใด ยิงลดภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานไดมากเทานั้น โดยมีผลการศึกษาวา การควบคุม
           ่
ระดับนํ้าตาลในเลือด สามารถลดโรคตาประมาณรอยละ 25 ลดการทําลายไตระยะแรกได
ประมาณรอยละ 33 การควบคุมความดันโลหิตดีขึ้นประมาณรอยละ 33 ทําใหลดการตายจาก
โรคแทรกซอนระยะยาว และความเสี่ยงถอยอยางรวดเร็วของการมองเห็น

       1.2.7 สิ่งที่ผูปวยโรคเบาหวานควรรู
       การควบคุมโรคเบาหวานจํ าเปนตองมีความรวมมือจากทีมสุขภาพ ซึ่งประกอบดวย
แพทย ทันตแพทย พยาบาล นักสุขศึกษา โภชนาการ ตัวผูปวย ญาติของผูปวย และผูเชี่ยวชาญ
เฉพาะโรคแทรกซอนที่จําเปนของแตละคน โดยมีความรูพื้นฐานที่ควรรู ไดแก

       (1) ตัวผูปวยเองเปนบุคคลที่สําคัญที่สุดของทีม ในการควบคุมโรคเบาหวาน
       (2) พฤติกรรมที่จําเปนตองปรับ เชน การออกกําลังกาย การควบคุมอาหาร สุขนิสย     ั
           สวนบุคคล
       (3) ชนิดและปริมาณของอินซูลินที่ใชฉีด หรือยาที่ใชรับประทานลดนํ้าตาล
       (4) เวลาที่ฉดอินซูลินหรือรับประทานยา
                     ี
       (5) วิธีการฉีดอินซูลิน
       (6) เวลาทีอินซูลินออกฤทธิ์และเวลาที่ออกฤทธิ์สูงสุด
                   ่
       (7) วิธีการตรวจระดับนํ้าตาลและควรตรวจเมื่อใด
       (8) สาเหตุและวิธีการแกไข ถาเกิดผลขางเคียงที่มีระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่าเกินไป
       (9) ความสําคัญของการรักษาระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดใหอยูในระดับที่ยอมรับไดอยู
           เสมอ
       (10) เมื่อไรที่ตองไปพบแพทย
       (11) ความสําคัญของการมีความรูเรื่องเกี่ยวกับโรคเบาหวานใหมาก




                                                                                         8
2 โรคเบาหวานกับสุขภาพชองปาก
        ภาวะแทรกซอนในชองปาก พบในผูปวยโรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิดที่ควบคุมไมได มีการ
ศึกษาหลายครั้งที่แสดงใหเห็นวา เมื่อมีการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดไดสมํ่าเสมอจะชวยลด
อาการแสดงของโรคแทรกซอนในชองปากได และในผูปวยบางคนไมมีอาการเลย ภาวะแทรก
ซอนในชองปากของผูปวยโรคเบาหวานพบไดตั้งแต มีความชุกของโรคปริทันตสูงกวาและมี
ความรุนแรงมากกวาผูที่ไมมโรคเบาหวาน การมีอาการปากแหง การมีกลุมอาการแสบรอนใน
                           ี
ชองปาก การติดเชื้อราในชองปาก (Candidiasis) การที่แผลในชองปากหายชา การมีความไว
ตอการติดเชื้อมากขึ้น การไหลของนํ้าลายลดลง และการมีตอมนํ้าลายโต
        สภาวะแทรกซอนเหลานี้ บางอยางมีความสัมพันธโดยตรงกับการสูญเสียของเหลวที่
เกียวของกับการปสสาวะมากขึ้น ในผูปวยโรคเบาหวานที่ควบคุมไมได ขณะที่อาการปากแหง
   ่
(Xerostomia) มักเปนผลขางเคียงจากการรับประทานยาของผูปวย
        อาการปากแหงเปนผลที่ตามมาของการหลั่งนํ้าลายลดลง นําไปสูกลุมอาการแสบรอนใน
ชองปากและฟนผุได ทั้งยังทําใหเกิดการติดเชื้อราไดงายขึ้น การศึกษาบางชิ้นแสดงใหเห็นวา มี
ความชุกของโรคฟนผุเพิ่มขึ้น แตการศึกษาบางชิ้นแสดงผลตรงกันขาม โดยมีคําอธิบายวา การ
เกิดโรคฟนผุอาจมีอิทธิพลจากการเพิ่มระดับนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายที่หลั่งออกมาของผูปวยโรค
เบาหวานที่ควบคุมไมได ขณะที่ผูควบคุมโรคเบาหวานไดน้น มีฟนผุลดลง เพราะการลดรับ
                                                             ั     
ประทานอาหารแปงและนํ้าตาล
        การประเมินการควบคุมโรคเบาหวานที่เชื่อถือไดโดยบุคลากรวิชาชีพ คือ การทดสอบ
glycosylated hemoglobin นํ้าตาลกลูโคสจะจับอยางถาวรกับ hemoglobin เปน advanced
glycosylated end products (AGE) ซึ่งจะอยูในกระแสเลือด 90 วัน มีการทดสอบ glycosylated
hemoglobin 2 แบบ แบบที่นิยมใชคอ hemoglobin A1c (HbA1c) ผลของการทดสอบแสดงเปน
                                     ื
เปอรเซ็นตที่พบ HbA1c ในกระแสเลือด
        การแปลผลคา HbA1c ที่แนะนําเปนดังนี้

                     ผล                                   คาการทดสอบ (รอยละ)
ปกติ                                                              4-6
ควบคุมไดดี                                                       <7
ควบคุมไดปานกลาง                                                  7-8
ตองปรับปรุงการควบคุม                                             >8

ที่มา : Dr Heddie O.Sedano.Dental Implications of Diabetes Mellitus. Periodontics
Information Center, UCLA.




                                                                                           9
2.1 โรคเบาหวานกับโรคปริทันต
          มีผลการศึกษาที่มีนัยสําคัญทางสถิติแสดงวา โรคเบาหวานเปนปจจัยนําปจจัยหนึ่งของ
การเกิดโรคปริทันต พบผูปวยโรคเบาหวานที่ควบคุมไมไดมีการอักเสบของเหงือกมากผิดปกติ
                               
มากกวาผูที่ควบคุมได ทั้งๆ ที่มีคราบจุลินทรียเพียงเล็กนอย ผูปวยโรคเบาหวานที่ควบคุมไดดีมี
ความชุกของเหงือกอักเสบและโรคปริทันตเหมือนผูที่ไมปวย ผูปวยโรคเบาหวานที่อายุนอยมี
ความชุกของเหงือกบวมจากการอักเสบ และโรคปริทันตมากกวาคนปกติที่อายุเทากัน การเกิดฝ
หนองปลายรากซํ้าซากเปนลักษณะเฉพาะของผูปวยโรคเบาหวาน โรคปริทันตของผูปวยโรค
เบาหวานที่เปนผูใหญและมีอายุนอย จะมีอาการแสดงทางคลินิกรุนแรงกวาผูที่ไมปวย
          การเพิ่มขึ้นของความชุกของเหงือกอักเสบและโรคปริทันตในผูปวยโรคเบาหวานมีขอ
สรุปวา มีสาเหตุจากหลายปจจัยรวมกัน ไดแก การสะสมของ advanced glycosylated end
products (AGE) ในเสนเลือดของเหงือก สะสมในคอลลาเจนของเยื่อยึดปริทนตและกระดูกเบา
                                                                                ั
ฟน การเพิ่มขึ้นของระดับไขมัน LDL รวมกับการมีการหนาตัวของผนังเสนเลือดแดง การมี
ระดับนํ้าตาลในเลือดสูงที่รบกวนการหายของแผลโรคปริทันต การเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาของ
ภูมิคุมกัน การเพิ่มอ็อกซิเดชั่น การเปลี่ยนแปลงหนาที่ของ polymorphonuclear leukocyte และ
พันธุกรรมเปนปจจัยสนับสนุนใหเกิดโรคปริทันตในผูปวยโรคเบาหวาน โดยบางปจจัยเปนขอ
สรุปที่เขาใจกันทั่วไปวา ยังตองการการศึกษาเพิ่มเติม มีปจจัยหนึ่งที่สําคัญที่สุดนั่นคือ การควบ
คุมระดับนํ้าตาลในเลือด ซึ่งผูท่มีการควบคุมนํ้าตาลกลูโคสที่ยิ่งแยจะยิ่งทําใหโรคปริทันตรุนแรง
                                  ี
ขึ้น
          มีหลายการศึกษาที่แสดงใหเห็นวา ถาผูปวยโรคเบาหวานดูแลสภาวะปริทันตไดดีก็จะ
สามารถทําใหสภาวะโรคเบาหวานดีขึ้น ในระดับที่หลายคนสามารถลดปริมาณอินซูลินที่ใชฉีด
ลงได ความสัมพันธนี้เปนการศึกษาโดยเก็บคาการลดลงของ AGE ในกระแสเลือดหลังจากให
การรักษาโรคปริทันตดวยวิธีปกติ
          ผูทเปนโรคเบาหวานมีความไวตอการติดเชื้อในชองปาก รวมทั้งโรคปริทันต โดยเฉพาะ
             ี่
อยางยิ่ง ชวงเวลาที่มีการควบคุมระดับนํ้าตาลไมดี และกลับกันการที่มีโรคปริทันตที่มีอาการ
สามารถทําใหเสียการควบคุมระดับนํ้าตาลได การมีโรคปริทันตจะเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิด
ภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวาน ไดแก โรคของหลอดเลือดหัวใจ และเสนโลหิตอุดตันในสมอง
นอกจากนี้ ยังตองใหความสนใจสภาวะชองปากของสตรีมีครรภท่เปนโรคเบาหวาน ซึ่งนอกจาก
                                                                    ี
จะเสี่ยงตอการคลอดบุตรกอนกําหนดและมีนํ้าหนักตํ่ากวาปกติ แลวยังมีความเสี่ยงตอโรคปริ
ทันตเพิ่มขึ้น ผลกระทบทางลบของโรคปริทันตตอโรคเบาหวาน เชน การเสียการควบคุมนํ้าตาล
และสูญเสียฟน สามารถหลีกเลี่ยงไดดวยการคัดกรอง สงตอและรักษาโรคปริทันต ผูปวยโรคเบา
หวานที่จําเปนตองไดรับการคัดกรองโรคในชองปากสมํ่าเสมอ และสงไปรับการรักษาจากทันต
แพทยหรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางอยางเหมาะสม




                                                                                             10
2.2 โรคเบาหวานกับโรคฟนผุ
          Twetman และคณะ พ.ศ.2545 ศึกษาอุบัติการณของโรคฟนผุในผูปวยโรคเบาหวาน
                                                                              
ชนิดที่ 1 และปจจัยเสี่ยงตอโรคฟนผุ ศึกษาในกลุมอายุ 8-15 ป จํานวน 64 คน ที่เปนโรคเบา
หวานมานานอยางนอย 3 ป เมื่อวินิจฉัยโรคแลวดําเนินการควบคุมโรคโดยการฉีดอินซูลินแบบ
ออกฤทธิ์เร็วในเวลากลางวันและแบบออกฤทธิ์นานในเวลากลางคืน ตามขนาดที่เหมาะสมของ
แตละราย แลวเก็บขอมูลระดับนํ้าตาลในเลือด และ Metabolic control (HbA1c) โดยเก็บจากราย
งานทางการแพทย สําหรับสุขภาพชองปากนั้น เก็บขอมูลนํ้าลายทุก 3 เดือน โดยวัดอัตราการ
หลั่งนํ้าลาย ความสามารถในการปรับสภาพความเปนกรด ความเขมขนของนํ้าตาลกลูโคสในนํ้า
ลาย การนับเชื้อ S. Mutans และ Lactobacilli ในนํ้าลาย มีการตรวจฟน ซึ่งรวมการตรวจดวย
รังสี ปละ 1 ครั้ง เปนเวลา 3 ป พบวา ผูปวยโรคเบาหวานที่มี metabolic control ที่ไมดี (HbA1c
> รอยละ 8.0) มีความเขมขนของนํ้าตาลในนํ้าลายสูงกวา และมีอุบติการโรคฟนผุมากกวา ผู
                                                                      ั
ปวยโรคเบาหวานที่มี metabolic control ดี อยางมีนัยสําคัญ นอกจากนี้ ยังพบวาปจจัยที่มีอิทธิ
พลตอการเกิดโรคฟนผุ ไดแก การมีอนามัยชองปากไมดี (OR= 6.5) metabolic control (OR=
5.7) การมีฟนผุอยูเดิม (OR= 5.3) การมีเชื้อ Lactobacilli สูงในนํ้าลาย (OR= 5.0)

         Karjalanen จาก Oulu University, Finland พ.ศ.2543 ศึกษาความสัมพันธระหวาง
สภาวะโรคเบาหวานกับโรคปริทันต โรคฟนผุ และปจจัยในนํ้าลาย ในกลุมผูปวยโรคเบาหวานที่
                                                                          
มีอายุ 12-18 ป พบวา โรคฟนผุและเหงือกอักเสบมีความสัมพันธกับโรคเบาหวานที่มีการควบ
คุมไมดี โดยพบวา มีการเพิ่มขึ้นของความชุกของโรคฟนผุและความรุนแรงของเหงือกอักเสบใน
กลุมผูปวยที่มีการควบคุมโรคเบาหวานไมดี ซึ่งวัดโดยคา HbA1 รอยละ 13 ขึ้นไป เมื่อศึกษาเปน
   
เวลา 6 เดือน
2.3 โรคเบาหวานกับปจจัยของนํ้าลาย

          Harrison และ Bowen พ.ศ.2530 พบวา ผูปวยโรคเบาหวานที่มีการควบคุมไมดีมีการ
หลั่งนํ้าลายนอยกวาผูปวยที่มีการควบคุมดี และ Sreebny และคณะ พ.ศ.2535 พบวา ผูปวย
โรคเบาหวานที่เปนผูใหญมีอัตราการไหลของนํ้าลายเปนปฏิภาคกลับกันกับระดับ HbA1c สวน
Cherry-Pepper และคณะ พ.ศ.2535 พบวา ผูปวยโรคเบาหวานกลุมที่มี Impaired glucose
tolerance (IGT) และกลุมควบคุม มีอัตราการไหลของนํ้าลายเทากัน
       Reuterving และคณะ พ.ศ.2530 ตรวจปจจัยของนํ้าลายในผูปวยโรคเบาหวานจํานวน
11 ราย ตอนเริ่มตน และตรวจหลังจาก Metabolic control ที่ดีขึ้น 1-5 เดือน พบวา การมี
metabolic control ที่ดีขึ้นไมกระทบตอความผันแปรของอัตราการไหลของนํ้าลาย แตมีระดับนํ้า
ตาลกลูโคสในนํ้าลายดีขึ้น




                                                                                            11
Tenovuo และคณะ พ.ศ.2529 วิเคราะหระดับนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลาย ทังที่ถูกกระตุน
                                                                             ้
ในนํ้าลายที่หลั่งตามธรรมชาติ และในเลือดของผูปวย 7 คน จํานวนตัวอยางที่วิเคราะหมากกวา
100 ตัวอยาง พบมีความผันแปรของนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายอยางมาก และในรายบุคคลมี
สหสัมพันธระหวางนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายกับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดแตกตางกันมาก บางราย
มีสหสัมพันธกันสูง บางรายมีสหสัมพันธตํ่า บางรายนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายไมมีการเปลี่ยน
แปลง แมวานํ้าตาลกลูโคสในเลือดจะสูงมากก็ตาม
        Englander และคณะ พ.ศ.2505 Reuterving และคณะ พ.ศ.2530 Ben-Aryeh และคณะ
พ.ศ.2531 พบวา นํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายจาก parotid gland มีความสัมพันธอยางมากกับนํ้า
ตาลกลูโคสในเลือดมากกวาในนํ้าลายจากหลายๆ ตอมผสมกัน และ Kjellman พ.ศ.2513 Ficara
และคณะ พ.ศ.2518 พบวา นํ้าตาลกลูโคสในของเหลวในรองเหงือก มีความสัมพันธอยางมาก
กับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดมากกวาในนํ้าลายจากหลายๆ ตอมผสมกัน เชนกัน
         Borg Anderson และคณะ พ.ศ.2541 รายงานวา ในการไดรับคารโบไฮเดรตมาตรฐาน
เดียวกัน ระดับนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายจาก parotid gland ในคนสุขภาพดีสงขึ้นบาง แตในคน
                                                                        ู
ที่มี Impaired glucose tolerance (IGT) และคนที่เปนโรคเบาหวานที่ชัดเจนมีระดับสูงกวา
          สําหรับจํานวนเชื้อจุลินทรียในนํ้าลาย Reuterving และคณะ พ.ศ.2530 พบวา เมื่อมีการ
ควบคุมโรคเบาหวานใหมี metabolic control ดีขึ้นในผูปวยโรคเบาหวาน 11 คน แลวนับจํานวน
เชื้อนํ้าลายผสม (จากทุกตอมในชองปาก) จํานวนเชื้อ mutans streptococci ลดลงอยางมีนย       ั
สําคัญ ขณะที่ lactobacilli คงที่
        Twetman และคณะ พ.ศ.2532 รายงานวา มีจํานวน lactobacilli เพิ่มขึ้นเมื่อมีระดับนํ้า
ตาลกลูโคสในนํ้าลายเพิ่มขึ้น แตใน พ.ศ.2534 Twetman และคณะ พบวา ในระหวางการติด
ตามผลผูปวยที่เพิ่งวินิจฉัยวาเปนโรคเบาหวานชนิดที่ 1 เปนเวลา 2 ป ระดับนํ้าตาลกลูโคสใน
นํ้าลายมีแนวโนมลดลงในปที่ 2 มากกวาปที่ 1 และจํานวน lactobacilli ในนํ้าลายลดลงอยางมี
นัยสําคัญใน 6 เดือนแรก ขณะที่จํานวน mutans streptococci คงที่
         Darwazeh และคณะ พ.ศ.2533 พบวา ผูปวยโรคเบาหวานที่มียีสตในชองปาก จะมี
ระดับนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายสูงกวาผูที่ไมมียีสต แมวา Bartholomew และคณะ พ.ศ.2530
Fisher และคณะ พ.ศ.2530 Lamey และคณะ พ.ศ.2531 จะพบวา การเติบโตของยีสตไมมี
ความสัมพันธกับคา glycosylated haemoglobin และระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือด
         ปจจัยอื่นๆ ของนํ้าลาย Reuterving และคณะ พ.ศ.2530 พบวา ในผูปวยโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 1 ที่มี metabolic control ที่ดีและไมดี มีคา pH คาความสามารถในการปรับสภาพความ
เปนกรด หรือสวนประกอบของเอ็นไซมและโปรตีนหรือ electroytes พอๆ กัน


                                                                                        12
Karjalanen พ.ศ.2543 ศึกษาความสัมพันธระหวางสภาวะโรคเบาหวาน กับโรคในชอง
ปาก ไดแก โรคปริทันต โรคฟนผุ และกับปจจัยในนํ้าลาย ในผูปวยโรคเบาหวานอายุ 12-18 ป
เฉพาะปจจัยในนํ้าลาย พบวา ระยะที่มีอาการของโรคเบาหวาน จะมีการหลั่งนํ้าลายลดลง และ
ระดับนํ้าตาลในกลูโคสในนํ้าลายเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังพบวาจํานวนเชื้อจุลินทรียท่เพิ่มขึ้น โดย
                                                                                ี
เฉพาะอยางยิ่งยีสต มีความสัมพันธกับการหลั่งนํ้าลายที่ลดลง และระดับนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลาย
ที่เพิ่มขึ้น

2.4 โรคเบาหวานกับการติดเชื้อราในชองปาก (Thrush)

         ในปากมีเชื้อราเจริญเติบโตอยูแลว ผูปวยโรคเบาหวานมีความเสี่ยงตอการติดเชื้อ
เพราะเชื้อราเจริญไดดีในนํ้าลายที่มีระดับนํ้าตาลกลูโคสสูง ผูที่สูบบุหรี่ ผูใสฟนปลอม โดยเฉพาะ
อยางยิ่งผูที่ใสตลอดเวลา ก็ติดเชื้อราไดงาย การรักษาการติดเชื้อราตองใชยา ทั้งนี้การควบคุม
โรคเบาหวานไดดี การไมสูบบุหรี่ การทําความสะอาดฟนปลอมทุกวันจะชวยปองกันการติดเชื้อ
ราได

2.5 โรคเบาหวานกับอาการปากแหง

         ปากแหงเปนอาการหนึ่งของโรคเบาหวาน ที่สามารถพบไดตั้งแตยังไมถูกวินิจฉัยวาเปน
โรคนี้ อาการปากแหงทําใหรูสึกไมสบายในปาก อาจเกิดแผลที่ทําใหเจ็บปวด มีแผลติดเชื้อ และ
ทําใหฟนผุดวย
          อาการปากแหง ซึ่งแสดงวามีปริมาณนํ้าลายไมเพียงพอ นํ้าลายเปนของเหลวตามธรรม
ชาติที่ชวยปกปองชองปาก ชวยควบคุมการเติบโตของเชื้อโรคที่ทําใหฟนผุ และโรคติดเชื้ออื่นๆ
ของชองปาก ชวยลางอาหารเหนียวติดฟน
        อยางไรก็ตาม สาเหตุหนึ่งของการมีปากแหงคือ การรับประทานยา มีตัวยาที่ส่งโดย
                                                                              ั
แพทยและที่ซื้อขายกันเองมากกวา 400 ชนิด รวมทั้ง ยาแกหวัด ยารักษาความดันโลหิตสูง
ยาคลายเครียด สามารถทําใหปากแหงได การควบคุมนํ้าตาลกลูโคสในเลือดไดดีชวยปองกัน
หรือขจัดอาการปากแหงของผูปวยโรคเบาหวานได

2.6 บทบาทของทีมสุขภาพดีดูแลผูปวยโรคเบาหวาน

        นอกจากการใหความรูที่จําเปนในการดูแลตนเองตอผูปวยโรคเบาหวานหรือผูทําหนาที่
ดูแลแลว ผูประกอบวิชาชีพทันตกรรมควรใหความสนใจตอระดับของ glycaemic control การ
ปองกันโรคในชองปาก การรักษาโรคที่เกิดในชองปากอยางมีประสิทธิภาพในผูปวยโรคเบา
หวานที่มี metabolic control ไมดี (คา HbA1c รอยละ 10 ขึ้นไป) สําหรับผูปวยที่เปนผูใหญควร
ไดรบความรูเกี่ยวกับสภาวะโรคเบาหวานวา มีความเสี่ยงตอโรคปริทันตสูง และจําเปนตองไป
    ั


                                                                                             13
พบทันตแพทยสมํ่าเสมอ ในความถี่ตามสภาพของแตละคน บุคลากรทางการแพทยและการ
พยาบาลควรใหความสนใจโรคปริทันตในฐานะที่เปนโรคแทรกซอนโรคหนึ่งของผูปวยโรคเบา
หวาน และตองสงตอไปพบทันตแพทยตามเวลาที่เหมาะสม
         ผูปวยโรคเบาหวานที่ยังมีฟนจะตองไดรับการคัดกรองสภาวะชองปากดวย เมื่อมาตรวจ
           
เบาหวานตามปกติ เพื่อเห็นเหงือกและเนื้อเยื่อชองปากที่มีสีแดงกวาปกติ มีเลือดออก ลมหายใจ
มีกลิ่น มีเศษอาหารสะสมรอบๆ ฟน เหงือกรนจนผิวรากฟนโผล ฟนโยก สวนผูปวยโรคเบา
หวานที่ไมมีฟน ตองไดรับการคัดกรองหาการอักเสบหรือการเปลี่ยนรูปรางของเนื้อเยื่อชองปาก
แผลที่มีสีขาวหรือสีแดง โดยสามารถทําไดทั้ง แพทย พยาบาล บุคลากรวิชาชีพที่ดูแลสุขภาพ
และผูที่ทําหนาที่ดูแล ถาพบวา มีลักษณะอาการที่กลาวขางตนตองสงตอใหผูใหบริการทันต
กรรม แตถาไมพบ ผูปวยโรคเบาหวานก็ยังมีความจําเปนตองพบทันตแพทยเปนประจําตามที่
ทันตแพทยจะนัดเปนรายๆ ไป ตามสภาพปญหาของแตละคน
            ทันตแพทยควรเปนสมาชิกที่สําคัญคนหนึ่งของทีมดูแลผูปวยโรคเบาหวาน สาระที่ทันต
แพทยกับทีมดูแลจะตองสื่อสารทําความเขาใจกันคือ การทําใหผูปวยมีการควบคุมนํ้าตาลได
อยางเหมาะสมและมีการจัดการโรคเบาหวานที่ดี ผูปวยโรคเบาหวานควรไดรับการสงตอและ
การใหคําปรึกษาดานทันตกรรมเปนประจํา ขอเสนอของ Consensus Guidelines for Diabetes
Mellitus Care โดย Indiana State Department of Health จัดเมื่อกรกฎาคม พ.ศ.2544 เสนอ
ใหผูปวยโรคเบาหวานที่มีฟนพบทันตแพทยทุก 6 เดือน และผูปวยโรคเบาหวานที่ไมมีฟนพบ  
ทันตแพทยทุก 12 เดือน และถาตองการคัดกรองพบความผิดปกติ อาจนัดพบใหบอยขึ้นไดตาม
                                                                               
สภาพปญหาของแตละคน การดูแลชองปากตามมาตรฐานไดแก การตรวจปากและฟน ตรวจ
โรคปริทนตแบบเต็มรูปแบบ การรักษาโรคปริทันต ทั้งที่ตองผาตัดดวยหรือไมก็ตามรวมกับการ
          ั
ใชยาปฏิชีวนะ ใหคําแนะนําการดูแลชองปากอยางเครงครัดแกทั้งผูปวยและผูดูแล และนัดตรวจ
ชองปากสมํ่าเสมอ Moore และคณะ พ.ศ.2543 พบวา ผูปวยโรคเบาหวามักขาดความรูในเรื่อง
เกี่ยวกับโรคแทรกซอนในชองปาก จึงไดเสนอแนะใหการตรวจฟนครั้งแรกควรมีการใหทันตสุข
ศึกษาในประเด็นนี้ดวย

2.7 ขอเสนอแนะแนวทางการรักษาทางทันตกรรมใหผูปวยโรคเบาหวานที่ยังไมไดรับ
การวินิจฉัย

        การใหผูปวยที่มารับบริการทันตกรรมตอบแบบสอบถามที่ออกแบบไดดี จะสามารถระบุ
วา ผูมารับบริการทันตกรรมมีความเสี่ยงตอโรคเบาหวาน หรือเปนโรคเบาหวานที่ยังไมได
วินิจฉัยหรือไม โดยเฉพาะอยางยิ่ง โรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีตัวอยางคําถามพื้นๆ ที่เปนคําถาม
ทีเกียวของกับประวัตสวนบุคคลและประวัตครอบครัวที่ชวยได เชน ทานปสสาวะบอยในเวลา
  ่ ่                ิ                   ิ         
กลางคืนหรือไม ? ทานกระหายนํ้าบอยๆ หรือไม ? นอกจากนี้การทราบวา ผูมารับบริการมีน้า  ํ
หนักลดลงผิดปกติหรือไม การฉุนเฉียวงาย ชองปากแหง การติดเชื้อซํ้าซาก มีประวัติบาดแผล

                                                                                       14
หายชา สตรีที่มีบุตรที่มีนํ้าหนักแรกเกิดหนักมากเกินปกติ (> 4.5 กิโลกรัม) หรือมีประวัติการ
แทงบุตรโดยไมมีสาเหตุชัดเจนหลายๆ ครั้ง อาจมีแนวโนมการเปนผูปวยเบาหวานได ควรให
                                                                   
ความสนใจสอบถามผูมารับบริการที่อวนและมีอายุมากกวา 40 ป ถามีประวัติตามรายการขาง
ตน รวมกับการตรวจสุขภาพชองปากพบลักษณะตอไปนี้อยางนอย 1 อยางวา เปนโรคปริทันต
อยางรุนแรง มีประวัตการเปนโรคปริทนตซํ้าซาก มีฝหนองหลายตําแหนง มีประวัติการหายของ
                      ิ               ั
แผลในชองปากไมดี โดยเฉพาะอยางยิ่งแผลถอนฟน มีอาการปากแหง มีการติดเชื้อราในชอง
ปากนานๆ มีการสูญเสียของประสาทรับความรูสึก บุคคลที่มีลักษณะที่กลาวไปแลวมีโอกาสที่จะ
เปนโรคเบาหวาน ซึ่งตองการการตรวจหาโรคเบาหวานตอไปกอนทําการรักษาทางทันตกรรม
แตตองระลึกไวดวยวา การติดเชื้อราในชองปากเปนเวลานานๆ และนํ้าหนักลดอาจเปนลักษณะ
หลักที่พบในผูปวยโรคเอดสดวย
        ผูรับบริการทันตกรรม ที่ทนตแพทยคัดกรองวาอาจเปนผูปวยโรคเบาหวาน ควรไดรับ
                                 ั                           
การสงตอไปพบแพทยเพื่อตรวจวินิจฉัยยืนยันตอไป
       Periodontics Information Center, UCLA เสนอแนะวา ทันตแพทยที่ใหการรักษาทาง
ทันตกรรมใหแกผูปวยโรคเบาหวานควรมีความรูในเรื่องตอไปนี้
          (1) ผูปวยโรคเบาหวานที่มีการควบคุมอยางดี สามารถรับการรักษาทางทันตกรรมได
ทุกชนิด
         (2) ทันตแพทยควรรูวาผูปวยไดรับยาหรือฉีดอินซูลินชนิดใดและขนาดเทาใด
         (3) ทันตแพทยควรรูประวัตวา ผูปวยโรคเบาหวานที่มารักษาทางทันตกรรมมีประวัติ
                                       ิ
ของการมีนํ้าตาลในเลือดตํ่าเกิน (hypoglycemia) เพราะผูมีประวัติวาเคยจะมีโอกาสเปนซํ้าได
อีก
         (4) การหลีกเลี่ยงภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า สามารถทําไดโดยจัดเวลานัดใหเหมาะสม
โดยนัดชวงที่อินซูลินออกฤทธิ์เต็มที่ ซึ่งเปนชวงเวลาหลังการฉีดอินซูลิน ตั้งแต 30 นาที จนถึง
8 ชั่วโมง แลวแตชนิดของอินซูลินที่ใช
         (5) ตองแนะนําผูปวยไมใหเปลี่ยนชนิดอินซูลน เวลาที่ฉีด และเวลามื้ออาหารตามปกติ
                                                     ิ
         (6) ในคลินิกทันตกรรมควรเตรียมนํ้าสมคั้น หรือนํ้าตาลในรูปแบบอื่นๆ ไว
         (7) ถาผูปวยมีการตรวจวัดนํ้าตาลดวยตนเองอยูแลว ใหผปวยนําอุปกรณที่ใชวัดมาดวย
                                                                 ู
         (8) ไมควรใหผูปวยเกิดความเครียดเพราะจะกระตุนใหเกิดนํ้าตาลในเลือดสูงขึ้น
         (9) ถาตองมีการผาตัดในชองปากที่ใชเวลานานๆ ทันตแพทยผูรักษาควรปรึกษาแพทย
ประจําตัวผูปวย
         (10) ปรึกษาแพทยประจําตัวผูปวย ในกรณีที่ผูปวยมีโรคแทรกซอนเชน โรคไต โรคหัว
ใจ หรือผูปวยที่ควบคุมโรคเบาหวานไดยาก โดยมีการใชอินซูลินในขนาดสูง หรือผูปวยที่มีฝ
หนองปลายราก โดยบางกรณีอาจตองนอนโรงพยาบาล

                                                                                           15
(11) ผูปวยในลักษณะขอ 10 ตองไดรบยาปฏิชีวนะ เพื่อลดการติดเชื้อและชวยใหแผล
                                              ั
หายเร็วขึ้น
         ภาวะฉุกเฉินที่สามารถเกิดกับผูปวยโรคเบาหวานที่สําคัญ ไดแก ภาวะนํ้าตาลในเลือด
ตํ่า (hypoglycemia) ภาวะคีโตแอซิโดซีสจากเบาหวาน (diabetic ketoacidosis) ภาวะนํ้าตาลใน
เลือดสูงมากผิดปกติและหมดสติ (hyperosmolar nonketotic coma)
         ทันตแพทยที่เปนผูใหบริการทันตกรรมควรตระหนักถึงการปองกันการเกิดนํ้าตาลใน
เลือดตํ่าเฉียบพลัน ซึ่งเกิดเมื่อระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดตํ่ากวา 60 มก./ดล. อาจมากหรือนอย
กวานี้ในรายบุคคล ควรเตรียมนํ้าตาลในรูปแบบที่ดูดซึมเร็ว เชน นํ้าผลไม นํ้าตาลทราย ลูกอม
เปนตน ผูปวยที่อาการของนํ้าตาลในเลือดตํ่าจะดีขึ้นภายใน 10 ถึง 20 นาที หลังจากการไดรับ
ประทานนํ้าตาล 15 กรัม ซึ่งเทียบเทากับนํ้าผลไม 120 ถึง 180 มล. หรือนํ้าตาลทราย 4 ชอนชา
         ความสําเร็จของการรักษาทันตกรรมแกผปวยโรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิด ตองการขอมูล
                                                  ู
ประวัตสวนบุคคลและประวัติครอบครัวโดยละเอียด มีการปรึกษากับแพทยประจําตัวผูปวย และ
        ิ
ความรวมมือของผูปวยในการควบคุมนํ้าตาลในเลือดอยางเครงครัด

3 คําแนะนําในการดูแลสุขภาพชองปากสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน
         ผูปวยโรคเบาหวานควรไดรับขอมูลที่ชัดเจนในความเสี่ยงตอการติดเชื้อในชองปากและ
โรคปริทันต ผูใหขอมูลควรเลือกใชวิธีการถายทอดและอุปกรณเทาที่จําเปน เนื้อหาของการให
ขอมูลสุขภาพชองปากอยางนอยตองประกอบดวย
         (1) ผูปวยโรคเบาหวานพึงตระหนักวา ตนเองมีความเสี่ยงตอการติดเชื้อในชองปากเพิ่ม
                 
ขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง โรคปริทันต
         (2) การติดเชื้อในชองปากสามารถสงผลที่ไมดตอชีวิตผูที่เปนโรคเบาหวานได
                                                       ี
         (3) ผูปวยโรคเบาหวานจะมีความชุกและความรุนแรงของโรคปริทันตมากกวาคนปกติ
และยิ่งถาเปนโรคเบาหวานมานาน จะยิ่งมีมากขึ้น
         (4) โรคปริทันตอาจนําไปสูการสูญเสียฟน และเปนภาวะแทรกซอนที่รุนแรงอยางหนึ่ง
ของโรคเบาหวาน แตสามารถปองกันได
         (5) การดูแลชองปากสมํ่าเสมอชวยทําใหการควบคุมโรคเบาหวานทําไดดขึ้น  ี
         (6) มีความจําเปนที่ผูปวยโรคเบาหวานตองแจงแกทันตแพทย หรือทันตาภิบาลที่ใหการ
รักษาทางทันตกรรมวา เปนผูปวยโรคเบาหวาน
         (7) เนื่องจากโรคปริทันตมักไมคอยแสดงอาการใหเห็น และการรักษาจะไดผลดีตอง
รักษาตั้งแตเริ่มเปน ดังนั้น จึงมีความจําเปนตองปรึกษาทันตแพทยสมํ่าเสมอ รวมทั้งตองมีการดู
แลชองปากโดยบุคลากรวิชาชีพและดวยตนเอง
         (8) ปจจัยสําคัญของการปองกันการติดเชื้อในชองปาก ประกอบดวยโรคปริทันต การ
ควบคุมนํ้าตาลในเลือดที่ดี การควบคุมระดับไขมันในเลือด การรักษาอนามัยชองปาก และการดู
แลฟนสมํ่าเสมอ


                                                                                          16
Diabetes
Diabetes
Diabetes

More Related Content

What's hot

เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานbeam35734
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์Utai Sukviwatsirikul
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CkdTuang Thidarat Apinya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน Noon Nantaporn
 
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจโรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจMMBB MM
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney DiseaseCAPD AngThong
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nursetaem
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 

What's hot (20)

Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
DM diagnosis and management
DM diagnosis and managementDM diagnosis and management
DM diagnosis and management
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
Dm
DmDm
Dm
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
 
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจโรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
โรคเบาหวานป้องกันได้เพียงรู้และเข้าใจ
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Diseaseโรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
โรคไตเรื้อรัง Chronic Kidney Disease
 
Renal failure
Renal failureRenal failure
Renal failure
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
Clinical assessment of breast
Clinical assessment of breastClinical assessment of breast
Clinical assessment of breast
 
Breast imaging
Breast imagingBreast imaging
Breast imaging
 
Breast examination
Breast examinationBreast examination
Breast examination
 
Mammography physics and technique
Mammography  physics and techniqueMammography  physics and technique
Mammography physics and technique
 
PowerPoint Porn: 100 Sexy Slides [Safe For Work]
PowerPoint Porn: 100 Sexy Slides [Safe For Work]PowerPoint Porn: 100 Sexy Slides [Safe For Work]
PowerPoint Porn: 100 Sexy Slides [Safe For Work]
 
[系列活動] 人工智慧與機器學習在推薦系統上的應用
[系列活動] 人工智慧與機器學習在推薦系統上的應用[系列活動] 人工智慧與機器學習在推薦系統上的應用
[系列活動] 人工智慧與機器學習在推薦系統上的應用
 

Similar to Diabetes

Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusงานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusssuserfd76ce
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus ssuserfd76ce
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusงานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusssuserfd76ce
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงappcheeze
 
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
305519652-Diabetes-Mellitus.pptssuser2f1a7d
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานiceconan25
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน 54321_
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน54321_
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 

Similar to Diabetes (20)

DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusงานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
 
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitusงานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
งานนำเสนอโปสเตอร์ Diabetes mellitus
 
Diabetes mellitus
Diabetes mellitusDiabetes mellitus
Diabetes mellitus
 
ปานรภา
ปานรภาปานรภา
ปานรภา
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
305519652-Diabetes-Mellitus.ppt
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
Diabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosisDiabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosis
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 

Diabetes

  • 1. ความรูเรื่อง โรคเบาหวานกับสุขภาพชองปาก รวบรวมโดย… ทพญ.ดาวเรือง แกวขันตี กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546
  • 2. โรคเบาหวานกับสุขภาพชองปาก 1 บทนํา โรคเบาหวานเป น โรคเรื้ อ รั ง ที่ เ กิ ด จากการที่ ร  า งกายขาดอิ น ซู ลิ น หรื อ มี ภ าวะดื้ อตอ อินซูลิน ผลที่ตามมาคือ มีระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดสูง และชีวเคมีในรางกายเปลี่ยนแปลง นํา ไปสูภาวะแทรกซอนรุนแรงทั้งระยะสั้นระยะยาว โรคเบาหวานเปนสาเหตุนําของไตลมเหลว ตา บอดในผูใหญ การถูกตัดแขนขา และยังเปนปจจัยเสี่ยงหลักของโรคหัวใจ เสนเลือดสมองอุดตัน ความผิดปกติแตกําเนิด ทําใหความยืนยาวของชีวิตลดลงประมาณ 15 ป อัตราปวยและอัตรา ตายของประชากรโลกเพิ่มขึ้นจากทั้งโรคเบาหวานโดยตรง และจากภาวะแทรกซอน โรคเบาหวานมีความชุกเพิ่มขึ้นอยางมากในทุกประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยดวย ขอมูลขององคการอนามัยโลก (World Health Organisation-WHO) ในป พ.ศ. 2538 พบวา มี ประชากรเปนโรคเบาหวานมากกวา 135 ลานคน และคาดประมาณวาจะเพิ่มเปน 300 ลานคน ในป พ.ศ. 2568 และจากเอกสาร Thailand Health Profile, 1997-1998 ระบุวาความชุกของโรค เบาหวานของคนไทยในป พ.ศ.2538 มี 33.3 รายตอประชากรแสนคน เพิ่มขึ้นเปน 147.2 ราย ตอประชากรแสนคนในป พ.ศ.2540 ปจจุบันนี้ วงการทันตสาธารณสุขใหความสนใจกับความสัมพันธของโรคเบาหวานกับ สุขภาพชองปากมากขึ้น และไดนับโรคในชองปากเปนภาวะแทรกซอนอันดับที่ 6 ของโรคเบา หวานดวย The National Oral Health Information Clearinghouse แหงสหรัฐอเมริกาไดสรุปวา การติดเชื้อของเหงือกทําใหการควบคุมนํ้าตาลในเลือดของผูปวยโรคเบาหวานทําไดยาก ขณะ เดียวกันผูปวยโรคเบาหวานที่มีการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดไดดีสามารถปองกันปญหาที่ เกิดกับเหงือกได การดูแลและรักษาผูปวยโรคเบาหวานตองการความรวมมือทั้ง แพทย ตัวผู ปวย ญาติของผูปวย และทีมสุขภาพอื่นๆ ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขที่เปนทีมสุขภาพมีความจํา เปนตองมีความรูความเขาใจอยางถองแท ในเรื่องโรคเบาหวาน ทั้งนี้เพื่อใหผูปวยโรคเบาหวาน ไดมีคุณภาพชีวิตที่ดีไดเต็มตามศักยภาพที่ควรเปน 1.1 วัตถุประสงค เอกสารนี้ จัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมองคความรูพื้นฐานของโรคเบาหวาน ความเกี่ยวของ ของโรคเบาหวานกับสุขภาพชองปาก การดูแลสุขภาพชองปากของผูปวยโรคเบาหวาน ที่จํา เปนใหแกกลุมเปาหมายที่เปนบุคลากรสาธารณสุขที่มีภารกิจตองรับผิดชอบในการดูแลผูปวย โรคเบาหวานใหมีความรูความเขาใจอยางเพียงพอ เพื่อใหเกิดความมั่นใจในการดูแลและใหคํา แนะนํ าการดูแลผูปวยโรคเบาหวานอยางมีความมั่นใจมากขึ้น เอกสารนี้ไดจากการทบทวน เอกสารทางวิชาการทั้งในและตางประเทศ และจาก Website ทีคดเลือกวาเปนของสถาบันที่นา ่ ั เชื่อถือได ซึ่งองคความรูจากทั้ง 2 แหลงนี้ อาจทันสมัยอยูในชวงเวลาหนึ่ง ผูที่นําเอกสารไปใชมี ความจําเปนตองติดตามศึกษาและปรับองคความรูใหทันสมัยอยูเสมอ เพราะหลายประเด็นของ 1
  • 3. โรคเบาหวานยังไมสามารถสรุปรวมจนเปนยุติไดชัดเจน เชน การอธิบายสาเหตุที่แทจริงของโรค เบาหวาน เปนตน 1.2 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโรคเบาหวาน เอกสารชวงตนนี้เปนการทบทวนความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโรคเบาหวานโดยตรง ใน ประเด็นตอไปนี้ 1.2.1 โรคเบาหวานคืออะไร โรคเบาหวานมีลักษณะที่แสดงออกโดยการมีระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดสูงขึ้น เกิดมา จากรางกายสรางอินซูลินไมเพียงพอหรือการดื้อตออินซูลิน ปกติอินซูลินหลั่งออกมาโดย β-cell ซึ่งเปนเซลลพิเศษในตับออน อินซูลินเปนฮอรโมนที่สําคัญที่สุดของรางกายที่ชวยรักษาระดับนํ้า ตาลกลูโคสในเลือดและการที่ระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดสูงจนถึงระดับที่เปนโรคเบาหวาน จะมี ผลกระทบตอการรักษาระดับไขมันในเลือดดวย ทั้งนี้อินซูลินมีบทบาทหลักในการควบคุมความ คงทีและความสมดุลยของพลังงานในเลือด เพื่อควบคุม metabolism ของรวงกาย β-cell เปน ่ เซลลที่มีลักษณะเฉพาะ และมีการคัดลอกทางพันธุกรรม 1.2.2 ชนิดของโรคเบาหวาน ในป พ.ศ.2522 The National Diabetes Data Group ในสหรัฐอเมริกาไดจัดแบงโรค เบาหวานเปน 3 ชนิด ไดแก Type 1-insulin-dependent diabetes mellitus (IDDM), Type 2- non-insulin-dependent diabetes mellitus (NIDDM) และ Type 3 other types of diabetes (Pancreatic disease, Hormonal disease, Drug-thiazide diuretics, Lithium salts, Others) ซึ่งองคการอนามัยโลกไดรับมาใชในป พ.ศ.2523 และปรับปรุงเล็กนอยในป พ.ศ.2528 จากนั้น The American Diabetes Association Expert Committee ไดทบทวนเกณฑการวินิจฉัยโรค เบาหวานและไดปรับการแบงชนิดของโรคเบาหวานดังตอไปนี้ (1) ใชคําวา type 1 และ type 2 แทน IDDM และ NIDDM ในการกลาวถึงโรคเบา หวานชนิดหลักทั้ง 2 (2) ใชระดับนํ้าตาลกลูโคสในพลาสมาขณะอดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง (Fasting plasma glucose-FPG) วัด 2 ครั้ง เปนตัวชี้วัด (3) ระดับ FPG 126 มก./ดล. ขึ้นไป อยางนอย 2 ครั้ง จะถูกวินิจฉัยวาเปนโรคเบา หวาน (ระดับนี้เทากับ 200 มก./ดล. ใน Oral glucose tolerance test–OGTT) สําหรับประเทศไทย สมาคมตอมไรทอแหงประเทศไทยไดยึดตามสหพันธโรคเบาหวาน แหงสหรัฐเมริกา พ.ศ. 2540 จําแนกโรคเบาหวานเปน 4 ชนิด คือ (1) โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (type 1 diabetes) คือ โรคเบาหวานที่เกิดจากการทําลาย β- cell ของตับออน สวนใหญเกิดจาก autoimmune มีบางสวนที่ไมทราบสาเหตุ โรคเบาหวานชนิด 2
  • 4. นี้ สุดทายก็ตองใชอินซูลินเพื่อปองกัน ketoacidosis โดยที่ตองมีการควบคุมอาหาร ตองออก กําลังกายทุกวันและตองคอยตรวจระดับนํ้าตาลในเลือดเสมอ โรคเบาหวานชนิดนี้พบในเด็กและ ผูใหญที่มีอายุตํ่ากวา 30 ป (2) โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes) คือ โรคเบาหวานที่ไมเกี่ยวของกับ β-cell ถูกทําลาย แตเกิดจากภาวะดื้อตออินซูลินรวมกับความผิดปกติในการหลั่งอินซูลินของตับออน และการเพิ่มขึ้นของการสรางกลูโคสในตับ ผูปวยโรคเบาหวานชนิดนี้รางกายยังสามารถสราง อินซูลินไดบาง แตไมเพียงพอกับความตองการ (3) โรคเบาหวานชนิดอื่นๆ (Other specific type) คือ โรคเบาหวานที่เกิดจากความผิด ปกติทางพันธุกรรม ที่ทราบชัดเจน เชน โรคของตับออน ความผิดปกติของฮอรโมน ยาหรือสาร เคมีและอื่นๆ (4) โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ (Gestational diabetes)คือ โรคเบาหวาน หรือความผิด ปกติของความทนตอนํ้าตาลกลูโคสที่ไดรับครั้งแรกขณะตั้งครรภ 1.2.3 การวินิจฉัยโรค สมาคมโรคเบาหวานแหงสหรัฐอเมริกากําหนดวิธีและเกณฑการวินิจฉัยโรคเบาหวาน ไว ดังนี้ (1) fasting plasma glucose (FPG) มากกวา 126 มก./ดล. เปนวิธีที่นยมมาก (Fasting ิ หมายถึง อดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง) หรือ (2) การมีกลุมอาการของโรคเบาหวานรวมกับระดับนํ้าตาลกลูโคสในพลาสมาเมื่อเวลา ใดก็ได (Random plasma glucose) 200 มก./ดล. ขึ้นไป กลุมอาการหลักของเบาหวานไดแก ปสสาวะมาก ดื่มนํ้ามาก และการมีนํ้าหนักตัวลดลงโดยไมทราบสาเหตุ หรือ (3) การมีระดับนํ้าตาลกลูโคสในพลาสมา เมื่อ 2 ชั่วโมงหลังการทํา Oral glucose tolerance test (OGTT) 200 มก./ดล. ขึ้นไป วิธีการที่องคการอนามัยโลกกําหนดคือ ใหดื่มนํ้า ตาลกลูโคส (Anhydrous glucose) ที่ละลายในนํ้าในปริมาณ 75 กรัม นอกจากนี้ ยังตองยืนยันผลการทดสอบดวยการทําซํ้า ในวันอื่น และวิธีที่ 3 ไมแนะนํา ใหทําเปน Routine ในคลินิก สมาคมตอมไรทอแหงประเทศไทย ไดรับเกณฑและวิธีการนี้มาใชในประเทศไทยดวย นอกจากนี้ สมาคมไร ท  อแห ง ประเทศไทยได เสนอแนะในการคัดกรองโรคเบาหวาน เพราะโรคเบาหวานในระยะแรกจะไมกอใหเกิดอาการผิดปกติ ผูปวยโรคเบาหวานที่พบใหมมีไม  นอยที่ตรวจพบวา มีโรคแทรกซอนของเบาหวานแลว การคัดกรองหาเบาหวานในประชากรกลุม เสียงจะชวยใหมีการวินิจฉัยโรคเบาหวานและรักษาไดเร็วขึ้น ซึ่งเปนผลดีตอตัวผูปวยเอง โดย ่ เสนอใหแบงการคัดกรองเปน 2 กลุม คือ 3
  • 5. การคัดกรองโรคเบาหวานในผูที่ไมไดตั้งครรภ ผูที่เปนกลุมเสี่ยงไดแก ผูที่มีลักษณะใด ลักษณะหนึ่งตอไปนี้ (1) อายุ 40 ป ขึ้นไป (2) อวน (BMI≥ 25 กก./ม2 ) (3) มีญาติพี่นองเปนโรคเบาหวาน (4) เปนความดันโลหิตสูง (5) เปนโรคไขมันในเลือดผิดปกติ (ไตรกลีเซอไรด ≥ 250 มก./ดล. หรือ HDL ≤ 35 มก./ดล.) (6) มีประวัตเปนโรคเบาหวานขณะตั้งครรภหรือเคยคลอดบุตรนํ้าหนักเกิน 4 กก. ิ (7) เคยไดรับการตรวจพบเปน Impaired glucose tolerance (IGT-นํ้าตาลกลูโคสใน พลาสมาที่ 2 ชั่วโมงหลังดื่มนํ้าตาลกลูโคส 75 กรัม มีคา 140-199 มก./ดล.) หรือ Impaired fasting glucose (IFG-นํ้าตาลกลูโคสในพลาสมาขณะอดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง มีคา 110- 125 มก./ดล.) การคัดกรองโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ ควรทําทุกราย ยกเวนผูที่มีความเสี่ยงตํ่ามาก ไดแก ผูที่อายุนอยกวา 25 ป รวมกับมีนํ้าหนักตัวปกติ และไมมีประวัติโรคเบาหวานใน ครอบครัว โดยเสนอแนะใหทํา Glucose screening test โดยใหดื่มนํ้าตาลกลูโคส 50 กรัม ขณะ ตั้งครรภได 24-28 สัปดาห โดยไมตองอดอาหารมากอน ถาระดับนํ้าตาลกลูโคสในพลาสมาที่ 1 ชั่วโมงหลังดื่มนํ้าตาลกลูโคส 50 กรัม มีคา ≥ 140 มก./ดล. ถือวามีความผิดปกติ ตองตรวจยืน ยันดวย 100 กรัม Oral glucose tolerance test (OGTT) ตอไป 1.2.4 สาเหตุของโรคเบาหวาน โรคเบาหวานเกิดจากสาเหตุรวมระหวางกรรมพันธุกับสิ่งแวดลอม โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เปนผลจากการที่ β-cell ถูกทําลายอยางมาก ทําใหสรางอินซูลิน เพื่อควบคุมระดับนํ้าตาลกลูโคสไมได มีนักวิชาการหลายทานพยายามสรุปวา autoimmune และการติดเชื้อไวรัส (หัด ตับอักเสบ คางทูม และ cytomegalovirus) เปนสาเหตุท่ทําใหเกิดโรค ี เบาหวานชนิดที่ 1 ไดเหมือนๆ กัน ในประเด็นการติดเชื้อไวรัส ยังไมมีหลักฐานที่สรุปความ เกียวของจนเปนขอยุติไดอยางชัดเจน แตประเด็นของพันธุกรรมนั้น พอจะสามารถอธิบายไดวา ่ ความไวตอการเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ขึ้นอยูกับ human leucocyte antigen (HLA) ซึ่งอยูที่ ผิวของ T lymphocytes ซึ่ง HLA นีถูกควบคุมโดยกรรมพันธุ ้ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีการสรุปจากการวิเคราะหหลาย ๆ ครั้ง วามีสาเหตุจาก กรรมพันธุและสิ่งแวดลอมเชนเดียวกัน โดยที่โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไมไดมีการทําลาย β-cell จึงยังมีการสรางอินซูลินอยู แตเซลลรางกายดื้อตออินซูลิน จึงตองการอินซูลนในปริมาณที่มาก ิ กวาปกติ พบบอยในคนที่มีนํ้าหนักเกินและมีไขมันในกลามเนื้อ เซลลของผูสูงอายุมักสูญเสีย 4
  • 6. ความสามารถในการตอบสนองตออินซูลิน การดื้อตออินซูลินมักเชื่อมโยงกับความดันโลหิตสูง และระดับไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ควบคุมไดโดยการลดนํ้าหนักดวยการควบคุม อาหารและออกกําลังกาย บางครั้งอาจตองใชยารวมดวย อาการของโรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิด จะมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวาเกณฑท่กลาวไวใน ี 1.2.3 ทําใหมีการตอไปนี้ • กระหายนํ้า • ปสสาวะบอย • ออนเพลีย • ตามัว • นํ้าหนักลด 1.2.5 ภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวาน โรคเบาหวานเปนโรคที่รายแรง ถาไมถูกตรวจพบแตแรกเริ่มแลวรีบใหการรักษา จะนําสู ภาวะแทรกซอนมากมาย โรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิดมีผลตอ ตา ไต ประสาท และเสนเลือดขนาด ใหญ เปนผลใหตามองไมเห็น การที่ตองถูกตัดอวัยวะ เชน แขน ขา และมีอาการไตวาย กลาม  เนื้อหัวใจตาย โรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิดมีความสัมพันธกบการเกิดภาวะแทรกซอน ซึ่งกระบวนการที่จะ ั เกิดภาวะแทรกซอนคือ การควบคุมกลไกรางกายผิดปกติ ไดแกการมีระดับนํ้าตาลกลูโคสใน เลือดสูง และ ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ ซึ่งในระยะตอมาจะกระทบตอทั้ง Micro และ Macro vascular system (micro-เสนผาศูนยกลางนอยกวา 100 ไมครอน macro-เสนผาศูนยกลาง 100 ไมครอนขึ้นไป) ซึ่งพบไดในโรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิด ภาวะแทรกซอนใน Micro vascular system พบมากในผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 เปนภาวะที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและโครงสรางของหลอดเลือดเล็ก มีผลตอ ดวงตา (retinopathy) ไต (nephropathy) และประสาท (neuropathy) ทังนี้มีความชุกในผูปวย ้ โรคเบาหวานชนิดที่ 1 ประมาณ รอยละ 45 ชนิดที่ 2 ประมาณรอยละ 35 สําหรับผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีผลมาจากการดูดซึมนํ้าตาลกลูโคสเขากลามเนื้อ และไขมัน รวมกับการที่ตับเพิ่มการผลิตนํ้าตาลกลูโคส และการหลั่งอินซูลินที่ผิดปกติเพราะ β- cell สูญเสียการทําหนาที่หรือจํานวนไมเพียงพอกับความตองการที่เพิ่มขึ้น สงผลกระทบใหสญ ู เสียการควบคุมการใชพลังงานของรางกาย (fuel utilization) มีการเพิ่มขึ้นของ free fatty acids (FFA) ทําใหมีไขมันไตรกลีเซอไรดชนิด LDL ในเลือดเพิ่มขึ้น และไขมันกลีเซอไรดชนิด HDL ในเลือดลดลง มีผลตอ macro vascular system นําไปสู โรคหัวใจขาดเลือด กลามเนื้อหัวใจตาย และเสนโลหิตในสมองแตก โรคทั้ง 3 นี้ เปนสาเหตุการตายของผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ถึง ประมาณรอยละ 80 5
  • 7. สถิตสภาวะสุขภาพและปญหาของประชาชนไทย ในเอกสาร Thailand Health Profile, ิ 1997-1998 แสดงความชุกของโรคเบาหวานเปน 147.2 ตอประชากรแสนคน ในป พ.ศ. 2540 และเอกสารสถานะสุขภาพคนไทยสรุปสาเหตุการตายวา โรคเบาหวานเปนสาเหตุการตายโดย ตรงของคนไทยในอัตราตาย 29 ตอประชากรแสนคน โดยอัตราการตายในเพศหญิงเปน 38.3 ชายเปน 28.1 ตอประชากรแสนคน แตยังมีการตายที่มีสาเหตุมาจากสภาวะแทรกซอนของโรค เบาหวานอีกจํานวนหนึ่งดวย ดังตารางที่1 ตารางที่ 1 อัตราการตายจําแนกตามสาเหตุการตายตามกลุมโรคและเพศ ป พ.ศ.2541 อัตราตายรวม 2 เพศ อัตราตายในเพศชาย อัตราตายในเพศหญิง (ตอแสน) (ตอแสน) (ตอแสน) 1.โรคติดเชื้อ 101 1.โรคติดเชื้อ 132 1.ระบบไหลเวียนเลือด 99.6 2. ระบบไหลเวียนเลือด 100 2.สาเหตุภายนอก 121 2.มะเร็ง 82.8 3.มะเร็ง 94.2 3. มะเร็ง 106 3.โรคติดเชื้อ 70.7 4.สาเหตุภายนอก 79.2 4.ระบบไหลเวียนเลือด 100 4.เบาหวาน 38.3 5.ทางเดินหายใจสวนลาง 37.2 5.ทางเดินหายใจสวนลาง 48.3 5.สาเหตุภายนอก 37.5 6.เบาหวาน 29.0 6.เบาหวาน 28.1 6.ทางเดินหายใจสวนลาง 18.7 7.ระบบทางเดินอาหาร 23.4 7.ระบบทางเดินอาหาร 19.6 7.ระบบทางเดินอาหาร 16.6 8.ไต& ทางเดินปสสาวะ 17.7 8.ไต& ทางเดินปสสาวะ 18.9 8.ไต& ทางเดินปสสาวะ 10.1 9.ระบบประสาท 11.9 9.ระบบประสาท 13.7 9.ระบบประสาท 6.8 10.ระบบกลามเนื้อ 5.8 10.โรคตอมไรทอ 5.8 10.ระบบกลามเนื้อ 6.2 11.โรคตอมไรทอ 5.6 11.ระบบกลามเนื้อ 4.7 11.โรคตอมไรทอ 4.5 12.ชราภาพ 4.5 12.ชราภาพ 4.5 12.ชราภาพ 4.5 อื่นๆ 7.6 อื่นๆ 6.2 อื่นๆ 2.9 อัตราตายรวม 520 อัตราตายรวม 612 อัตราตายรวม 424 ที่มา: จันทรเพ็ญ ชูประภาวรรณ. สถานสุขภาพคนไทย ชุดสุขภาพคนไทยป พ.ศ. 2543 1.2.6 การรักษา เนืองจากโรคเบาหวาน 2 ชนิด มีสาเหตุท่แตกตางกัน การรักษาจึงแตกตางกันดวย ผู ่ ี ปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ตองมีการฉีดอินซูลินทันทีที่ตรวจพบ เพราะ β-cell ถูกทําลาย แต โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เริ่มตนรักษาดวยการควบคุมอาหารและการออกกําลังกายเพื่อควบคุม ระดับนํ้าตาลในเลือด ถาไมไดผลจึงใชยาเม็ดลดนํ้าตาล (oral hypoglycemic agent-OHA) และ เมื่อโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เปนมากขึ้นการใชยา OHA จะไมไดผล จึงใชการฉีดอินซูลิน 6
  • 8. การรักษาโรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิด มีวัตถุประสงคโดยรวมเหมือนกัน คือ ลดอาการที่ เกิดจากมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูง การรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 1 รักษาโดยการฉีดอินซูลินตั้งแตรูวาเปนโรคนี้ การฉีด อินซูลินอาจมีผลคางเคียงบาง ไดแก ภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า (hypoglycemia) Lipodystrophy ภาวะแพยา ระยะแรกที่ฉีดอาจมีอาการบวมบาง ตามัวบาง และการมีนํ้าหนักตัวเพิ่ม แตผลขาง เคียงที่สํ าคัญ คือ ภาวะนํ้ าตาลในเลือดตํ่ า ซึ่งสามารถแกไขโดยใหดื่มอาหารเหลวพวก คารโบไฮเดรตที่ดูดซึมเร็ว เชน นํ้าตาล 1 ชอนโตะผสมกับนํ้า 100 มล. การฉีดอินซูลิน The Diabetes Control and Communications Trial (DCCT) ซึ่งเนน การศึกษาวิธีการจัดการโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ไดสรุปเปนขอเสนอวา วิธีการที่ดีของการฉีด อินซูลินคือ การเลียนแบบอินซูลินตามธรรมชาติมากที่สุด วิธการนี้เรียก “intensive” โดยการฉีด ี วันละ 3 ครั้งขึ้นไป ใชขอกําหนด “basal-bolus” ซึงประกอบดวยการฉีดอินซูลินแบบออกฤทธิ์ ่ เร็วตามมื้ออาหารเพื่อรักษาระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดที่แกวงขึ้นลง และฉีดอินซูลินแบบออก ฤทธิ์ปานกลางหรือชา 1 ครั้ง เพื่อรักษาระดับตํ่าสุดที่รางกายตองการ ปจจุบันมีการใชปากกา อินซูลนที่สามารถปรับขนาดยาและพกพาไดใหผูปวยใชไดสะดวกมากขึ้น นอกจากนี้ DCCT ยัง ิ ใหขอมูลอีกวา การฉีดอินซูลินโดยการปฏิบัติตามคําแนะนําอยางเครงครัดชวยลดความเสี่ยงตอ การเปนโรคตาประมาณรอยละ 76 โรคไตเปนภาวะแทรกซอนจากโรคเบาหวานประมาณรอยละ 54 และการทําลายประสาทประมาณรอยละ 60 ในประเทศไทยสมาคมตอมไรทอแหงประเทศ  ไทยแนะนําใหฉีดอินซูลินวันละ 2 ครั้งหรือมากกวานั้นขึ้นไป อยางไรก็ตามการดูดซึมอินซูลิน ของผูปวยแตละคนมีความแตกตางกัน การรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ขั้นตอนแรก คือ การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ และออกกําลังกายมากขึ้น ในผูปวยนํ้าหนักตัวเกิน การลดนํ้าหนักมีความสําคัญ ถาทําทั้งสอง อยางแลวยังรักษาระดับนํ้าตาลไมไดระดับที่เหมาะสมจึงจะใหรับประทานยา OHA หรือการฉีด อินซูลิน ยาและผลของยาที่จัดอยูในกลุม OHA มีดังนี้ • Sulphonylureas การะตุนใหตับออนหลั่งสารอินซูลินมากขึ้น • Biguanides (metformin) ลดการสรางนํ้าตาลกลูโคสของตับ และชวยการดูดซึม นํ้าตาลกลูโคสเขาสูเนื้อเยื่อมากขึ้น • Alpha-glucosidase inhibitors ชลอการยอยคารโบไฮเดรตในลําไส • Prandial glocose regulator รับประทานในมื้ออาหารชวยกระตุนการหลั่งอินซูลิน • Insulin sensitisers ชวยใหมีความไวตออินซูลิน การใชยากลุม OHA เพื่อชวยควบคุมระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือด มีทางเลือก 3 ทาง คือ ทางเลือกที่ 1 ใชยากลุม OHA เพียงอยางเดียว ทางเลือกที่ 2 ใชยากลุม OHAs 2 ชนิดรวมกัน 7
  • 9. ทางเลือกที่ 3 ฉีดอินซูลินอยางเดียว หรือรวมกับการใชยากลุม OHAs อยางไรก็ตามการรับประทานยากลุม OHA จะมีประสิทธิผลเมื่อรางกายสามารถสราง อินซูลินไดอยู ผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 บางคนใชไมไดแลว ตองฉีดอินซูลินเทานั้น และใน ชวงที่มีการเจ็บปวยรุนแรงอาจตองฉีดอินซูลินแทนการใชยากลุม OHA ชั่วคราว ในการรักษาระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดของผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตองจัดการ ปจจัยเสี่ยงดวย เชน ความดันโลหิตสูง ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ การสูบบุหรี่ เอกสารทางวิชาการที่ United Kingdom Prospective Diabetes Study (UKPDS) พิมพ เผยแพรปลายป พ.ศ.2541 แนะนําวา การรักษาระดับนํ้าตาลในเลือดใหใกลเคียงกับปกติมาก เทาใด ยิงลดภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานไดมากเทานั้น โดยมีผลการศึกษาวา การควบคุม ่ ระดับนํ้าตาลในเลือด สามารถลดโรคตาประมาณรอยละ 25 ลดการทําลายไตระยะแรกได ประมาณรอยละ 33 การควบคุมความดันโลหิตดีขึ้นประมาณรอยละ 33 ทําใหลดการตายจาก โรคแทรกซอนระยะยาว และความเสี่ยงถอยอยางรวดเร็วของการมองเห็น 1.2.7 สิ่งที่ผูปวยโรคเบาหวานควรรู การควบคุมโรคเบาหวานจํ าเปนตองมีความรวมมือจากทีมสุขภาพ ซึ่งประกอบดวย แพทย ทันตแพทย พยาบาล นักสุขศึกษา โภชนาการ ตัวผูปวย ญาติของผูปวย และผูเชี่ยวชาญ เฉพาะโรคแทรกซอนที่จําเปนของแตละคน โดยมีความรูพื้นฐานที่ควรรู ไดแก (1) ตัวผูปวยเองเปนบุคคลที่สําคัญที่สุดของทีม ในการควบคุมโรคเบาหวาน (2) พฤติกรรมที่จําเปนตองปรับ เชน การออกกําลังกาย การควบคุมอาหาร สุขนิสย ั สวนบุคคล (3) ชนิดและปริมาณของอินซูลินที่ใชฉีด หรือยาที่ใชรับประทานลดนํ้าตาล (4) เวลาที่ฉดอินซูลินหรือรับประทานยา ี (5) วิธีการฉีดอินซูลิน (6) เวลาทีอินซูลินออกฤทธิ์และเวลาที่ออกฤทธิ์สูงสุด ่ (7) วิธีการตรวจระดับนํ้าตาลและควรตรวจเมื่อใด (8) สาเหตุและวิธีการแกไข ถาเกิดผลขางเคียงที่มีระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่าเกินไป (9) ความสําคัญของการรักษาระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดใหอยูในระดับที่ยอมรับไดอยู เสมอ (10) เมื่อไรที่ตองไปพบแพทย (11) ความสําคัญของการมีความรูเรื่องเกี่ยวกับโรคเบาหวานใหมาก 8
  • 10. 2 โรคเบาหวานกับสุขภาพชองปาก ภาวะแทรกซอนในชองปาก พบในผูปวยโรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิดที่ควบคุมไมได มีการ ศึกษาหลายครั้งที่แสดงใหเห็นวา เมื่อมีการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดไดสมํ่าเสมอจะชวยลด อาการแสดงของโรคแทรกซอนในชองปากได และในผูปวยบางคนไมมีอาการเลย ภาวะแทรก ซอนในชองปากของผูปวยโรคเบาหวานพบไดตั้งแต มีความชุกของโรคปริทันตสูงกวาและมี ความรุนแรงมากกวาผูที่ไมมโรคเบาหวาน การมีอาการปากแหง การมีกลุมอาการแสบรอนใน ี ชองปาก การติดเชื้อราในชองปาก (Candidiasis) การที่แผลในชองปากหายชา การมีความไว ตอการติดเชื้อมากขึ้น การไหลของนํ้าลายลดลง และการมีตอมนํ้าลายโต สภาวะแทรกซอนเหลานี้ บางอยางมีความสัมพันธโดยตรงกับการสูญเสียของเหลวที่ เกียวของกับการปสสาวะมากขึ้น ในผูปวยโรคเบาหวานที่ควบคุมไมได ขณะที่อาการปากแหง ่ (Xerostomia) มักเปนผลขางเคียงจากการรับประทานยาของผูปวย อาการปากแหงเปนผลที่ตามมาของการหลั่งนํ้าลายลดลง นําไปสูกลุมอาการแสบรอนใน ชองปากและฟนผุได ทั้งยังทําใหเกิดการติดเชื้อราไดงายขึ้น การศึกษาบางชิ้นแสดงใหเห็นวา มี ความชุกของโรคฟนผุเพิ่มขึ้น แตการศึกษาบางชิ้นแสดงผลตรงกันขาม โดยมีคําอธิบายวา การ เกิดโรคฟนผุอาจมีอิทธิพลจากการเพิ่มระดับนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายที่หลั่งออกมาของผูปวยโรค เบาหวานที่ควบคุมไมได ขณะที่ผูควบคุมโรคเบาหวานไดน้น มีฟนผุลดลง เพราะการลดรับ ั  ประทานอาหารแปงและนํ้าตาล การประเมินการควบคุมโรคเบาหวานที่เชื่อถือไดโดยบุคลากรวิชาชีพ คือ การทดสอบ glycosylated hemoglobin นํ้าตาลกลูโคสจะจับอยางถาวรกับ hemoglobin เปน advanced glycosylated end products (AGE) ซึ่งจะอยูในกระแสเลือด 90 วัน มีการทดสอบ glycosylated hemoglobin 2 แบบ แบบที่นิยมใชคอ hemoglobin A1c (HbA1c) ผลของการทดสอบแสดงเปน ื เปอรเซ็นตที่พบ HbA1c ในกระแสเลือด การแปลผลคา HbA1c ที่แนะนําเปนดังนี้ ผล คาการทดสอบ (รอยละ) ปกติ 4-6 ควบคุมไดดี <7 ควบคุมไดปานกลาง 7-8 ตองปรับปรุงการควบคุม >8 ที่มา : Dr Heddie O.Sedano.Dental Implications of Diabetes Mellitus. Periodontics Information Center, UCLA. 9
  • 11. 2.1 โรคเบาหวานกับโรคปริทันต มีผลการศึกษาที่มีนัยสําคัญทางสถิติแสดงวา โรคเบาหวานเปนปจจัยนําปจจัยหนึ่งของ การเกิดโรคปริทันต พบผูปวยโรคเบาหวานที่ควบคุมไมไดมีการอักเสบของเหงือกมากผิดปกติ  มากกวาผูที่ควบคุมได ทั้งๆ ที่มีคราบจุลินทรียเพียงเล็กนอย ผูปวยโรคเบาหวานที่ควบคุมไดดีมี ความชุกของเหงือกอักเสบและโรคปริทันตเหมือนผูที่ไมปวย ผูปวยโรคเบาหวานที่อายุนอยมี ความชุกของเหงือกบวมจากการอักเสบ และโรคปริทันตมากกวาคนปกติที่อายุเทากัน การเกิดฝ หนองปลายรากซํ้าซากเปนลักษณะเฉพาะของผูปวยโรคเบาหวาน โรคปริทันตของผูปวยโรค เบาหวานที่เปนผูใหญและมีอายุนอย จะมีอาการแสดงทางคลินิกรุนแรงกวาผูที่ไมปวย การเพิ่มขึ้นของความชุกของเหงือกอักเสบและโรคปริทันตในผูปวยโรคเบาหวานมีขอ สรุปวา มีสาเหตุจากหลายปจจัยรวมกัน ไดแก การสะสมของ advanced glycosylated end products (AGE) ในเสนเลือดของเหงือก สะสมในคอลลาเจนของเยื่อยึดปริทนตและกระดูกเบา ั ฟน การเพิ่มขึ้นของระดับไขมัน LDL รวมกับการมีการหนาตัวของผนังเสนเลือดแดง การมี ระดับนํ้าตาลในเลือดสูงที่รบกวนการหายของแผลโรคปริทันต การเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาของ ภูมิคุมกัน การเพิ่มอ็อกซิเดชั่น การเปลี่ยนแปลงหนาที่ของ polymorphonuclear leukocyte และ พันธุกรรมเปนปจจัยสนับสนุนใหเกิดโรคปริทันตในผูปวยโรคเบาหวาน โดยบางปจจัยเปนขอ สรุปที่เขาใจกันทั่วไปวา ยังตองการการศึกษาเพิ่มเติม มีปจจัยหนึ่งที่สําคัญที่สุดนั่นคือ การควบ คุมระดับนํ้าตาลในเลือด ซึ่งผูท่มีการควบคุมนํ้าตาลกลูโคสที่ยิ่งแยจะยิ่งทําใหโรคปริทันตรุนแรง ี ขึ้น มีหลายการศึกษาที่แสดงใหเห็นวา ถาผูปวยโรคเบาหวานดูแลสภาวะปริทันตไดดีก็จะ สามารถทําใหสภาวะโรคเบาหวานดีขึ้น ในระดับที่หลายคนสามารถลดปริมาณอินซูลินที่ใชฉีด ลงได ความสัมพันธนี้เปนการศึกษาโดยเก็บคาการลดลงของ AGE ในกระแสเลือดหลังจากให การรักษาโรคปริทันตดวยวิธีปกติ ผูทเปนโรคเบาหวานมีความไวตอการติดเชื้อในชองปาก รวมทั้งโรคปริทันต โดยเฉพาะ  ี่ อยางยิ่ง ชวงเวลาที่มีการควบคุมระดับนํ้าตาลไมดี และกลับกันการที่มีโรคปริทันตที่มีอาการ สามารถทําใหเสียการควบคุมระดับนํ้าตาลได การมีโรคปริทันตจะเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิด ภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวาน ไดแก โรคของหลอดเลือดหัวใจ และเสนโลหิตอุดตันในสมอง นอกจากนี้ ยังตองใหความสนใจสภาวะชองปากของสตรีมีครรภท่เปนโรคเบาหวาน ซึ่งนอกจาก ี จะเสี่ยงตอการคลอดบุตรกอนกําหนดและมีนํ้าหนักตํ่ากวาปกติ แลวยังมีความเสี่ยงตอโรคปริ ทันตเพิ่มขึ้น ผลกระทบทางลบของโรคปริทันตตอโรคเบาหวาน เชน การเสียการควบคุมนํ้าตาล และสูญเสียฟน สามารถหลีกเลี่ยงไดดวยการคัดกรอง สงตอและรักษาโรคปริทันต ผูปวยโรคเบา หวานที่จําเปนตองไดรับการคัดกรองโรคในชองปากสมํ่าเสมอ และสงไปรับการรักษาจากทันต แพทยหรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางอยางเหมาะสม 10
  • 12. 2.2 โรคเบาหวานกับโรคฟนผุ Twetman และคณะ พ.ศ.2545 ศึกษาอุบัติการณของโรคฟนผุในผูปวยโรคเบาหวาน  ชนิดที่ 1 และปจจัยเสี่ยงตอโรคฟนผุ ศึกษาในกลุมอายุ 8-15 ป จํานวน 64 คน ที่เปนโรคเบา หวานมานานอยางนอย 3 ป เมื่อวินิจฉัยโรคแลวดําเนินการควบคุมโรคโดยการฉีดอินซูลินแบบ ออกฤทธิ์เร็วในเวลากลางวันและแบบออกฤทธิ์นานในเวลากลางคืน ตามขนาดที่เหมาะสมของ แตละราย แลวเก็บขอมูลระดับนํ้าตาลในเลือด และ Metabolic control (HbA1c) โดยเก็บจากราย งานทางการแพทย สําหรับสุขภาพชองปากนั้น เก็บขอมูลนํ้าลายทุก 3 เดือน โดยวัดอัตราการ หลั่งนํ้าลาย ความสามารถในการปรับสภาพความเปนกรด ความเขมขนของนํ้าตาลกลูโคสในนํ้า ลาย การนับเชื้อ S. Mutans และ Lactobacilli ในนํ้าลาย มีการตรวจฟน ซึ่งรวมการตรวจดวย รังสี ปละ 1 ครั้ง เปนเวลา 3 ป พบวา ผูปวยโรคเบาหวานที่มี metabolic control ที่ไมดี (HbA1c > รอยละ 8.0) มีความเขมขนของนํ้าตาลในนํ้าลายสูงกวา และมีอุบติการโรคฟนผุมากกวา ผู ั ปวยโรคเบาหวานที่มี metabolic control ดี อยางมีนัยสําคัญ นอกจากนี้ ยังพบวาปจจัยที่มีอิทธิ พลตอการเกิดโรคฟนผุ ไดแก การมีอนามัยชองปากไมดี (OR= 6.5) metabolic control (OR= 5.7) การมีฟนผุอยูเดิม (OR= 5.3) การมีเชื้อ Lactobacilli สูงในนํ้าลาย (OR= 5.0) Karjalanen จาก Oulu University, Finland พ.ศ.2543 ศึกษาความสัมพันธระหวาง สภาวะโรคเบาหวานกับโรคปริทันต โรคฟนผุ และปจจัยในนํ้าลาย ในกลุมผูปวยโรคเบาหวานที่  มีอายุ 12-18 ป พบวา โรคฟนผุและเหงือกอักเสบมีความสัมพันธกับโรคเบาหวานที่มีการควบ คุมไมดี โดยพบวา มีการเพิ่มขึ้นของความชุกของโรคฟนผุและความรุนแรงของเหงือกอักเสบใน กลุมผูปวยที่มีการควบคุมโรคเบาหวานไมดี ซึ่งวัดโดยคา HbA1 รอยละ 13 ขึ้นไป เมื่อศึกษาเปน  เวลา 6 เดือน 2.3 โรคเบาหวานกับปจจัยของนํ้าลาย Harrison และ Bowen พ.ศ.2530 พบวา ผูปวยโรคเบาหวานที่มีการควบคุมไมดีมีการ หลั่งนํ้าลายนอยกวาผูปวยที่มีการควบคุมดี และ Sreebny และคณะ พ.ศ.2535 พบวา ผูปวย โรคเบาหวานที่เปนผูใหญมีอัตราการไหลของนํ้าลายเปนปฏิภาคกลับกันกับระดับ HbA1c สวน Cherry-Pepper และคณะ พ.ศ.2535 พบวา ผูปวยโรคเบาหวานกลุมที่มี Impaired glucose tolerance (IGT) และกลุมควบคุม มีอัตราการไหลของนํ้าลายเทากัน Reuterving และคณะ พ.ศ.2530 ตรวจปจจัยของนํ้าลายในผูปวยโรคเบาหวานจํานวน 11 ราย ตอนเริ่มตน และตรวจหลังจาก Metabolic control ที่ดีขึ้น 1-5 เดือน พบวา การมี metabolic control ที่ดีขึ้นไมกระทบตอความผันแปรของอัตราการไหลของนํ้าลาย แตมีระดับนํ้า ตาลกลูโคสในนํ้าลายดีขึ้น 11
  • 13. Tenovuo และคณะ พ.ศ.2529 วิเคราะหระดับนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลาย ทังที่ถูกกระตุน ้ ในนํ้าลายที่หลั่งตามธรรมชาติ และในเลือดของผูปวย 7 คน จํานวนตัวอยางที่วิเคราะหมากกวา 100 ตัวอยาง พบมีความผันแปรของนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายอยางมาก และในรายบุคคลมี สหสัมพันธระหวางนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายกับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดแตกตางกันมาก บางราย มีสหสัมพันธกันสูง บางรายมีสหสัมพันธตํ่า บางรายนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายไมมีการเปลี่ยน แปลง แมวานํ้าตาลกลูโคสในเลือดจะสูงมากก็ตาม Englander และคณะ พ.ศ.2505 Reuterving และคณะ พ.ศ.2530 Ben-Aryeh และคณะ พ.ศ.2531 พบวา นํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายจาก parotid gland มีความสัมพันธอยางมากกับนํ้า ตาลกลูโคสในเลือดมากกวาในนํ้าลายจากหลายๆ ตอมผสมกัน และ Kjellman พ.ศ.2513 Ficara และคณะ พ.ศ.2518 พบวา นํ้าตาลกลูโคสในของเหลวในรองเหงือก มีความสัมพันธอยางมาก กับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดมากกวาในนํ้าลายจากหลายๆ ตอมผสมกัน เชนกัน Borg Anderson และคณะ พ.ศ.2541 รายงานวา ในการไดรับคารโบไฮเดรตมาตรฐาน เดียวกัน ระดับนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายจาก parotid gland ในคนสุขภาพดีสงขึ้นบาง แตในคน ู ที่มี Impaired glucose tolerance (IGT) และคนที่เปนโรคเบาหวานที่ชัดเจนมีระดับสูงกวา สําหรับจํานวนเชื้อจุลินทรียในนํ้าลาย Reuterving และคณะ พ.ศ.2530 พบวา เมื่อมีการ ควบคุมโรคเบาหวานใหมี metabolic control ดีขึ้นในผูปวยโรคเบาหวาน 11 คน แลวนับจํานวน เชื้อนํ้าลายผสม (จากทุกตอมในชองปาก) จํานวนเชื้อ mutans streptococci ลดลงอยางมีนย ั สําคัญ ขณะที่ lactobacilli คงที่ Twetman และคณะ พ.ศ.2532 รายงานวา มีจํานวน lactobacilli เพิ่มขึ้นเมื่อมีระดับนํ้า ตาลกลูโคสในนํ้าลายเพิ่มขึ้น แตใน พ.ศ.2534 Twetman และคณะ พบวา ในระหวางการติด ตามผลผูปวยที่เพิ่งวินิจฉัยวาเปนโรคเบาหวานชนิดที่ 1 เปนเวลา 2 ป ระดับนํ้าตาลกลูโคสใน นํ้าลายมีแนวโนมลดลงในปที่ 2 มากกวาปที่ 1 และจํานวน lactobacilli ในนํ้าลายลดลงอยางมี นัยสําคัญใน 6 เดือนแรก ขณะที่จํานวน mutans streptococci คงที่ Darwazeh และคณะ พ.ศ.2533 พบวา ผูปวยโรคเบาหวานที่มียีสตในชองปาก จะมี ระดับนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลายสูงกวาผูที่ไมมียีสต แมวา Bartholomew และคณะ พ.ศ.2530 Fisher และคณะ พ.ศ.2530 Lamey และคณะ พ.ศ.2531 จะพบวา การเติบโตของยีสตไมมี ความสัมพันธกับคา glycosylated haemoglobin และระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือด ปจจัยอื่นๆ ของนํ้าลาย Reuterving และคณะ พ.ศ.2530 พบวา ในผูปวยโรคเบาหวาน ชนิดที่ 1 ที่มี metabolic control ที่ดีและไมดี มีคา pH คาความสามารถในการปรับสภาพความ เปนกรด หรือสวนประกอบของเอ็นไซมและโปรตีนหรือ electroytes พอๆ กัน 12
  • 14. Karjalanen พ.ศ.2543 ศึกษาความสัมพันธระหวางสภาวะโรคเบาหวาน กับโรคในชอง ปาก ไดแก โรคปริทันต โรคฟนผุ และกับปจจัยในนํ้าลาย ในผูปวยโรคเบาหวานอายุ 12-18 ป เฉพาะปจจัยในนํ้าลาย พบวา ระยะที่มีอาการของโรคเบาหวาน จะมีการหลั่งนํ้าลายลดลง และ ระดับนํ้าตาลในกลูโคสในนํ้าลายเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังพบวาจํานวนเชื้อจุลินทรียท่เพิ่มขึ้น โดย ี เฉพาะอยางยิ่งยีสต มีความสัมพันธกับการหลั่งนํ้าลายที่ลดลง และระดับนํ้าตาลกลูโคสในนํ้าลาย ที่เพิ่มขึ้น 2.4 โรคเบาหวานกับการติดเชื้อราในชองปาก (Thrush) ในปากมีเชื้อราเจริญเติบโตอยูแลว ผูปวยโรคเบาหวานมีความเสี่ยงตอการติดเชื้อ เพราะเชื้อราเจริญไดดีในนํ้าลายที่มีระดับนํ้าตาลกลูโคสสูง ผูที่สูบบุหรี่ ผูใสฟนปลอม โดยเฉพาะ อยางยิ่งผูที่ใสตลอดเวลา ก็ติดเชื้อราไดงาย การรักษาการติดเชื้อราตองใชยา ทั้งนี้การควบคุม โรคเบาหวานไดดี การไมสูบบุหรี่ การทําความสะอาดฟนปลอมทุกวันจะชวยปองกันการติดเชื้อ ราได 2.5 โรคเบาหวานกับอาการปากแหง ปากแหงเปนอาการหนึ่งของโรคเบาหวาน ที่สามารถพบไดตั้งแตยังไมถูกวินิจฉัยวาเปน โรคนี้ อาการปากแหงทําใหรูสึกไมสบายในปาก อาจเกิดแผลที่ทําใหเจ็บปวด มีแผลติดเชื้อ และ ทําใหฟนผุดวย อาการปากแหง ซึ่งแสดงวามีปริมาณนํ้าลายไมเพียงพอ นํ้าลายเปนของเหลวตามธรรม ชาติที่ชวยปกปองชองปาก ชวยควบคุมการเติบโตของเชื้อโรคที่ทําใหฟนผุ และโรคติดเชื้ออื่นๆ ของชองปาก ชวยลางอาหารเหนียวติดฟน อยางไรก็ตาม สาเหตุหนึ่งของการมีปากแหงคือ การรับประทานยา มีตัวยาที่ส่งโดย ั แพทยและที่ซื้อขายกันเองมากกวา 400 ชนิด รวมทั้ง ยาแกหวัด ยารักษาความดันโลหิตสูง ยาคลายเครียด สามารถทําใหปากแหงได การควบคุมนํ้าตาลกลูโคสในเลือดไดดีชวยปองกัน หรือขจัดอาการปากแหงของผูปวยโรคเบาหวานได 2.6 บทบาทของทีมสุขภาพดีดูแลผูปวยโรคเบาหวาน นอกจากการใหความรูที่จําเปนในการดูแลตนเองตอผูปวยโรคเบาหวานหรือผูทําหนาที่ ดูแลแลว ผูประกอบวิชาชีพทันตกรรมควรใหความสนใจตอระดับของ glycaemic control การ ปองกันโรคในชองปาก การรักษาโรคที่เกิดในชองปากอยางมีประสิทธิภาพในผูปวยโรคเบา หวานที่มี metabolic control ไมดี (คา HbA1c รอยละ 10 ขึ้นไป) สําหรับผูปวยที่เปนผูใหญควร ไดรบความรูเกี่ยวกับสภาวะโรคเบาหวานวา มีความเสี่ยงตอโรคปริทันตสูง และจําเปนตองไป ั 13
  • 15. พบทันตแพทยสมํ่าเสมอ ในความถี่ตามสภาพของแตละคน บุคลากรทางการแพทยและการ พยาบาลควรใหความสนใจโรคปริทันตในฐานะที่เปนโรคแทรกซอนโรคหนึ่งของผูปวยโรคเบา หวาน และตองสงตอไปพบทันตแพทยตามเวลาที่เหมาะสม ผูปวยโรคเบาหวานที่ยังมีฟนจะตองไดรับการคัดกรองสภาวะชองปากดวย เมื่อมาตรวจ  เบาหวานตามปกติ เพื่อเห็นเหงือกและเนื้อเยื่อชองปากที่มีสีแดงกวาปกติ มีเลือดออก ลมหายใจ มีกลิ่น มีเศษอาหารสะสมรอบๆ ฟน เหงือกรนจนผิวรากฟนโผล ฟนโยก สวนผูปวยโรคเบา หวานที่ไมมีฟน ตองไดรับการคัดกรองหาการอักเสบหรือการเปลี่ยนรูปรางของเนื้อเยื่อชองปาก แผลที่มีสีขาวหรือสีแดง โดยสามารถทําไดทั้ง แพทย พยาบาล บุคลากรวิชาชีพที่ดูแลสุขภาพ และผูที่ทําหนาที่ดูแล ถาพบวา มีลักษณะอาการที่กลาวขางตนตองสงตอใหผูใหบริการทันต กรรม แตถาไมพบ ผูปวยโรคเบาหวานก็ยังมีความจําเปนตองพบทันตแพทยเปนประจําตามที่ ทันตแพทยจะนัดเปนรายๆ ไป ตามสภาพปญหาของแตละคน ทันตแพทยควรเปนสมาชิกที่สําคัญคนหนึ่งของทีมดูแลผูปวยโรคเบาหวาน สาระที่ทันต แพทยกับทีมดูแลจะตองสื่อสารทําความเขาใจกันคือ การทําใหผูปวยมีการควบคุมนํ้าตาลได อยางเหมาะสมและมีการจัดการโรคเบาหวานที่ดี ผูปวยโรคเบาหวานควรไดรับการสงตอและ การใหคําปรึกษาดานทันตกรรมเปนประจํา ขอเสนอของ Consensus Guidelines for Diabetes Mellitus Care โดย Indiana State Department of Health จัดเมื่อกรกฎาคม พ.ศ.2544 เสนอ ใหผูปวยโรคเบาหวานที่มีฟนพบทันตแพทยทุก 6 เดือน และผูปวยโรคเบาหวานที่ไมมีฟนพบ  ทันตแพทยทุก 12 เดือน และถาตองการคัดกรองพบความผิดปกติ อาจนัดพบใหบอยขึ้นไดตาม  สภาพปญหาของแตละคน การดูแลชองปากตามมาตรฐานไดแก การตรวจปากและฟน ตรวจ โรคปริทนตแบบเต็มรูปแบบ การรักษาโรคปริทันต ทั้งที่ตองผาตัดดวยหรือไมก็ตามรวมกับการ ั ใชยาปฏิชีวนะ ใหคําแนะนําการดูแลชองปากอยางเครงครัดแกทั้งผูปวยและผูดูแล และนัดตรวจ ชองปากสมํ่าเสมอ Moore และคณะ พ.ศ.2543 พบวา ผูปวยโรคเบาหวามักขาดความรูในเรื่อง เกี่ยวกับโรคแทรกซอนในชองปาก จึงไดเสนอแนะใหการตรวจฟนครั้งแรกควรมีการใหทันตสุข ศึกษาในประเด็นนี้ดวย 2.7 ขอเสนอแนะแนวทางการรักษาทางทันตกรรมใหผูปวยโรคเบาหวานที่ยังไมไดรับ การวินิจฉัย การใหผูปวยที่มารับบริการทันตกรรมตอบแบบสอบถามที่ออกแบบไดดี จะสามารถระบุ วา ผูมารับบริการทันตกรรมมีความเสี่ยงตอโรคเบาหวาน หรือเปนโรคเบาหวานที่ยังไมได วินิจฉัยหรือไม โดยเฉพาะอยางยิ่ง โรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีตัวอยางคําถามพื้นๆ ที่เปนคําถาม ทีเกียวของกับประวัตสวนบุคคลและประวัตครอบครัวที่ชวยได เชน ทานปสสาวะบอยในเวลา ่ ่ ิ ิ  กลางคืนหรือไม ? ทานกระหายนํ้าบอยๆ หรือไม ? นอกจากนี้การทราบวา ผูมารับบริการมีน้า ํ หนักลดลงผิดปกติหรือไม การฉุนเฉียวงาย ชองปากแหง การติดเชื้อซํ้าซาก มีประวัติบาดแผล 14
  • 16. หายชา สตรีที่มีบุตรที่มีนํ้าหนักแรกเกิดหนักมากเกินปกติ (> 4.5 กิโลกรัม) หรือมีประวัติการ แทงบุตรโดยไมมีสาเหตุชัดเจนหลายๆ ครั้ง อาจมีแนวโนมการเปนผูปวยเบาหวานได ควรให  ความสนใจสอบถามผูมารับบริการที่อวนและมีอายุมากกวา 40 ป ถามีประวัติตามรายการขาง ตน รวมกับการตรวจสุขภาพชองปากพบลักษณะตอไปนี้อยางนอย 1 อยางวา เปนโรคปริทันต อยางรุนแรง มีประวัตการเปนโรคปริทนตซํ้าซาก มีฝหนองหลายตําแหนง มีประวัติการหายของ ิ ั แผลในชองปากไมดี โดยเฉพาะอยางยิ่งแผลถอนฟน มีอาการปากแหง มีการติดเชื้อราในชอง ปากนานๆ มีการสูญเสียของประสาทรับความรูสึก บุคคลที่มีลักษณะที่กลาวไปแลวมีโอกาสที่จะ เปนโรคเบาหวาน ซึ่งตองการการตรวจหาโรคเบาหวานตอไปกอนทําการรักษาทางทันตกรรม แตตองระลึกไวดวยวา การติดเชื้อราในชองปากเปนเวลานานๆ และนํ้าหนักลดอาจเปนลักษณะ หลักที่พบในผูปวยโรคเอดสดวย ผูรับบริการทันตกรรม ที่ทนตแพทยคัดกรองวาอาจเปนผูปวยโรคเบาหวาน ควรไดรับ ั  การสงตอไปพบแพทยเพื่อตรวจวินิจฉัยยืนยันตอไป Periodontics Information Center, UCLA เสนอแนะวา ทันตแพทยที่ใหการรักษาทาง ทันตกรรมใหแกผูปวยโรคเบาหวานควรมีความรูในเรื่องตอไปนี้ (1) ผูปวยโรคเบาหวานที่มีการควบคุมอยางดี สามารถรับการรักษาทางทันตกรรมได ทุกชนิด (2) ทันตแพทยควรรูวาผูปวยไดรับยาหรือฉีดอินซูลินชนิดใดและขนาดเทาใด (3) ทันตแพทยควรรูประวัตวา ผูปวยโรคเบาหวานที่มารักษาทางทันตกรรมมีประวัติ ิ ของการมีนํ้าตาลในเลือดตํ่าเกิน (hypoglycemia) เพราะผูมีประวัติวาเคยจะมีโอกาสเปนซํ้าได อีก (4) การหลีกเลี่ยงภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า สามารถทําไดโดยจัดเวลานัดใหเหมาะสม โดยนัดชวงที่อินซูลินออกฤทธิ์เต็มที่ ซึ่งเปนชวงเวลาหลังการฉีดอินซูลิน ตั้งแต 30 นาที จนถึง 8 ชั่วโมง แลวแตชนิดของอินซูลินที่ใช (5) ตองแนะนําผูปวยไมใหเปลี่ยนชนิดอินซูลน เวลาที่ฉีด และเวลามื้ออาหารตามปกติ ิ (6) ในคลินิกทันตกรรมควรเตรียมนํ้าสมคั้น หรือนํ้าตาลในรูปแบบอื่นๆ ไว (7) ถาผูปวยมีการตรวจวัดนํ้าตาลดวยตนเองอยูแลว ใหผปวยนําอุปกรณที่ใชวัดมาดวย ู (8) ไมควรใหผูปวยเกิดความเครียดเพราะจะกระตุนใหเกิดนํ้าตาลในเลือดสูงขึ้น (9) ถาตองมีการผาตัดในชองปากที่ใชเวลานานๆ ทันตแพทยผูรักษาควรปรึกษาแพทย ประจําตัวผูปวย (10) ปรึกษาแพทยประจําตัวผูปวย ในกรณีที่ผูปวยมีโรคแทรกซอนเชน โรคไต โรคหัว ใจ หรือผูปวยที่ควบคุมโรคเบาหวานไดยาก โดยมีการใชอินซูลินในขนาดสูง หรือผูปวยที่มีฝ หนองปลายราก โดยบางกรณีอาจตองนอนโรงพยาบาล 15
  • 17. (11) ผูปวยในลักษณะขอ 10 ตองไดรบยาปฏิชีวนะ เพื่อลดการติดเชื้อและชวยใหแผล   ั หายเร็วขึ้น ภาวะฉุกเฉินที่สามารถเกิดกับผูปวยโรคเบาหวานที่สําคัญ ไดแก ภาวะนํ้าตาลในเลือด ตํ่า (hypoglycemia) ภาวะคีโตแอซิโดซีสจากเบาหวาน (diabetic ketoacidosis) ภาวะนํ้าตาลใน เลือดสูงมากผิดปกติและหมดสติ (hyperosmolar nonketotic coma) ทันตแพทยที่เปนผูใหบริการทันตกรรมควรตระหนักถึงการปองกันการเกิดนํ้าตาลใน เลือดตํ่าเฉียบพลัน ซึ่งเกิดเมื่อระดับนํ้าตาลกลูโคสในเลือดตํ่ากวา 60 มก./ดล. อาจมากหรือนอย กวานี้ในรายบุคคล ควรเตรียมนํ้าตาลในรูปแบบที่ดูดซึมเร็ว เชน นํ้าผลไม นํ้าตาลทราย ลูกอม เปนตน ผูปวยที่อาการของนํ้าตาลในเลือดตํ่าจะดีขึ้นภายใน 10 ถึง 20 นาที หลังจากการไดรับ ประทานนํ้าตาล 15 กรัม ซึ่งเทียบเทากับนํ้าผลไม 120 ถึง 180 มล. หรือนํ้าตาลทราย 4 ชอนชา ความสําเร็จของการรักษาทันตกรรมแกผปวยโรคเบาหวานทั้ง 2 ชนิด ตองการขอมูล ู ประวัตสวนบุคคลและประวัติครอบครัวโดยละเอียด มีการปรึกษากับแพทยประจําตัวผูปวย และ ิ ความรวมมือของผูปวยในการควบคุมนํ้าตาลในเลือดอยางเครงครัด 3 คําแนะนําในการดูแลสุขภาพชองปากสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน ผูปวยโรคเบาหวานควรไดรับขอมูลที่ชัดเจนในความเสี่ยงตอการติดเชื้อในชองปากและ โรคปริทันต ผูใหขอมูลควรเลือกใชวิธีการถายทอดและอุปกรณเทาที่จําเปน เนื้อหาของการให ขอมูลสุขภาพชองปากอยางนอยตองประกอบดวย (1) ผูปวยโรคเบาหวานพึงตระหนักวา ตนเองมีความเสี่ยงตอการติดเชื้อในชองปากเพิ่ม   ขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง โรคปริทันต (2) การติดเชื้อในชองปากสามารถสงผลที่ไมดตอชีวิตผูที่เปนโรคเบาหวานได ี (3) ผูปวยโรคเบาหวานจะมีความชุกและความรุนแรงของโรคปริทันตมากกวาคนปกติ และยิ่งถาเปนโรคเบาหวานมานาน จะยิ่งมีมากขึ้น (4) โรคปริทันตอาจนําไปสูการสูญเสียฟน และเปนภาวะแทรกซอนที่รุนแรงอยางหนึ่ง ของโรคเบาหวาน แตสามารถปองกันได (5) การดูแลชองปากสมํ่าเสมอชวยทําใหการควบคุมโรคเบาหวานทําไดดขึ้น ี (6) มีความจําเปนที่ผูปวยโรคเบาหวานตองแจงแกทันตแพทย หรือทันตาภิบาลที่ใหการ รักษาทางทันตกรรมวา เปนผูปวยโรคเบาหวาน (7) เนื่องจากโรคปริทันตมักไมคอยแสดงอาการใหเห็น และการรักษาจะไดผลดีตอง รักษาตั้งแตเริ่มเปน ดังนั้น จึงมีความจําเปนตองปรึกษาทันตแพทยสมํ่าเสมอ รวมทั้งตองมีการดู แลชองปากโดยบุคลากรวิชาชีพและดวยตนเอง (8) ปจจัยสําคัญของการปองกันการติดเชื้อในชองปาก ประกอบดวยโรคปริทันต การ ควบคุมนํ้าตาลในเลือดที่ดี การควบคุมระดับไขมันในเลือด การรักษาอนามัยชองปาก และการดู แลฟนสมํ่าเสมอ 16