SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
แผนบริหารการสอนบทที่ 3
หัวข้อเนื้อหาประจาบท
1. ความหมาย และความสาคัญของยาสามัญประจาบ้าน
2. ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์
3. อาการข้างเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง
4. ยาที่ถูกยกเลิกจากการเป็นยาสามัญประจาบ้าน
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาจบบทที่ 3 แล้ว นักศึกษาควรมีความสามารถดังต่อไปนี้
1. อธิบายความหมายของยาสามัญประบ้านได้
2. บอกประโยชน์ของยาสามัญประจาบ้านได้
3. สามารถเลือกใช้ยาสามัญประจาบ้านในการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยได้
4. อธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยาสามัญประจาบ้านที่สาคัญได้
5. บอกอาการข้างเคียง และการดูแลตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากอาการข้างเคียงดังกล่าวได้
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบทที่ 3 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้
1. บรรยายตามเนื้อหา โดยใช้โปรแกรมการนาเสนอ (power point) ประกอบคาอธิบาย
2. ชมวิดีโอคลิป เรื่อง ยาบรรเทาอาการปวดท้อง
3. แสดงตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน และให้นักศึกษาอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับสรรพคุณของยา
และชนิดของยาสามัญประจาบ้านที่นักศึกษาเคยใช้
4. ร่วมกันสรุปประเด็นสาคัญของการเรียน
5. มอบหมายงานให้นักศึกษาทาใบงาน เรื่อง การเลือกใช้ยาสามัญประจาบ้าน
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เภสัชวิทยาเบื้องต้น บทที่ 3 ยาสามัญประจาบ้าน
2. โปรแกรมนาเสนอ เรื่อง ยาสามัญประจาบ้าน
3. วิดีโอคลิป เรื่อง ยาบรรเทาอาการปวดท้อง
4. ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน
วิธีวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
1.1 พฤติกรรมความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน
1.2 พฤติกรรมการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นของผู้เรียนในระหว่างเรียน
2. ประเมินผลงานที่มอบหมาย
2.1 ใบงาน
บทที่ 3
ยาสามัญประจาบ้าน
เมื่อเกิดความเจ็บป่วยเล็กน้อย เช่น ปวดท้อง มีไข้ ไอ บุคคลทั่วไปสามารถเลือกใช้ยาเพื่อบรรเทา
อาการต่าง ๆ ด้วยตนเองในเบื้องต้นได้ และหากมีการใช้ยาอย่างถูกต้องก็จะเป็นการป้องกันตนเองจาก
ผลข้างเคียงหรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้น
ความหมาย และความสาคัญของยาสามัญประจาบ้าน
ยาสามัญประจาบ้าน เป็นยาที่กระทรวงสาธารณสุขพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นยาที่ประชาชน
สามารถหาซื้อมาใช้ได้ด้วยตนเอง เพื่อการดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ยากลุ่มนี้จัดเป็นยาที่มีความ
ปลอดภัยสูง หากใช้อย่างถูกต้องตามคาแนะนาที่ระบุไว้ในฉลากก็จะมีโอกาสเกิดอันตรายได้น้อยมาก ทั้งนี้
ยาดังกล่าวสามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามร้านขายยา ศูนย์การค้า หรือร้านขายของชา เนื่องจากกระทรวง
สาธารณสุขมีความต้องการให้ยาสามัญประจาบ้านได้กระจายไปถึงประชาชนทั่วประเทศ ทาให้ประชาชน
สามารถดูแลตนเองได้ ยาสามัญประจาบ้านแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ ยาสามัญประจาบ้านแผนปัจจุบัน และยา
สามัญประจาบ้านแผนโบราณ ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะยาสามัญประจาบ้านแผนปัจจุบัน
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจาบ้าน มีจานวน 5 ฉบับ และฉบับล่าสุดคือ
ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2555 จากประกาศ ฯ ทั้งหมด พบว่ายาที่กาหนดให้เป็นยาสามัญประจาบ้านมีทั้งสิ้น 56
ชนิดใช้สาหรับการรักษาโรคหรืออาการของโรคได้ 16 กลุ่มอาการ โดยที่ฉลากยาสามัญประจาบ้าน จะต้อง
แสดงชื่อยาตามที่ระบุในประกาศ หากมีชื่อทางการค้าต้องแสดงชื่อตามประกาศควบคู่กับชื่อทางการค้า
ด้วย ต้องระบุคาว่า “ยาสามัญประจาบ้าน” ในกรอบสีเขียวมีขนาดตัวอักษรที่สามารถอ่านได้ชัดเจน ระบุ
คาว่า “ยาสิ้นอายุ” และแสดงวัน เดือน ปี พ.ศ. ที่ยาสิ้นอายุ (กระทรวงสาธารณสุข. 2542 : 48)
ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์
1. กลุ่มยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ
กลุ่มยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ เป็นกลุ่มยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร
เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดแสบ หรือจุกแน่นบริเวณใต้ลิ้นปี่ ในช่วงก่อนรับประทานอาหาร หรือหลังรับ
ประทานอาหารใหม่ ๆ โดยมีสาเหตุที่สาคัญคือ ความเครียด, การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา การ
รับประทานอาหารที่ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร เช่น เหล้า เบียร์ หรือยาบางชนิด รวมถึงเป็นกลุ่มยาที่
ช่วยบรรเทาอาการที่เกิดจากอาหารไม่ย่อย หรือย่อยไม่สมบูรณ์ โดยมีสาเหตุจากการรับประทานอาหาร
ย่อยยาก มีไขมันสูง อาหารสุก ๆ ดิบ ๆ รสจัด หรือรับประทานอาหารเร็วเกินไป เคี้ยวไม่ละเอียด ทาให้
การย่อยอาหารไม่สมบูรณ์ เกิดลมในกระเพาะอาหารมาก จึงเกิดอาการอึดอัดท้อง จุกเสียด แน่น คลื่นไส้
ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 11 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.1
ตารางที่ 3.1 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
ยาลดกรด : บรรเทา
อาการปวดแสบท้อง
1) อะลูมินา-แมกนีเซีย (Aluminium
hydroxide – Magnesium hydroxide)
ชนิดเม็ด
ยามีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อน
สามารถทาปฏิกิริยากับกรดใน
กระเพาะอาหาร จึงมีผลลด
ความเป็นกรดได้2) อะลูมินา-แมกนีเซีย ชนิดน้า
ยาขับลม : บรรเทา
อาการท้องอืด แน่นท้อง
จุกเสียด
1) โซดามินท์ (Sodamint) ลดความเป็นกรดในกระเพาะ
อาหาร แล้วทาให้เกิดแก๊ส CO2
2) ยาขับลม มีองค์ประกอบของสมุนไพร
หลายชนิดที่ช่วยกระตุ้นการขับ
ลมของลาไส้
3) ยาธาตุน้าแดง
4) โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium
Bicarbonate)
ลดความเป็นกรดในกระเพาะ
อาหาร แล้วทาให้เกิดแก๊ส CO2
5) ทิงเจอร์มหาหิงคุ์ (Asafetida) กระตุ้นการเคลื่อนไหวของลาไส้
ทาให้เพิ่มการขับลม
6) ไซเมธิโคน (Simethicone) ช่วยดูดซับก๊าซในกระเพาะ
อาหารและต้านการเกิด
ฟองอากาศ โดยลดแรงตึงผิว
ของฟองอากาศ และเพิ่มอัตรา
การขับออกจากร่างกาย
ยาลดกรดและช่วยขับ
ลม : บรรเทาอาการปวด
แสบท้อง ท้องอืด แน่น
ท้อง จุกเสียด
1) อะลูมินา-แมกนีเซีย-ไซเมธิโคน ชนิดเม็ด ลดความเป็นกรดในกระเพาะ
อาหาร และขับลม2) อะลูมินา-แมกนีเซีย-ไซเมธิโคน ชนิดน้า
3) ซิตริกแอซิด-โซเดียมไบคาร์บอเนต-
โซเดียมคาร์บอเนต ชนิดผงฟู่
ลดกรด บรรเทาอาการท้องอืด
ท้องเฟ้อเนื่องจากกรดมากใน
กระเพาะอาหาร ฟองที่เกิดขึ้น
จะไปจับกับแก๊สที่เกิดขึ้นจาก
กรดเกินในกระเพาะอาหารทา
ให้เกิดการจับกันขนาดใหญ่แล้ว
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
ขับออกมาทาให้รู้สึกสบายท้อง
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ยาอะลูมินา-แมกนีเซีย, ยาธาตุน้าแดง, โซเดียมไบคาร์บอเนต, อะลูมินา-แมกนีเซีย-ไซเมธิ
โคน และผงฟู่ซิตริกแอซิด-โซเดียมไบคาร์บอเนต-โซเดียมคาร์บอเนต ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคไต และ
ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์ นอกจากแพทย์สั่ง
(2) ยาโซดามินท์ ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคไต และไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์
นอกจากแพทย์สั่ง
(3) ยาขับลม และยาธาตุน้าแดง มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง
(4) ทิงเจอร์มหาหิงคุ์ ห้ามรับประทาน
2. ยาแก้ท้องเสีย
ยาแก้ท้องเสีย ใช้กับผู้ที่อาการถ่ายอุจจาระบ่อยๆ ซึ่งอาจเกิดจากการระคายเคืองเนื้อเยื่อที่
ผนังลาไส้ใหญ่ ทาให้ลาไส้ใหญ่บีบตัวมากกว่าปกติ สาเหตุเกิดจากการรับประทานอาหารรสจัด หรือ
รับประทานอาหารที่มีเชื้อโรคหรือสารพิษปนเปื้อน ผู้ป่วยควรงดอาหารรสจัด รับประทานอาหารอ่อน
และทดแทนการสูญเสียน้าและเกลือแร่ ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 2 ชนิด ดังแสดงในตารางที่
3.2
ตารางที่ 3.2 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้ท้องเสีย
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
ทดแทนการเสียน้า และ
ป้องกันการช็อค
เนื่องจากร่างกายขาดน้า
ผงน้าตาลเกลือแร่ (Oral rehydration
salt)
ทดแทนการเสียน้าและเกลือแร่
ในรายที่มีการท้องเสีย หรือ
อาเจียนมาก ๆ
รักษาอาการท้องเสีย ยาผงถ่าน (Activated charcoal) ดูดซับสารพิษในทางเดินอาหาร
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือโรคไต ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ผงน้าตาลเกลือแร่
(2) ห้ามรับประทานยาผงถ่านพร้อมกับยาอื่น เพราะจะทาให้ฤทธิ์ของยาอื่นลดลงได้ หรือหาก
ต้องใช้ยาอื่นให้ใช้ยาผงถ่านห่างจากยาอื่นอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
(3) การรับประทานยาผงถ่าน จะทาให้อุจจาระมีสีค่อนข้างดา จากสีของผงถ่าน แต่ไม่มีอันตราย
3. ยาระบาย
ยาระบาย ใช้กับผู้ที่มีอาการท้องผูก ซึ่งเกิดจากลาไส้ใหญ่มีการเคลื่อนไหวหรือบีบตัวได้
น้อยลง สาเหตุที่สาคัญคือ การรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย ดื่มน้าน้อย ถ่ายอุจจาระไม่เป็นเวลา ชอบ
กลั้นอุจจาระ ไม่ออกกาลังกาย หรือการได้รับยาบางประเภท อาการที่พบคือ ไม่ถ่ายอุจจาระตามปกติ
หรืออุจจาระแข็ง ถ่ายลาบาก ยาระบาย ประกอบด้วยยาจานวน 5 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.3
ตารางที่ 3.3 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาระบาย
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
บรรเทาอาการท้องผูก 1) กลีเซอรีน (Glycerine) ชนิดเหน็บทวาร
สาหรับเด็ก
ดูดน้าเข้าสู่ลาไส้ใหญ่ ทาให้
อุจจาระอ่อนนุ่ม และกระตุ้น
การบีบตัวของลาไส้2) กลีเซอรีน ชนิดเหน็บทวารสาหรับผู้ใหญ่
3) ยาระบายแมกนีเซีย (Magnesium
hydroxide)
เพิ่มการดูดน้าเข้าสู่ลาไส้ ทาให้
มีน้ามากขึ้น เกิดแรงดันออสโม
ติก และกระตุ้นการเคลื่อนไหว
ของลาไส้ ถ่ายอุจจาระออกมามี
น้าปนมาก
4) ยาระบายมะขามแขก กระตุ้นการบีบตัวของลาไส้
5) ยาระบายโซเดียมคลอไรด์ (Sodium
chloride) ชนิดสวนทวาร
ดูดน้าจากผิวของลาไส้ใหญ่เข้า
สู่ลาไส้ ทาให้อุจจาระมีน้ามาก
ลักษณะนิ่ม และเพิ่มแรงดันใน
ลาไส้
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ไม่ควรใช้เป็นประจา
(2) ยาระบายแมกนีเซีย และยาระบายมะขามแขก ห้ามใช้เมื่อมีอาการปวดท้อง หรือคลื่นไส้
อาเจียน
4. ยาถ่ายพยาธิลาไส้
โรคพยาธิที่พบบ่อย เช่น พยาธิปากขอ (Hook Worm) พยาธิไส้เดือน (Ascariasis) พยาธิ
เส้นด้าย (Enterobiasis) พยาธิตัวตืด (Tape worm/ Taeniasis) สาเหตุเกิดจากการได้รับไข่พยาธิ หรือ
ตัวอ่อนเข้าไปในร่างกาย อาการที่พบโดยทั่วไปคือ รับประทานอาหารมากแต่ไม่อ้วน หิวบ่อย ปวดท้อง
ท้องอืด พุงโร ก้นปอด และมักตรวจพบไข่พยาธิในอุจจาระ อย่างไรก็ตามอาการและอาการแสดงจะ
แตกต่างกันไปตามชนิดของพยาธิ ยาถ่ายพยาธิลาไส้ที่เป็นยาสามัญประจาบ้านใช้สาหรับถ่ายพยาธิตัวกลม
ประกอบด้วยยาจานวน 1 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.4
ตารางที่ 3.4 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาถ่ายพยาธิลาไส้
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
ใช้ถ่ายพยาธิตัวกลม มีเบนดาโซล (Mebendazole) ยับยั้งการขนส่งกลูโคสเข้าเซลล์
พยาธิ ทาให้พยาธิขาดพลังงาน
จนไม่สามารถเคลื่อนไหวและ
ตายได้
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 2 ปี หญิงมีครรภ์ในระยะ 3 เดือนแรก และผู้ป่วยโรคตับ
5. ยาบรรเทาปวด ลดไข้
ยาบรรเทาปวด ลดไข้ ใช้สาหรับผู้ที่มีอาการปวดเล็กน้อยถึงปานกลางจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น
ปวดศีรษะ ปวดจากข้อเสื่อม ปวดกล้ามเนื้อ เคล็ด ขัด ยอก เป็นต้น หรือใช้เพื่อลดไข้ ซึ่งมีสาเหตุมาจาก
การติดเชื้อได้ ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 4 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.5
ตารางที่ 3.5 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาบรรเทาปวด ลดไข้
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
ลดไข้ และบรรเทา
อาการปวด
1) พาราเซตามอล 500 มก. ชนิดเม็ด ยับยั้งการทางานของเอนไซม์
Cyclooxygenase ส่งผลลด
การสร้างพรอสตาแกลนดิน
(Prostaglandin) ซึ่งเป็นสาร
สื่อให้เกิดความเจ็บปวด และ
อาการไข้
2) พาราเซตามอล 325 มก. ชนิดเม็ด
3) พาราเซตามอล ชนิดน้า
บรรเทาอาการปวด
กล้ามเนื้อ
4) พลาสเตอร์บรรเทาปวด ตัวยาจะกระตุ้นปลายประสาท
รับความรู้สึกถึงความร้อน ทา
ให้เกิดการตอบสนองถึงการ
บรรเทาอาการปวดลดลง
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ไม่ควรใช้ยาพาราเซตามอลติดต่อกันเกิน 5 วัน และหากใช้เกินขนาดที่แนะนา อาจทาให้เป็น
พิษต่อตับได้ ผู้ป่วยโรคตับ โรคไต ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา
(2) ห้ามใช้พลาสเตอร์บรรเทาปวด ในบริเวณเยื่อบุ หรือบริเวณบาดแผลเปิด
6. ยาแก้แพ้ ลดน้ามูก
ยาแก้แพ้ ลดน้ามูก ประกอบด้วยยาจานวน 1 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.6
ตารางที่ 3.6 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้แพ้ ลดน้ามูก
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
บรรเทาอาการแพ้ เช่น
ลมพิษ น้ามูกไหล
คลอร์เฟนิรามีน (Chlorpheniramine) ฮีสตามีน (Histamine) เป็น
สารสาคัญที่ทาให้เกิดอาการแพ้
ยาออกฤทธิ์โดยแย่งจับกับตัวรับ
ของฮีสตามีน ทาให้การออก
ฤทธิ์ของฮีสตามีนลดลง
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ไม่ควรใช้ยาติดต่อกันเกิน 7 วัน และหลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกับเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสม
เนื่องจากจะเสริมฤทธิ์ในการกดประสาท ซึ่งอาจทาให้หมดสติ หรือเป็นอันตรายได้
(2) ยานี้อาจทาให้เกิดอาการง่วงชึม
7. ยาแก้ไอ ขับเสมหะ
ยาน้าแก้ไอขับเสมหะ ใช้บรรเทาอาการไอ ซึ่งเป็นกลไกของร่างกายที่ช่วยขับสิ่งแปลกปลอม
ออกจากทางเดินหายใจ ยากลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 2 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.7
ตารางที่ 3.7 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้ไอ ขับเสมหะ
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
ขับเสมหะ บรรเทา
อาการไอ
1) ยาน้าแก้ไอขับเสมหะ สาหรับเด็ก ยามีฤทธิ์กระตุ้นให้เกิดสารคัด
หลั่งในทางเดินหายใจมากขึ้น
และถูกขับออกมาโดยการโบก
พัดของชิเลียในทางเดินหายใจ
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
หรือโดยการไอได้ง่ายขึ้น
บรรเทาอาการไอ 2) ยาแก้ไอน้าดา กดระบบประสาทส่วนกลาง ซึ่ง
เป็นเส้นทางของการกระตุ้นการ
ไอ ทาให้ระดับความทน
(threshold) ต่อการไอสูงขึ้น
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ยาแก้ไอน้าดา เป็นยาที่สกัดจากอนุพันธ์ของฝิ่น ซึ่งทาให้เสพติดได้
8. ยาดม หรือทาแก้วิงเวียน หน้ามืด คัดจมูก
ยาดม/ทาแก้วิงเวียน หน้ามืด คัดจมูก ใช้สาหรับ ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 3 ชนิด
ดังแสดงในตารางที่ 3.8
ตารางที่ 3.8 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาดม หรือทาแก้วิงเวียน หน้ามืด คัดจมูก
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
บรรเทาอาการวิงเวียน
หน้ามืด หรือบรรเทา
อาการจากพิษแมลงกัด
ต่อย หรือถูกพืชมีพิษ
1) เหล้าแอมโมเนียหอม -
บรรเทาอาการคัดจมูก
หายใจไม่ออก และ
บรรเทาอาการวิงเวียน
ศีรษะ
2) ยาดมวิงเวียน แก้คัดจมูก -
บรรเทาอาการคัดจมูก
และลดอาการอัน
เนื่องจากหวัด
3) ยาทาระเหย บรรเทาอาการคัดจมูกชนิด
ขี้ผึ้ง
-
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ไม่ควรใช้เป็นประจา เพราะอาจทาให้การรับรู้กลิ่นของสารลดลง
9. ยาแก้เมารถ เมาเรือ
ยาเม็ดแก้เมารถ เมาเรือ ใช้สาหรับผู้ที่มีอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ขณะเดินทาง ซึ่ง
สาเหตุที่ให้เกิดอาการดังกล่าวมาจากการทางานไม่สมดุลของระบบการทรงตัวของร่างกาย ซึ่งเกิดจากการ
ทางานที่มากเกินหรือไวเกินของระบบประสาทต่อสิ่งกระตุ้น เช่น นั่งรถที่เหวี่ยงนานเกินไป ยาในกลุ่มนี้
ประกอบด้วยยาจานวน 1 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.9
ตารางที่ 3.9 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้เมารถ เมาเรือ
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
ป้องกันอาการ เมารถ
เมาเรือ
1) ไดเมนไฮดริเนท (Dimenhydrinate) ออกฤทธิ์ต้านฮีสตามีน มีผลกด
ระบบประสาทส่วนกลาง
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ยานี้อาจทาให้เกิดอาการง่วงชึม
10. ยาสาหรับโรคตา
ยาสาหรับโรคตา ใช้สาหรับล้างทาความสะอาดตา เนื่องจากการได้รับฝุ่นละอองหรือสิ่ง
แปลกปลอมเข้าตา ทาให้เกิดการระคายเคืองตา และใช้สาหรับรักษาอาการตาอักเสบ เนื่องจากการติดเชื้อ
แบคทีเรียที่ตา ซึ่งอาจทาให้เกิดอาการตาแดง เจ็บตา หรือเคืองตาร่วมด้วย ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยา
จานวน 2 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.10
ตารางที่ 3.10 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาสาหรับโรคตา
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
รักษาอาการตาแดง ตา
อักเสบ จากการติดเชื้อ
1) ยาหยอดตา ซัลฟาเซตาไมด์
(Sulfacetamide)
ยับยั้งการเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย โดยออกฤทธิ์ขัดขวาง
กระบวนการเมแทบอลิซึมของ
แบคทีเรีย
บรรเทาอาการแสบตา
ระคายเคืองตา เนื่อง
จากสิ่งสกปรกเข้าตา
2) ยาล้างตา เป็นน้าเกลือที่มีความเข้มข้น
เท่ากับพลาสมา
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ยาหยอดตา ซัลฟาเซตาไมด์ เมื่อเปิดใช้แล้วสามารถเก็บไว้ใช้ได้เป็นเวลา 1 เดือน และห้ามใช้
เมื่อยาเปลี่ยนสี ขุ่น หรือมีตะกอน
11. ยาสาหรับโรคปากและลาคอ
ยาสาหรับโรคปากและลาคอ ใช้บรรเทาอาการเจ็บคอ ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยสาเหตุ
สาคัญคือ การติดเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อไวรัส และใช้บรรเทาอาการปวดฟัน ซึ่งเกิดจากฟันผุ เนื่องมาจาก
การแปรงฟันไม่สะอาด เศษอาหารติดค้างอยู่ตามซอกฟัน ทาให้แบคทีเรียที่อยู่ในช่องปากเจริญเติบโต
แบคทีเรียเหล่านี้จะเปลี่ยนแป้งและน้าตาลจากเศษอาหารให้กลายเป็นกรด กรดจะทาลายฟันให้ผุกร่อนที
ละน้อย ผู้ป่วยจะมีอาการปวดฟัน เวลารับประทานอาหารรสจัด อาหารเย็นจัด ของหวาน หรือเมื่อมีเศษ
อาหารไปอุดฟัน ถ้าผุลึกถึงโพรงประสาทจะปวดมาก ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 5 ชนิด ดังแสดง
ในตารางที่ 3.11
ตารางที่ 3.11 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาสาหรับโรคปากและลาคอ
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
บรรเทาอาการอักเสบ
และเจ็บในลาคอ
ยากวาดคอ ฆ่าเชื้อ และลดการอักเสบ
รักษาฝ้าขาวที่กระพุ้ง
แก้ม หรือลิ้น
เยนเชี่ยนไวโอเลต (Gentian violet) ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ
รา ยีสต์ และต้านฤทธิ์แบคทีเรีย
แกรมบวก
บรรเทาอาการปวดฟัน ยาแก้ปวดฟัน มีกานพลูเป็นส่วนประกอบ
บรรเทาอาการระคายคอ
ทาให้ชุ่มคอ
ยาอมบรรเทาอาการระคายคอ มีส่วนประกอบของสมุนไพร
หลายชนิด
บรรเทาอาการเจ็บคอ ยาอมบรรเทาอาการเจ็บคอ -
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ยาอมบรรเทาอาการเจ็บคอ หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลา 2 วันแล้วอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษา
แพทย์ และไม่ควรใช้เด็กในอายุต่ากว่า 6 ปี
(2) เยนเชี่ยนไวโอเลต อาจเกิดอาการระคายเคืองหรือแพ้บริเวณเยื่อเมือก หากกลืนยาอาจทาให้
เกิดการอักเสบของทางเดินอาหารได้ ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยานี้ และสีของยาอาจติดเสื้อผ้าและผิวหนังได้
12. ยาใส่แผล ล้างแผล
ยาใส่แผล ล้างแผล ใช้สาหรับปฐมพยาบาลบาดแผลที่เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น มีดบาด หกล้ม
ทาให้เกิดการฉีกขาดของผิวหนัง ยากลุ่มนี้มีทั้งยาที่ใช้สาหรับทาความสะอาดบาดแผล ฆ่าเชื้อโรคบริเวณ
บาดแผล และฆ่าเชื้อโรคบริเวณผิวหนังรอบบาดแผล ยาในกลุ่มนี้มีจานวน 7 ชนิด ดังแสดงในตารางที่
3.12
ตารางที่ 3.12 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาใส่แผล ล้างแผล
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
รักษาแผลสด ลดจานวน
เชื้อโรคบริเวณบาดแผล
1) ทิงเจอร์ไอโอดีน (Tincture iodine) ไอโอดีนจะซึมผ่านเข้าเซลล์ของ
เชื้อโรคและมีผลต่อโปรตีน
ภายในเซลล์ ทาให้เซลล์ตาย
2) โพวิโดน-ไอโอดีน (Povidone-Iodine)
3) ทิงเจอร์ไทเมอรอซอล ตัวยาจะแตกตัวออกเป็นสารที่มี
ฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ
แบคทีเรียและเชื้อรา
ทาความสะอาดผิวหนัง
รอบบาดแผล
4) ไอโซโพรพิล แอลกอฮอล์ (Isopropyl
alcohol)
ทาลายเยื่อหุ้มเซลล์ของเชื้อโรค
ทาให้เกิดการสลายของเซลล์
และตายในที่สุด5) เอทิล แอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol)
6) คลอโรไซลีนอล ทาลายเยื่อหุ้มเซลล์ของเชื้อโรค
และมีผลต่อโปรตีนภายในเซลล์
ทาความสะอาดบาดแผล 7) น้าเกลือล้างแผล (Sodium chloride) เป็นสารละลายที่มีความเข้มข้น
เท่าพลาสมา สามารถใช้ได้โดย
ที่ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของเซลล์ภายในร่างกาย
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ยากลุ่มนี้เป็นยาใช้ภายนอก ห้ามรับประทาน และหลีกเลี่ยงอย่าให้ยาเข้าตา
(2) หากมีอาการระคายเคืองหรือผื่นแดงเกิดขึ้นให้หยุดใช้ยา
13. ยารักษาแผลติดเชื้อ ไฟไหม้ น้าร้อนลวก
ยารักษาแผลติดเชื้อ ไฟไหม้ น้าร้อนลวก ใช้กับผู้ที่ได้รับความร้อนจากไฟ หรือน้าร้อน สัมผัส
ถูกบริเวณผิวภายนอกร่างกาย ทาให้เกิดอาการผิวหนังแดง แสบร้อน ถลอก ผิวหนังพอง ยาในกลุ่มนี้
ประกอบด้วยยาจานวน 1 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.13
ตารางที่ 3.13 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้เมารถ เมาเรือ
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
รักษาการติดเชื้อของ
แผล ซึ่งเกิดจากไฟไหม้
หรือน้าร้อนลวก
1) ซิลเวอร์ซัลฟาไดอาซีน ครีม
(Silver sulfadiazine)
ยับยั้งการเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย โดยออกฤทธิ์ขัดขวาง
กระบวนการเมแทบอลิซึมของ
แบคทีเรีย
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) หลีกเลี่ยงการใช้ยาในผู้ที่มีประวัติแพ้ยากลุ่มซัลฟา
(2) ไม่ควรใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกเกิด
14. ยาบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ แมลงกัดต่อย
ยาบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ แมลงกัดต่อย ใช้สาหรับผู้ที่มีอาการปวดบวมของผิวหนัง
บริเวณที่แมลงกัดต่อย ทั้งนี้อาการหลังจากถูกแมลงกัดของแต่ละคนจะไม่เหมือนกัน ระยะเวลาที่เกิด
อาการก็อาจช้าหรือเร็วแตกต่างกันไป เนื่องจากมีภูมิต้านทานแตกต่างกันไป คนที่มีภูมิต้านทานสูงอาจมี
อาการเฉพาะที่เพียงเล็กน้อย แค่อาการบวมแดง ปวดเล็กน้อย และหายไปในเวลาไม่นาน ยาในกลุ่มนี้
ประกอบด้วยยาจานวน 1 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.14
ตารางที่ 3.14 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ แมลงกัดต่อย
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
บรรเทาอาการปวด บวม
อักเสบ เนื่องจากแมลง
กัดต่อย หรือปวดเมื่อย
กล้ามเนื้อ
ยาหม่อง ชนิดขี้ผึ้ง มีส่วนผสมจากสมุนไพรที่มีกลิ่น
หอมจากน้ามันหอมระเหย และ
ตัวยา Methyl salicylate
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) ไม่ควรใช้กับผิวหนังบริเวณที่บอบบาง เช่น บริเวณตาและปาก ขาหนีบ แผลเปิดหรือแผลติด
เชื้อ เพราะจะทาให้ระคายเคืองได้
15. ยาสาหรับโรคผิวหนัง
ยาสาหรับโรคผิวหนัง ประกอบด้วยยาที่ใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากปรสิต เช่น หิด เหา โลน
และโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา เช่น กลาก เกลื้อน การเลือกใช้ยารักษาโรคผิวหนัง เพื่อให้ได้ผลดีขึ้นอยู่
กับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ การวินิจฉัยได้อย่างถูกต้องว่าโรคผิวหนังที่เป็นเกิดจากสาเหตุใด บริเวณที่
จะทายา ระยะเวลาที่ใช้ยา และสภาพของผู้ป่วย (สุธี เวคะวากยานนท์. 2554 : 80)
กลากและเกลื้อน มีสาเหตุมาจากเชื้อราซึ่งพบได้บ่อยในภูมิประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น เชื้อรา
จะเจริญเติบโตได้ดีโดยเฉพาะเมื่อร่างกายมีเหงื่อมากและเปียกชื้น เสื้อผ้าที่หมักหมมเป็นเวลานาน กลาก
เกลื้อน หิด เหา และโลน เป็นไรชนิดหนึ่งที่พบตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยที่หิดพบมากที่บริเวณซอก
นิ้วมือ นิ้วเท้า มีลักษณะเป็นตุ่มเล็ก มีน้าใส และคันมาก สามารถติดต่อกันได้โดยการสัมผัสกับผู้ป่วย เหา
พบที่บริเวณศีรษะ เกิดจากได้รับตัวเหาหรือไข่เหา จากการคลุกคลี หรือใช้เสื้อผ้าเครื่องใช้ของคนที่เป็น มี
อาการคันศีรษะ เป็นมากตอนกลางคืน ถ้าเกามาก ๆ อาจทาให้หนังศีรษะถลอกเป็นแผลได้ ส่วนโลนพบที่
บริเวณอวัยวะเพศ มักทาให้เกิดอาการคันมากเช่นกัน หากเกามาก ๆ จนเกิดรอยถลอก อาจนาไปสู่การติด
เชื้อได้ ยาในกลุ่มนี้มีจานวน 6 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.15
ตารางที่ 3.15 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาสาหรับโรคผิวหนัง
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
รักษาหิด เหา และโลน 1) เบนซิล เบนโซเอต (Benzyl benzoate) ยาจะถูกดูดซึมเข้าไปในตัวหิด
เหา หรือโลน และไปออกฤทธิ์
ต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทา
ให้หิด เหา และโลนตาย
รักษาหิด 2) ขี้ผึ้งกามะถัน ฤทธิ์ฆ่าเชื้อรา ปรสิต และรักษา
โรคผิวหนัง
รักษากลากเกลื้อน และ
น้ากัดเท้า
3) ยารักษากลากเกลื้อน น้ากัดเท้า ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ
โดยออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง
และการทางานของเอนไซม์
รักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง
บางชนิด เช่น เรื้อน
กวาง ผิวหนังเป็นผื่นคัน
4) ยารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง -
บรรเทาอาการคัน
เนื่องจาก ผดผื่น ลมพิษ
5) คาลาไมน์ (Calamine) ช่วยทาให้ผิวหนังแห้ง และรู้สึก
เย็น ลดอาการระคายเคืองและ
ไม่สุขสบายตามผิวหนัง
เนื่องจากอาการแพ้
รักษาเกลื้อน 6) โซเดียม ไทโอซัลเฟต ตัวยาจะปลดปล่อยธาตุ
กามะถันออกมา และมีฤทธิ์ใน
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
การฆ่าเชื้อราโดยไม่ทาให้
ผิวหนังลอก
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) โซเดียม ไทโอซัลเฟต ที่ผสมน้าแล้วควรใช้ภายใน 15 วัน
(2) ยาทุกตัวเป็นยาใช้ทาภายนอก ห้ามรับประทาน และระวังอย่าให้ยาเข้าตา หากเกิดอาการ
ระคายเคืองต่อผิวหนังให้หยุดใช้ยา
16. ยาบารุงร่างกาย
ยาบารุงร่างกาย ใช้สาหรับผู้ที่มีภาวะขาดสารอาหารที่จาเป็นกับการทางานของร่างกาย ซึ่ง
เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีสารอาหารไม่ครบ หรือมีปริมาณไม่เพียงพอ แต่อย่างไรก็ตามวิตามิน
และเกลือแร่บางชนิด หากร่างกายได้รับมากเกินไปอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยา
จานวน 6 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.16
ตารางที่ 3.16 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาบารุงร่างกาย
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
ป้องกันการขาดวิตามินบี 1) วิตามินบีรวม (Vitamin B complex) เป็นสารประกอบของวิตามินบี
หลายชนิดที่จาเป็นต่อร่างกาย
ในกระบวนการเผาผลาญและ
รักษาภาวะสมดุลของร่างกาย
(บารุงประสาท การเผาผลาญ
สารอาหาร เสริมสร้างการสร้าง
เม็ดเลือดแดง)
ป้องกันการขาดวิตามินซี 2) วิตามินซี ส่งเสริมการดูดซึมของเหล็กและ
แคลเซียม ช่วยในกระบวนการ
เมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน
และช่วยในการเปลี่ยนกรดโฟลิค
(ต้านอนุมูลอิสระ สร้างคอลลา
เจน บารุงผิวพรรณและกระดูก)
รักษาโรคโลหิตจาง
เนื่องจากขาดธาตุเหล็ก
3) เฟอร์รัส ซัลเฟต (Ferrous sulfate) ทดแทนธาตุเหล็กซึ่งเป็นสารที่
จาเป็นต่อการดารงชีวิต และ
สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
ในผู้ใหญ่ จาเป็นต่อการขนส่งและใช้
ประโยชน์ของออกซิเจน
ป้องกันการขาดวิตามิน
สาหรับผู้ใหญ่
4) วิตามินรวม (Multivitamin) เป็นสารอาหารที่ช่วยใน
กระบวนการรักษาสมดุลของ
ร่างกาย
ป้องกันการขาดวิตามิน
เอ และวิตามินดี
5) น้ามันตับปลาชนิดแคปซูล เป็นสารอาหารที่ช่วยใน
กระบวนการรักษาสมดุลของ
ร่างกาย (การมองเห็น การสร้าง
กระดูกและฟัน)
6) น้ามันตับปลาชนิดน้า
ข้อควรระวังและผลข้างเคียง
(1) วิตามินรวม และน้ามันตับปลา ยาเหล่านี้อาจสะสมในร่างกายจนทาให้เกิดอันตรายได้ จึงไม่
ควรใช้เกินขนาดที่กาหนดไว้ หรือติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน
(2) ห้ามใช้วิตามินซี เมื่อเม็ดยาเปลี่ยนสี
(3) เฟอร์รัส ซัลเฟต อาจทาให้อุจจาระมีสีดา และห้ามใช้ในผู้ป่วยธาลัสซีเมีย เนื่องจากมีภาวะ
เหล็กเกิน
อาการข้างเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง
1. อาการข้างเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง
1.1 ง่วงซึม พบได้ในยากลุ่มต้านฮีสตามีน ได้แก่ ยาคลอร์เฟนิรามีน และไดเมนไฮดริเนท ซึ่งมี
ผลกดระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้มีอาการง่วงซึมได้ ดังนั้นผู้ใช้ยาควรต้องหลีกเลี่ยงการทางานกับ
เครื่องจักร ซึ่งอาจทาให้เกิดอุบัติเหตุได้
1.2 ท้องเสีย จากยาที่มีแมกนีเซียมเป็นส่วนประกอบ เนื่องจากมีคุณสมบัติในการดูดน้าเข้าสู่
ลาไส้มากขึ้น
1.3 ท้องผูก จากยาที่มีอะลูมิเนียมเป็นส่วนประกอบ เนื่องจากมีคุณสมบัติในการดูดซับ
เคลือบผิว ฝาดสมาน จึงมักทาให้เกิดอาการท้องผูกได้ ซึ่งสามารถลดอาการท้องผูกได้โดยการดื่มน้ามาก ๆ
รับประทานอาหารที่มีกากใย และการออกกาลังกาย
1.4 อุจจาระสีดา พบได้จากการใช้ยาผงถ่าน และเฟอร์รัส ซัลเฟต ซึ่งผลข้างเคียงนี้ไม่มี
อันตรายต่อร่างกาย
1.5 อาการไม่สบายท้อง คลื่นไส้ พบได้จากยาเฟอร์รัส ซัลเฟต สามารถลดอาการเหล่านี้โดย
รับประทานยาพร้อมกับอาหาร หรือค่อย ๆ เพิ่มขนาดยาจนถึงขนาดที่แนะนาให้ใช้
1.6 ปากแห้ง ทางเดินหายใจแห้ง จากยาแก้แพ้ ซึ่งอาจทาให้เกิดอาการระคายคอ และไอได้
แก้ไขโดยการดื่มน้ามาก ๆ เพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นของเยื่อบุ
2. อาการไม่พึงประสงค์และพิษจากการใช้ยา
2.1 แพ้ยา มักพบในการใช้ยากลุ่มต้านจุลชีพ ทั้งนี้อาการแพ้จะขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล ในราย
ที่มีอาการแพ้เล็กน้อย อาจมีลมพิษ ผื่นคัน หรือมผื่นแดงขึ้นทั่วตัว หนังตาหรือริมฝีปากบวม สาหรับในราย
ที่มีอาการแพ้มากขึ้น อาจมีอาการใจสั่น แน่นหน้าอก คลื่นไส้อาเจียน หรือหายใจติดขัด ซึ่งมักเกิดจากการ
ใช้ยาฉีด และในรายที่เป็นรุนแรง จะมีอาการเป็นลม ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่า และหยุด
หายใจ อาการแพ้ยารุนแรงเช่นนี้ เรียกว่า “Anaphylactic shock” หรืออาจพบอาการแพ้ยาที่เป็น
ลักษณะพุพอง หนังเปื่อยลอกทั้งตัวคล้ายถูกไฟลวก ปากเปื่อย ตาอักเสบ ท่อปัสสาวะอักเสบ มีไข้ ซึ่ง
เรียกว่า “Stevens Johnson Syndrome”
2.2 ตับวาย พบได้ในผู้ที่มีการใช้ยาพาราเซตามอลต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน หรือใช้ยาเกิน
ขนาด อาการที่พบคือ แน่นท้องด้านขวา ตาเหลือง เป็นต้น
ยาที่ถูกยกเลิกการเป็นยาสามัญประจาบ้าน
ยาที่ถูกยกเลิกการเป็นยาสามัญประจาบ้าน ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญ
ประจาบ้านแผนปัจจุบัน ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 ได้แก่ ยารักษาแผลน้าร้อนลวกฟีนอล และฉบับที่ 3 พ.ศ.
2550 ได้แก่ ยาเม็ดบรรเทาปวดลดไข้แอสไพริน (Aspirin) เนื่องจากได้พบข้อมูลเกี่ยวกับความไม่ปลอดภัย
ในการใช้ ซึ่งไม่เหมาะสมในการใช้เป็นยาสามัญประจาบ้าน การใช้ยาแอสไพรินเพื่อลดไข้ในเด็กอายุต่ากว่า
12 ปี อาจทาให้เกิด Reye’s syndrome ได้ ปัจจุบันจึงจัดให้ยาดังกล่าวอยู่ในกลุ่มยาอันตราย ส่วนเหตุผล
ที่ยกเลิกยารักษาแผลน้าร้อนลวกฟีนอล ยังไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด
สรุป
ยาสามัญประจาบ้านเป็นยาที่กระทรวงสาธารณสุขได้พิจารณาแล้วว่าประชาชนสามารถหาซื้อมา
ใช้เพื่อรักษาหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยด้วยตนเองได้ โดยมีความปลอดภัยสูง หากใช้อย่างถูกต้อง
ตามคาแนะนาที่ระบุไว้ ปัจจุบันมียาสามัญประจาบ้านรวมทั้งสิ้น 16 กลุ่ม ซึ่งควรเลือกใช้ยาให้ถูกต้องและ
เหมาะสมกับอาการที่พบ รวมถึงการสังเกตอาการข้างเคียงที่เกิดจากการใช้ยาด้วย
คาถามทบทวน
1. จงอธิบายความหมายของยาสามัญประจาบ้าน
2. ยาคลอร์เฟนิรามีน มีประโยชน์ใช้ทางคลินิกอย่างไร
3. หากมีอาการท้องผูกสามารถเลือกใช้ยาสามัญประจาบ้านชนิดใดได้บ้าง
4. จงบอกชื่อยาสามัญประจาบ้านซึ่งเป็นยาที่ใช้ภายนอก
5. ยาพาราเซตามอลมีกลไกการออกฤทธิ์อย่างไร
6. ผลข้างเคียงที่สาคัญของยาไดเมนไฮดริเนทคืออะไร และจะมีแนวทางในการดูและตนเอง
อย่างไรเมื่อต้องใช้ยา
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงสาธารณสุข. (28 มีนาคม 2542). “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจาบ้าน
แผนปัจจุบัน.” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 116 ตอนที่ 38 ง (13 พฤษภาคม 2542) หน้า 9-49.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. (2554). การใช้ยาสามัญประจาบ้านอย่างปลอดภัย. กรุงเทพฯ : พีทู ดีไซน์
แอนด์ พริ้นท์.
สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการสอนวิชา ยาในชีวิตประจาวัน. คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุธี เวคะวากยานนท์. (2554). รู้ไว้ - ใช้ยา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สภาการพยาบาล. (2556). คู่มือการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ศิริยอด
การพิมพ์.

More Related Content

What's hot

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015Utai Sukviwatsirikul
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingVai2eene K
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)firstnarak
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น Utai Sukviwatsirikul
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 

What's hot (20)

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
แนวทางการจัดการสู่ Gpp sep 2015
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 

Viewers also liked

ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์Utai Sukviwatsirikul
 
Compre si 2010 l
Compre si 2010 lCompre si 2010 l
Compre si 2010 lvora kun
 
Mdcu Step2 Gen Sx Ii
Mdcu Step2 Gen Sx IiMdcu Step2 Gen Sx Ii
Mdcu Step2 Gen Sx Iivora kun
 
Compre Rama 2010
Compre Rama 2010Compre Rama 2010
Compre Rama 2010vora kun
 
ศรว 51 ANS By Cmu
ศรว 51 ANS By Cmuศรว 51 ANS By Cmu
ศรว 51 ANS By Cmuvora kun
 
Nt2009 complete all
Nt2009 complete allNt2009 complete all
Nt2009 complete allvora kun
 
ศรว 51 By Cmu
ศรว 51 By Cmuศรว 51 By Cmu
ศรว 51 By Cmuvora kun
 
Peripheral blood smear
Peripheral blood smearPeripheral blood smear
Peripheral blood smearHummd Mdhum
 
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551rookiess
 
ข้อสอบNt จัดพิมพ์โดย med pnu3 goal100
ข้อสอบNt จัดพิมพ์โดย med pnu3 goal100ข้อสอบNt จัดพิมพ์โดย med pnu3 goal100
ข้อสอบNt จัดพิมพ์โดย med pnu3 goal100Hummd Mdhum
 
Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Hummd Mdhum
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (20)

SM capsule#Detox
SM capsule#Detox SM capsule#Detox
SM capsule#Detox
 
National test _2553_TU
National test _2553_TUNational test _2553_TU
National test _2553_TU
 
Electrocardiogram
ElectrocardiogramElectrocardiogram
Electrocardiogram
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
 
Compre si 2010 l
Compre si 2010 lCompre si 2010 l
Compre si 2010 l
 
Mdcu Step2 Gen Sx Ii
Mdcu Step2 Gen Sx IiMdcu Step2 Gen Sx Ii
Mdcu Step2 Gen Sx Ii
 
Compre Rama 2010
Compre Rama 2010Compre Rama 2010
Compre Rama 2010
 
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือสุขภาพผู้สูงอายุ
 
ศรว 51 ANS By Cmu
ศรว 51 ANS By Cmuศรว 51 ANS By Cmu
ศรว 51 ANS By Cmu
 
Nt2009 complete all
Nt2009 complete allNt2009 complete all
Nt2009 complete all
 
ศรว 51 By Cmu
ศรว 51 By Cmuศรว 51 By Cmu
ศรว 51 By Cmu
 
Peripheral blood smear
Peripheral blood smearPeripheral blood smear
Peripheral blood smear
 
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
สอบ-ศรว-มีนาคม-2551
 
Nle step 2_2553
Nle step 2_2553Nle step 2_2553
Nle step 2_2553
 
ข้อสอบNt จัดพิมพ์โดย med pnu3 goal100
ข้อสอบNt จัดพิมพ์โดย med pnu3 goal100ข้อสอบNt จัดพิมพ์โดย med pnu3 goal100
ข้อสอบNt จัดพิมพ์โดย med pnu3 goal100
 
รวมข้อสอบCompre nl
รวมข้อสอบCompre nlรวมข้อสอบCompre nl
รวมข้อสอบCompre nl
 
Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5
 
Drug for-int
Drug for-intDrug for-int
Drug for-int
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน

ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาJintana Somrit
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree TantisiriUtai Sukviwatsirikul
 
แผนบริหารการสอนประจำวิชา
แผนบริหารการสอนประจำวิชาแผนบริหารการสอนประจำวิชา
แผนบริหารการสอนประจำวิชาPa'rig Prig
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดsucheera Leethochawalit
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxNareenatBoonchoo
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10AKii Fam
 

Similar to บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน (20)

ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
 
แผนบริหารการสอนประจำวิชา
แผนบริหารการสอนประจำวิชาแผนบริหารการสอนประจำวิชา
แผนบริหารการสอนประจำวิชา
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Posaconazole
PosaconazolePosaconazole
Posaconazole
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
155344bayer329
155344bayer329155344bayer329
155344bayer329
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน

  • 1. แผนบริหารการสอนบทที่ 3 หัวข้อเนื้อหาประจาบท 1. ความหมาย และความสาคัญของยาสามัญประจาบ้าน 2. ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์ 3. อาการข้างเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง 4. ยาที่ถูกยกเลิกจากการเป็นยาสามัญประจาบ้าน วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาจบบทที่ 3 แล้ว นักศึกษาควรมีความสามารถดังต่อไปนี้ 1. อธิบายความหมายของยาสามัญประบ้านได้ 2. บอกประโยชน์ของยาสามัญประจาบ้านได้ 3. สามารถเลือกใช้ยาสามัญประจาบ้านในการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยได้ 4. อธิบายกลไกการออกฤทธิ์ของยาสามัญประจาบ้านที่สาคัญได้ 5. บอกอาการข้างเคียง และการดูแลตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากอาการข้างเคียงดังกล่าวได้ วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบทที่ 3 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ 1. บรรยายตามเนื้อหา โดยใช้โปรแกรมการนาเสนอ (power point) ประกอบคาอธิบาย 2. ชมวิดีโอคลิป เรื่อง ยาบรรเทาอาการปวดท้อง 3. แสดงตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน และให้นักศึกษาอภิปรายประเด็นเกี่ยวกับสรรพคุณของยา และชนิดของยาสามัญประจาบ้านที่นักศึกษาเคยใช้ 4. ร่วมกันสรุปประเด็นสาคัญของการเรียน 5. มอบหมายงานให้นักศึกษาทาใบงาน เรื่อง การเลือกใช้ยาสามัญประจาบ้าน สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เภสัชวิทยาเบื้องต้น บทที่ 3 ยาสามัญประจาบ้าน 2. โปรแกรมนาเสนอ เรื่อง ยาสามัญประจาบ้าน 3. วิดีโอคลิป เรื่อง ยาบรรเทาอาการปวดท้อง 4. ตัวอย่างยาสามัญประจาบ้าน วิธีวัดผลและการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
  • 3. บทที่ 3 ยาสามัญประจาบ้าน เมื่อเกิดความเจ็บป่วยเล็กน้อย เช่น ปวดท้อง มีไข้ ไอ บุคคลทั่วไปสามารถเลือกใช้ยาเพื่อบรรเทา อาการต่าง ๆ ด้วยตนเองในเบื้องต้นได้ และหากมีการใช้ยาอย่างถูกต้องก็จะเป็นการป้องกันตนเองจาก ผลข้างเคียงหรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้น ความหมาย และความสาคัญของยาสามัญประจาบ้าน ยาสามัญประจาบ้าน เป็นยาที่กระทรวงสาธารณสุขพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นยาที่ประชาชน สามารถหาซื้อมาใช้ได้ด้วยตนเอง เพื่อการดูแลรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ยากลุ่มนี้จัดเป็นยาที่มีความ ปลอดภัยสูง หากใช้อย่างถูกต้องตามคาแนะนาที่ระบุไว้ในฉลากก็จะมีโอกาสเกิดอันตรายได้น้อยมาก ทั้งนี้ ยาดังกล่าวสามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามร้านขายยา ศูนย์การค้า หรือร้านขายของชา เนื่องจากกระทรวง สาธารณสุขมีความต้องการให้ยาสามัญประจาบ้านได้กระจายไปถึงประชาชนทั่วประเทศ ทาให้ประชาชน สามารถดูแลตนเองได้ ยาสามัญประจาบ้านแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ ยาสามัญประจาบ้านแผนปัจจุบัน และยา สามัญประจาบ้านแผนโบราณ ในที่นี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะยาสามัญประจาบ้านแผนปัจจุบัน ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจาบ้าน มีจานวน 5 ฉบับ และฉบับล่าสุดคือ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2555 จากประกาศ ฯ ทั้งหมด พบว่ายาที่กาหนดให้เป็นยาสามัญประจาบ้านมีทั้งสิ้น 56 ชนิดใช้สาหรับการรักษาโรคหรืออาการของโรคได้ 16 กลุ่มอาการ โดยที่ฉลากยาสามัญประจาบ้าน จะต้อง แสดงชื่อยาตามที่ระบุในประกาศ หากมีชื่อทางการค้าต้องแสดงชื่อตามประกาศควบคู่กับชื่อทางการค้า ด้วย ต้องระบุคาว่า “ยาสามัญประจาบ้าน” ในกรอบสีเขียวมีขนาดตัวอักษรที่สามารถอ่านได้ชัดเจน ระบุ คาว่า “ยาสิ้นอายุ” และแสดงวัน เดือน ปี พ.ศ. ที่ยาสิ้นอายุ (กระทรวงสาธารณสุข. 2542 : 48) ประเภทของยา และกลไกการออกฤทธิ์ 1. กลุ่มยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ กลุ่มยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ เป็นกลุ่มยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดแสบ หรือจุกแน่นบริเวณใต้ลิ้นปี่ ในช่วงก่อนรับประทานอาหาร หรือหลังรับ ประทานอาหารใหม่ ๆ โดยมีสาเหตุที่สาคัญคือ ความเครียด, การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา การ รับประทานอาหารที่ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร เช่น เหล้า เบียร์ หรือยาบางชนิด รวมถึงเป็นกลุ่มยาที่ ช่วยบรรเทาอาการที่เกิดจากอาหารไม่ย่อย หรือย่อยไม่สมบูรณ์ โดยมีสาเหตุจากการรับประทานอาหาร ย่อยยาก มีไขมันสูง อาหารสุก ๆ ดิบ ๆ รสจัด หรือรับประทานอาหารเร็วเกินไป เคี้ยวไม่ละเอียด ทาให้
  • 4. การย่อยอาหารไม่สมบูรณ์ เกิดลมในกระเพาะอาหารมาก จึงเกิดอาการอึดอัดท้อง จุกเสียด แน่น คลื่นไส้ ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 11 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.1 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ ยาลดกรด : บรรเทา อาการปวดแสบท้อง 1) อะลูมินา-แมกนีเซีย (Aluminium hydroxide – Magnesium hydroxide) ชนิดเม็ด ยามีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อน สามารถทาปฏิกิริยากับกรดใน กระเพาะอาหาร จึงมีผลลด ความเป็นกรดได้2) อะลูมินา-แมกนีเซีย ชนิดน้า ยาขับลม : บรรเทา อาการท้องอืด แน่นท้อง จุกเสียด 1) โซดามินท์ (Sodamint) ลดความเป็นกรดในกระเพาะ อาหาร แล้วทาให้เกิดแก๊ส CO2 2) ยาขับลม มีองค์ประกอบของสมุนไพร หลายชนิดที่ช่วยกระตุ้นการขับ ลมของลาไส้ 3) ยาธาตุน้าแดง 4) โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) ลดความเป็นกรดในกระเพาะ อาหาร แล้วทาให้เกิดแก๊ส CO2 5) ทิงเจอร์มหาหิงคุ์ (Asafetida) กระตุ้นการเคลื่อนไหวของลาไส้ ทาให้เพิ่มการขับลม 6) ไซเมธิโคน (Simethicone) ช่วยดูดซับก๊าซในกระเพาะ อาหารและต้านการเกิด ฟองอากาศ โดยลดแรงตึงผิว ของฟองอากาศ และเพิ่มอัตรา การขับออกจากร่างกาย ยาลดกรดและช่วยขับ ลม : บรรเทาอาการปวด แสบท้อง ท้องอืด แน่น ท้อง จุกเสียด 1) อะลูมินา-แมกนีเซีย-ไซเมธิโคน ชนิดเม็ด ลดความเป็นกรดในกระเพาะ อาหาร และขับลม2) อะลูมินา-แมกนีเซีย-ไซเมธิโคน ชนิดน้า 3) ซิตริกแอซิด-โซเดียมไบคาร์บอเนต- โซเดียมคาร์บอเนต ชนิดผงฟู่ ลดกรด บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อเนื่องจากกรดมากใน กระเพาะอาหาร ฟองที่เกิดขึ้น จะไปจับกับแก๊สที่เกิดขึ้นจาก กรดเกินในกระเพาะอาหารทา ให้เกิดการจับกันขนาดใหญ่แล้ว
  • 5. สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ ขับออกมาทาให้รู้สึกสบายท้อง ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ยาอะลูมินา-แมกนีเซีย, ยาธาตุน้าแดง, โซเดียมไบคาร์บอเนต, อะลูมินา-แมกนีเซีย-ไซเมธิ โคน และผงฟู่ซิตริกแอซิด-โซเดียมไบคาร์บอเนต-โซเดียมคาร์บอเนต ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคไต และ ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์ นอกจากแพทย์สั่ง (2) ยาโซดามินท์ ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคไต และไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์ นอกจากแพทย์สั่ง (3) ยาขับลม และยาธาตุน้าแดง มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง (4) ทิงเจอร์มหาหิงคุ์ ห้ามรับประทาน 2. ยาแก้ท้องเสีย ยาแก้ท้องเสีย ใช้กับผู้ที่อาการถ่ายอุจจาระบ่อยๆ ซึ่งอาจเกิดจากการระคายเคืองเนื้อเยื่อที่ ผนังลาไส้ใหญ่ ทาให้ลาไส้ใหญ่บีบตัวมากกว่าปกติ สาเหตุเกิดจากการรับประทานอาหารรสจัด หรือ รับประทานอาหารที่มีเชื้อโรคหรือสารพิษปนเปื้อน ผู้ป่วยควรงดอาหารรสจัด รับประทานอาหารอ่อน และทดแทนการสูญเสียน้าและเกลือแร่ ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 2 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.2 ตารางที่ 3.2 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้ท้องเสีย สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ ทดแทนการเสียน้า และ ป้องกันการช็อค เนื่องจากร่างกายขาดน้า ผงน้าตาลเกลือแร่ (Oral rehydration salt) ทดแทนการเสียน้าและเกลือแร่ ในรายที่มีการท้องเสีย หรือ อาเจียนมาก ๆ รักษาอาการท้องเสีย ยาผงถ่าน (Activated charcoal) ดูดซับสารพิษในทางเดินอาหาร ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ผู้ที่เป็นโรคหัวใจหรือโรคไต ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ผงน้าตาลเกลือแร่ (2) ห้ามรับประทานยาผงถ่านพร้อมกับยาอื่น เพราะจะทาให้ฤทธิ์ของยาอื่นลดลงได้ หรือหาก ต้องใช้ยาอื่นให้ใช้ยาผงถ่านห่างจากยาอื่นอย่างน้อย 2 ชั่วโมง (3) การรับประทานยาผงถ่าน จะทาให้อุจจาระมีสีค่อนข้างดา จากสีของผงถ่าน แต่ไม่มีอันตราย
  • 6. 3. ยาระบาย ยาระบาย ใช้กับผู้ที่มีอาการท้องผูก ซึ่งเกิดจากลาไส้ใหญ่มีการเคลื่อนไหวหรือบีบตัวได้ น้อยลง สาเหตุที่สาคัญคือ การรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย ดื่มน้าน้อย ถ่ายอุจจาระไม่เป็นเวลา ชอบ กลั้นอุจจาระ ไม่ออกกาลังกาย หรือการได้รับยาบางประเภท อาการที่พบคือ ไม่ถ่ายอุจจาระตามปกติ หรืออุจจาระแข็ง ถ่ายลาบาก ยาระบาย ประกอบด้วยยาจานวน 5 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.3 ตารางที่ 3.3 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาระบาย สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ บรรเทาอาการท้องผูก 1) กลีเซอรีน (Glycerine) ชนิดเหน็บทวาร สาหรับเด็ก ดูดน้าเข้าสู่ลาไส้ใหญ่ ทาให้ อุจจาระอ่อนนุ่ม และกระตุ้น การบีบตัวของลาไส้2) กลีเซอรีน ชนิดเหน็บทวารสาหรับผู้ใหญ่ 3) ยาระบายแมกนีเซีย (Magnesium hydroxide) เพิ่มการดูดน้าเข้าสู่ลาไส้ ทาให้ มีน้ามากขึ้น เกิดแรงดันออสโม ติก และกระตุ้นการเคลื่อนไหว ของลาไส้ ถ่ายอุจจาระออกมามี น้าปนมาก 4) ยาระบายมะขามแขก กระตุ้นการบีบตัวของลาไส้ 5) ยาระบายโซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloride) ชนิดสวนทวาร ดูดน้าจากผิวของลาไส้ใหญ่เข้า สู่ลาไส้ ทาให้อุจจาระมีน้ามาก ลักษณะนิ่ม และเพิ่มแรงดันใน ลาไส้ ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ไม่ควรใช้เป็นประจา (2) ยาระบายแมกนีเซีย และยาระบายมะขามแขก ห้ามใช้เมื่อมีอาการปวดท้อง หรือคลื่นไส้ อาเจียน 4. ยาถ่ายพยาธิลาไส้ โรคพยาธิที่พบบ่อย เช่น พยาธิปากขอ (Hook Worm) พยาธิไส้เดือน (Ascariasis) พยาธิ เส้นด้าย (Enterobiasis) พยาธิตัวตืด (Tape worm/ Taeniasis) สาเหตุเกิดจากการได้รับไข่พยาธิ หรือ ตัวอ่อนเข้าไปในร่างกาย อาการที่พบโดยทั่วไปคือ รับประทานอาหารมากแต่ไม่อ้วน หิวบ่อย ปวดท้อง
  • 7. ท้องอืด พุงโร ก้นปอด และมักตรวจพบไข่พยาธิในอุจจาระ อย่างไรก็ตามอาการและอาการแสดงจะ แตกต่างกันไปตามชนิดของพยาธิ ยาถ่ายพยาธิลาไส้ที่เป็นยาสามัญประจาบ้านใช้สาหรับถ่ายพยาธิตัวกลม ประกอบด้วยยาจานวน 1 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.4 ตารางที่ 3.4 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาถ่ายพยาธิลาไส้ สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ ใช้ถ่ายพยาธิตัวกลม มีเบนดาโซล (Mebendazole) ยับยั้งการขนส่งกลูโคสเข้าเซลล์ พยาธิ ทาให้พยาธิขาดพลังงาน จนไม่สามารถเคลื่อนไหวและ ตายได้ ข้อควรระวังและผลข้างเคียง ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 2 ปี หญิงมีครรภ์ในระยะ 3 เดือนแรก และผู้ป่วยโรคตับ 5. ยาบรรเทาปวด ลดไข้ ยาบรรเทาปวด ลดไข้ ใช้สาหรับผู้ที่มีอาการปวดเล็กน้อยถึงปานกลางจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น ปวดศีรษะ ปวดจากข้อเสื่อม ปวดกล้ามเนื้อ เคล็ด ขัด ยอก เป็นต้น หรือใช้เพื่อลดไข้ ซึ่งมีสาเหตุมาจาก การติดเชื้อได้ ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 4 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.5 ตารางที่ 3.5 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาบรรเทาปวด ลดไข้ สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ ลดไข้ และบรรเทา อาการปวด 1) พาราเซตามอล 500 มก. ชนิดเม็ด ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ Cyclooxygenase ส่งผลลด การสร้างพรอสตาแกลนดิน (Prostaglandin) ซึ่งเป็นสาร สื่อให้เกิดความเจ็บปวด และ อาการไข้ 2) พาราเซตามอล 325 มก. ชนิดเม็ด 3) พาราเซตามอล ชนิดน้า บรรเทาอาการปวด กล้ามเนื้อ 4) พลาสเตอร์บรรเทาปวด ตัวยาจะกระตุ้นปลายประสาท รับความรู้สึกถึงความร้อน ทา ให้เกิดการตอบสนองถึงการ บรรเทาอาการปวดลดลง
  • 8. ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ไม่ควรใช้ยาพาราเซตามอลติดต่อกันเกิน 5 วัน และหากใช้เกินขนาดที่แนะนา อาจทาให้เป็น พิษต่อตับได้ ผู้ป่วยโรคตับ โรคไต ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา (2) ห้ามใช้พลาสเตอร์บรรเทาปวด ในบริเวณเยื่อบุ หรือบริเวณบาดแผลเปิด 6. ยาแก้แพ้ ลดน้ามูก ยาแก้แพ้ ลดน้ามูก ประกอบด้วยยาจานวน 1 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.6 ตารางที่ 3.6 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้แพ้ ลดน้ามูก สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ บรรเทาอาการแพ้ เช่น ลมพิษ น้ามูกไหล คลอร์เฟนิรามีน (Chlorpheniramine) ฮีสตามีน (Histamine) เป็น สารสาคัญที่ทาให้เกิดอาการแพ้ ยาออกฤทธิ์โดยแย่งจับกับตัวรับ ของฮีสตามีน ทาให้การออก ฤทธิ์ของฮีสตามีนลดลง ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ไม่ควรใช้ยาติดต่อกันเกิน 7 วัน และหลีกเลี่ยงการใช้ยาร่วมกับเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ผสม เนื่องจากจะเสริมฤทธิ์ในการกดประสาท ซึ่งอาจทาให้หมดสติ หรือเป็นอันตรายได้ (2) ยานี้อาจทาให้เกิดอาการง่วงชึม 7. ยาแก้ไอ ขับเสมหะ ยาน้าแก้ไอขับเสมหะ ใช้บรรเทาอาการไอ ซึ่งเป็นกลไกของร่างกายที่ช่วยขับสิ่งแปลกปลอม ออกจากทางเดินหายใจ ยากลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 2 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.7 ตารางที่ 3.7 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้ไอ ขับเสมหะ สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ ขับเสมหะ บรรเทา อาการไอ 1) ยาน้าแก้ไอขับเสมหะ สาหรับเด็ก ยามีฤทธิ์กระตุ้นให้เกิดสารคัด หลั่งในทางเดินหายใจมากขึ้น และถูกขับออกมาโดยการโบก พัดของชิเลียในทางเดินหายใจ
  • 9. สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ หรือโดยการไอได้ง่ายขึ้น บรรเทาอาการไอ 2) ยาแก้ไอน้าดา กดระบบประสาทส่วนกลาง ซึ่ง เป็นเส้นทางของการกระตุ้นการ ไอ ทาให้ระดับความทน (threshold) ต่อการไอสูงขึ้น ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ยาแก้ไอน้าดา เป็นยาที่สกัดจากอนุพันธ์ของฝิ่น ซึ่งทาให้เสพติดได้ 8. ยาดม หรือทาแก้วิงเวียน หน้ามืด คัดจมูก ยาดม/ทาแก้วิงเวียน หน้ามืด คัดจมูก ใช้สาหรับ ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 3 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.8 ตารางที่ 3.8 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาดม หรือทาแก้วิงเวียน หน้ามืด คัดจมูก สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ บรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด หรือบรรเทา อาการจากพิษแมลงกัด ต่อย หรือถูกพืชมีพิษ 1) เหล้าแอมโมเนียหอม - บรรเทาอาการคัดจมูก หายใจไม่ออก และ บรรเทาอาการวิงเวียน ศีรษะ 2) ยาดมวิงเวียน แก้คัดจมูก - บรรเทาอาการคัดจมูก และลดอาการอัน เนื่องจากหวัด 3) ยาทาระเหย บรรเทาอาการคัดจมูกชนิด ขี้ผึ้ง - ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ไม่ควรใช้เป็นประจา เพราะอาจทาให้การรับรู้กลิ่นของสารลดลง 9. ยาแก้เมารถ เมาเรือ
  • 10. ยาเม็ดแก้เมารถ เมาเรือ ใช้สาหรับผู้ที่มีอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ขณะเดินทาง ซึ่ง สาเหตุที่ให้เกิดอาการดังกล่าวมาจากการทางานไม่สมดุลของระบบการทรงตัวของร่างกาย ซึ่งเกิดจากการ ทางานที่มากเกินหรือไวเกินของระบบประสาทต่อสิ่งกระตุ้น เช่น นั่งรถที่เหวี่ยงนานเกินไป ยาในกลุ่มนี้ ประกอบด้วยยาจานวน 1 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.9 ตารางที่ 3.9 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้เมารถ เมาเรือ สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ ป้องกันอาการ เมารถ เมาเรือ 1) ไดเมนไฮดริเนท (Dimenhydrinate) ออกฤทธิ์ต้านฮีสตามีน มีผลกด ระบบประสาทส่วนกลาง ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ยานี้อาจทาให้เกิดอาการง่วงชึม 10. ยาสาหรับโรคตา ยาสาหรับโรคตา ใช้สาหรับล้างทาความสะอาดตา เนื่องจากการได้รับฝุ่นละอองหรือสิ่ง แปลกปลอมเข้าตา ทาให้เกิดการระคายเคืองตา และใช้สาหรับรักษาอาการตาอักเสบ เนื่องจากการติดเชื้อ แบคทีเรียที่ตา ซึ่งอาจทาให้เกิดอาการตาแดง เจ็บตา หรือเคืองตาร่วมด้วย ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยา จานวน 2 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.10 ตารางที่ 3.10 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาสาหรับโรคตา สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ รักษาอาการตาแดง ตา อักเสบ จากการติดเชื้อ 1) ยาหยอดตา ซัลฟาเซตาไมด์ (Sulfacetamide) ยับยั้งการเจริญเติบโตของ แบคทีเรีย โดยออกฤทธิ์ขัดขวาง กระบวนการเมแทบอลิซึมของ แบคทีเรีย บรรเทาอาการแสบตา ระคายเคืองตา เนื่อง จากสิ่งสกปรกเข้าตา 2) ยาล้างตา เป็นน้าเกลือที่มีความเข้มข้น เท่ากับพลาสมา ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ยาหยอดตา ซัลฟาเซตาไมด์ เมื่อเปิดใช้แล้วสามารถเก็บไว้ใช้ได้เป็นเวลา 1 เดือน และห้ามใช้ เมื่อยาเปลี่ยนสี ขุ่น หรือมีตะกอน
  • 11. 11. ยาสาหรับโรคปากและลาคอ ยาสาหรับโรคปากและลาคอ ใช้บรรเทาอาการเจ็บคอ ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยสาเหตุ สาคัญคือ การติดเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อไวรัส และใช้บรรเทาอาการปวดฟัน ซึ่งเกิดจากฟันผุ เนื่องมาจาก การแปรงฟันไม่สะอาด เศษอาหารติดค้างอยู่ตามซอกฟัน ทาให้แบคทีเรียที่อยู่ในช่องปากเจริญเติบโต แบคทีเรียเหล่านี้จะเปลี่ยนแป้งและน้าตาลจากเศษอาหารให้กลายเป็นกรด กรดจะทาลายฟันให้ผุกร่อนที ละน้อย ผู้ป่วยจะมีอาการปวดฟัน เวลารับประทานอาหารรสจัด อาหารเย็นจัด ของหวาน หรือเมื่อมีเศษ อาหารไปอุดฟัน ถ้าผุลึกถึงโพรงประสาทจะปวดมาก ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยาจานวน 5 ชนิด ดังแสดง ในตารางที่ 3.11 ตารางที่ 3.11 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาสาหรับโรคปากและลาคอ สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ บรรเทาอาการอักเสบ และเจ็บในลาคอ ยากวาดคอ ฆ่าเชื้อ และลดการอักเสบ รักษาฝ้าขาวที่กระพุ้ง แก้ม หรือลิ้น เยนเชี่ยนไวโอเลต (Gentian violet) ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ รา ยีสต์ และต้านฤทธิ์แบคทีเรีย แกรมบวก บรรเทาอาการปวดฟัน ยาแก้ปวดฟัน มีกานพลูเป็นส่วนประกอบ บรรเทาอาการระคายคอ ทาให้ชุ่มคอ ยาอมบรรเทาอาการระคายคอ มีส่วนประกอบของสมุนไพร หลายชนิด บรรเทาอาการเจ็บคอ ยาอมบรรเทาอาการเจ็บคอ - ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ยาอมบรรเทาอาการเจ็บคอ หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลา 2 วันแล้วอาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษา แพทย์ และไม่ควรใช้เด็กในอายุต่ากว่า 6 ปี (2) เยนเชี่ยนไวโอเลต อาจเกิดอาการระคายเคืองหรือแพ้บริเวณเยื่อเมือก หากกลืนยาอาจทาให้ เกิดการอักเสบของทางเดินอาหารได้ ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยานี้ และสีของยาอาจติดเสื้อผ้าและผิวหนังได้ 12. ยาใส่แผล ล้างแผล ยาใส่แผล ล้างแผล ใช้สาหรับปฐมพยาบาลบาดแผลที่เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น มีดบาด หกล้ม ทาให้เกิดการฉีกขาดของผิวหนัง ยากลุ่มนี้มีทั้งยาที่ใช้สาหรับทาความสะอาดบาดแผล ฆ่าเชื้อโรคบริเวณ
  • 12. บาดแผล และฆ่าเชื้อโรคบริเวณผิวหนังรอบบาดแผล ยาในกลุ่มนี้มีจานวน 7 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.12 ตารางที่ 3.12 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาใส่แผล ล้างแผล สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ รักษาแผลสด ลดจานวน เชื้อโรคบริเวณบาดแผล 1) ทิงเจอร์ไอโอดีน (Tincture iodine) ไอโอดีนจะซึมผ่านเข้าเซลล์ของ เชื้อโรคและมีผลต่อโปรตีน ภายในเซลล์ ทาให้เซลล์ตาย 2) โพวิโดน-ไอโอดีน (Povidone-Iodine) 3) ทิงเจอร์ไทเมอรอซอล ตัวยาจะแตกตัวออกเป็นสารที่มี ฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ แบคทีเรียและเชื้อรา ทาความสะอาดผิวหนัง รอบบาดแผล 4) ไอโซโพรพิล แอลกอฮอล์ (Isopropyl alcohol) ทาลายเยื่อหุ้มเซลล์ของเชื้อโรค ทาให้เกิดการสลายของเซลล์ และตายในที่สุด5) เอทิล แอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) 6) คลอโรไซลีนอล ทาลายเยื่อหุ้มเซลล์ของเชื้อโรค และมีผลต่อโปรตีนภายในเซลล์ ทาความสะอาดบาดแผล 7) น้าเกลือล้างแผล (Sodium chloride) เป็นสารละลายที่มีความเข้มข้น เท่าพลาสมา สามารถใช้ได้โดย ที่ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของเซลล์ภายในร่างกาย ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ยากลุ่มนี้เป็นยาใช้ภายนอก ห้ามรับประทาน และหลีกเลี่ยงอย่าให้ยาเข้าตา (2) หากมีอาการระคายเคืองหรือผื่นแดงเกิดขึ้นให้หยุดใช้ยา 13. ยารักษาแผลติดเชื้อ ไฟไหม้ น้าร้อนลวก ยารักษาแผลติดเชื้อ ไฟไหม้ น้าร้อนลวก ใช้กับผู้ที่ได้รับความร้อนจากไฟ หรือน้าร้อน สัมผัส ถูกบริเวณผิวภายนอกร่างกาย ทาให้เกิดอาการผิวหนังแดง แสบร้อน ถลอก ผิวหนังพอง ยาในกลุ่มนี้ ประกอบด้วยยาจานวน 1 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.13 ตารางที่ 3.13 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาแก้เมารถ เมาเรือ สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์
  • 13. สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ รักษาการติดเชื้อของ แผล ซึ่งเกิดจากไฟไหม้ หรือน้าร้อนลวก 1) ซิลเวอร์ซัลฟาไดอาซีน ครีม (Silver sulfadiazine) ยับยั้งการเจริญเติบโตของ แบคทีเรีย โดยออกฤทธิ์ขัดขวาง กระบวนการเมแทบอลิซึมของ แบคทีเรีย ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) หลีกเลี่ยงการใช้ยาในผู้ที่มีประวัติแพ้ยากลุ่มซัลฟา (2) ไม่ควรใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกเกิด 14. ยาบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ แมลงกัดต่อย ยาบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ แมลงกัดต่อย ใช้สาหรับผู้ที่มีอาการปวดบวมของผิวหนัง บริเวณที่แมลงกัดต่อย ทั้งนี้อาการหลังจากถูกแมลงกัดของแต่ละคนจะไม่เหมือนกัน ระยะเวลาที่เกิด อาการก็อาจช้าหรือเร็วแตกต่างกันไป เนื่องจากมีภูมิต้านทานแตกต่างกันไป คนที่มีภูมิต้านทานสูงอาจมี อาการเฉพาะที่เพียงเล็กน้อย แค่อาการบวมแดง ปวดเล็กน้อย และหายไปในเวลาไม่นาน ยาในกลุ่มนี้ ประกอบด้วยยาจานวน 1 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.14 ตารางที่ 3.14 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ แมลงกัดต่อย สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ บรรเทาอาการปวด บวม อักเสบ เนื่องจากแมลง กัดต่อย หรือปวดเมื่อย กล้ามเนื้อ ยาหม่อง ชนิดขี้ผึ้ง มีส่วนผสมจากสมุนไพรที่มีกลิ่น หอมจากน้ามันหอมระเหย และ ตัวยา Methyl salicylate ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) ไม่ควรใช้กับผิวหนังบริเวณที่บอบบาง เช่น บริเวณตาและปาก ขาหนีบ แผลเปิดหรือแผลติด เชื้อ เพราะจะทาให้ระคายเคืองได้ 15. ยาสาหรับโรคผิวหนัง ยาสาหรับโรคผิวหนัง ประกอบด้วยยาที่ใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากปรสิต เช่น หิด เหา โลน และโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา เช่น กลาก เกลื้อน การเลือกใช้ยารักษาโรคผิวหนัง เพื่อให้ได้ผลดีขึ้นอยู่
  • 14. กับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ การวินิจฉัยได้อย่างถูกต้องว่าโรคผิวหนังที่เป็นเกิดจากสาเหตุใด บริเวณที่ จะทายา ระยะเวลาที่ใช้ยา และสภาพของผู้ป่วย (สุธี เวคะวากยานนท์. 2554 : 80) กลากและเกลื้อน มีสาเหตุมาจากเชื้อราซึ่งพบได้บ่อยในภูมิประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น เชื้อรา จะเจริญเติบโตได้ดีโดยเฉพาะเมื่อร่างกายมีเหงื่อมากและเปียกชื้น เสื้อผ้าที่หมักหมมเป็นเวลานาน กลาก เกลื้อน หิด เหา และโลน เป็นไรชนิดหนึ่งที่พบตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยที่หิดพบมากที่บริเวณซอก นิ้วมือ นิ้วเท้า มีลักษณะเป็นตุ่มเล็ก มีน้าใส และคันมาก สามารถติดต่อกันได้โดยการสัมผัสกับผู้ป่วย เหา พบที่บริเวณศีรษะ เกิดจากได้รับตัวเหาหรือไข่เหา จากการคลุกคลี หรือใช้เสื้อผ้าเครื่องใช้ของคนที่เป็น มี อาการคันศีรษะ เป็นมากตอนกลางคืน ถ้าเกามาก ๆ อาจทาให้หนังศีรษะถลอกเป็นแผลได้ ส่วนโลนพบที่ บริเวณอวัยวะเพศ มักทาให้เกิดอาการคันมากเช่นกัน หากเกามาก ๆ จนเกิดรอยถลอก อาจนาไปสู่การติด เชื้อได้ ยาในกลุ่มนี้มีจานวน 6 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.15 ตารางที่ 3.15 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาสาหรับโรคผิวหนัง สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ รักษาหิด เหา และโลน 1) เบนซิล เบนโซเอต (Benzyl benzoate) ยาจะถูกดูดซึมเข้าไปในตัวหิด เหา หรือโลน และไปออกฤทธิ์ ต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทา ให้หิด เหา และโลนตาย รักษาหิด 2) ขี้ผึ้งกามะถัน ฤทธิ์ฆ่าเชื้อรา ปรสิต และรักษา โรคผิวหนัง รักษากลากเกลื้อน และ น้ากัดเท้า 3) ยารักษากลากเกลื้อน น้ากัดเท้า ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ โดยออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง และการทางานของเอนไซม์ รักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง บางชนิด เช่น เรื้อน กวาง ผิวหนังเป็นผื่นคัน 4) ยารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง - บรรเทาอาการคัน เนื่องจาก ผดผื่น ลมพิษ 5) คาลาไมน์ (Calamine) ช่วยทาให้ผิวหนังแห้ง และรู้สึก เย็น ลดอาการระคายเคืองและ ไม่สุขสบายตามผิวหนัง เนื่องจากอาการแพ้ รักษาเกลื้อน 6) โซเดียม ไทโอซัลเฟต ตัวยาจะปลดปล่อยธาตุ กามะถันออกมา และมีฤทธิ์ใน
  • 15. สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ การฆ่าเชื้อราโดยไม่ทาให้ ผิวหนังลอก ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) โซเดียม ไทโอซัลเฟต ที่ผสมน้าแล้วควรใช้ภายใน 15 วัน (2) ยาทุกตัวเป็นยาใช้ทาภายนอก ห้ามรับประทาน และระวังอย่าให้ยาเข้าตา หากเกิดอาการ ระคายเคืองต่อผิวหนังให้หยุดใช้ยา 16. ยาบารุงร่างกาย ยาบารุงร่างกาย ใช้สาหรับผู้ที่มีภาวะขาดสารอาหารที่จาเป็นกับการทางานของร่างกาย ซึ่ง เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีสารอาหารไม่ครบ หรือมีปริมาณไม่เพียงพอ แต่อย่างไรก็ตามวิตามิน และเกลือแร่บางชนิด หากร่างกายได้รับมากเกินไปอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ยาในกลุ่มนี้ประกอบด้วยยา จานวน 6 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 3.16 ตารางที่ 3.16 สรรพคุณและกลไกการออกฤทธิ์ของกลุ่มยาบารุงร่างกาย สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ ป้องกันการขาดวิตามินบี 1) วิตามินบีรวม (Vitamin B complex) เป็นสารประกอบของวิตามินบี หลายชนิดที่จาเป็นต่อร่างกาย ในกระบวนการเผาผลาญและ รักษาภาวะสมดุลของร่างกาย (บารุงประสาท การเผาผลาญ สารอาหาร เสริมสร้างการสร้าง เม็ดเลือดแดง) ป้องกันการขาดวิตามินซี 2) วิตามินซี ส่งเสริมการดูดซึมของเหล็กและ แคลเซียม ช่วยในกระบวนการ เมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน และช่วยในการเปลี่ยนกรดโฟลิค (ต้านอนุมูลอิสระ สร้างคอลลา เจน บารุงผิวพรรณและกระดูก) รักษาโรคโลหิตจาง เนื่องจากขาดธาตุเหล็ก 3) เฟอร์รัส ซัลเฟต (Ferrous sulfate) ทดแทนธาตุเหล็กซึ่งเป็นสารที่ จาเป็นต่อการดารงชีวิต และ
  • 16. สรรพคุณ ชื่อยา กลไกการออกฤทธิ์ ในผู้ใหญ่ จาเป็นต่อการขนส่งและใช้ ประโยชน์ของออกซิเจน ป้องกันการขาดวิตามิน สาหรับผู้ใหญ่ 4) วิตามินรวม (Multivitamin) เป็นสารอาหารที่ช่วยใน กระบวนการรักษาสมดุลของ ร่างกาย ป้องกันการขาดวิตามิน เอ และวิตามินดี 5) น้ามันตับปลาชนิดแคปซูล เป็นสารอาหารที่ช่วยใน กระบวนการรักษาสมดุลของ ร่างกาย (การมองเห็น การสร้าง กระดูกและฟัน) 6) น้ามันตับปลาชนิดน้า ข้อควรระวังและผลข้างเคียง (1) วิตามินรวม และน้ามันตับปลา ยาเหล่านี้อาจสะสมในร่างกายจนทาให้เกิดอันตรายได้ จึงไม่ ควรใช้เกินขนาดที่กาหนดไว้ หรือติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน (2) ห้ามใช้วิตามินซี เมื่อเม็ดยาเปลี่ยนสี (3) เฟอร์รัส ซัลเฟต อาจทาให้อุจจาระมีสีดา และห้ามใช้ในผู้ป่วยธาลัสซีเมีย เนื่องจากมีภาวะ เหล็กเกิน อาการข้างเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง 1. อาการข้างเคียง และแนวทางการดูแลตนเอง 1.1 ง่วงซึม พบได้ในยากลุ่มต้านฮีสตามีน ได้แก่ ยาคลอร์เฟนิรามีน และไดเมนไฮดริเนท ซึ่งมี ผลกดระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้มีอาการง่วงซึมได้ ดังนั้นผู้ใช้ยาควรต้องหลีกเลี่ยงการทางานกับ เครื่องจักร ซึ่งอาจทาให้เกิดอุบัติเหตุได้ 1.2 ท้องเสีย จากยาที่มีแมกนีเซียมเป็นส่วนประกอบ เนื่องจากมีคุณสมบัติในการดูดน้าเข้าสู่ ลาไส้มากขึ้น 1.3 ท้องผูก จากยาที่มีอะลูมิเนียมเป็นส่วนประกอบ เนื่องจากมีคุณสมบัติในการดูดซับ เคลือบผิว ฝาดสมาน จึงมักทาให้เกิดอาการท้องผูกได้ ซึ่งสามารถลดอาการท้องผูกได้โดยการดื่มน้ามาก ๆ รับประทานอาหารที่มีกากใย และการออกกาลังกาย 1.4 อุจจาระสีดา พบได้จากการใช้ยาผงถ่าน และเฟอร์รัส ซัลเฟต ซึ่งผลข้างเคียงนี้ไม่มี อันตรายต่อร่างกาย
  • 17. 1.5 อาการไม่สบายท้อง คลื่นไส้ พบได้จากยาเฟอร์รัส ซัลเฟต สามารถลดอาการเหล่านี้โดย รับประทานยาพร้อมกับอาหาร หรือค่อย ๆ เพิ่มขนาดยาจนถึงขนาดที่แนะนาให้ใช้ 1.6 ปากแห้ง ทางเดินหายใจแห้ง จากยาแก้แพ้ ซึ่งอาจทาให้เกิดอาการระคายคอ และไอได้ แก้ไขโดยการดื่มน้ามาก ๆ เพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นของเยื่อบุ 2. อาการไม่พึงประสงค์และพิษจากการใช้ยา 2.1 แพ้ยา มักพบในการใช้ยากลุ่มต้านจุลชีพ ทั้งนี้อาการแพ้จะขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล ในราย ที่มีอาการแพ้เล็กน้อย อาจมีลมพิษ ผื่นคัน หรือมผื่นแดงขึ้นทั่วตัว หนังตาหรือริมฝีปากบวม สาหรับในราย ที่มีอาการแพ้มากขึ้น อาจมีอาการใจสั่น แน่นหน้าอก คลื่นไส้อาเจียน หรือหายใจติดขัด ซึ่งมักเกิดจากการ ใช้ยาฉีด และในรายที่เป็นรุนแรง จะมีอาการเป็นลม ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่า และหยุด หายใจ อาการแพ้ยารุนแรงเช่นนี้ เรียกว่า “Anaphylactic shock” หรืออาจพบอาการแพ้ยาที่เป็น ลักษณะพุพอง หนังเปื่อยลอกทั้งตัวคล้ายถูกไฟลวก ปากเปื่อย ตาอักเสบ ท่อปัสสาวะอักเสบ มีไข้ ซึ่ง เรียกว่า “Stevens Johnson Syndrome” 2.2 ตับวาย พบได้ในผู้ที่มีการใช้ยาพาราเซตามอลต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน หรือใช้ยาเกิน ขนาด อาการที่พบคือ แน่นท้องด้านขวา ตาเหลือง เป็นต้น ยาที่ถูกยกเลิกการเป็นยาสามัญประจาบ้าน ยาที่ถูกยกเลิกการเป็นยาสามัญประจาบ้าน ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญ ประจาบ้านแผนปัจจุบัน ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 ได้แก่ ยารักษาแผลน้าร้อนลวกฟีนอล และฉบับที่ 3 พ.ศ. 2550 ได้แก่ ยาเม็ดบรรเทาปวดลดไข้แอสไพริน (Aspirin) เนื่องจากได้พบข้อมูลเกี่ยวกับความไม่ปลอดภัย ในการใช้ ซึ่งไม่เหมาะสมในการใช้เป็นยาสามัญประจาบ้าน การใช้ยาแอสไพรินเพื่อลดไข้ในเด็กอายุต่ากว่า 12 ปี อาจทาให้เกิด Reye’s syndrome ได้ ปัจจุบันจึงจัดให้ยาดังกล่าวอยู่ในกลุ่มยาอันตราย ส่วนเหตุผล ที่ยกเลิกยารักษาแผลน้าร้อนลวกฟีนอล ยังไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด สรุป ยาสามัญประจาบ้านเป็นยาที่กระทรวงสาธารณสุขได้พิจารณาแล้วว่าประชาชนสามารถหาซื้อมา ใช้เพื่อรักษาหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยด้วยตนเองได้ โดยมีความปลอดภัยสูง หากใช้อย่างถูกต้อง ตามคาแนะนาที่ระบุไว้ ปัจจุบันมียาสามัญประจาบ้านรวมทั้งสิ้น 16 กลุ่ม ซึ่งควรเลือกใช้ยาให้ถูกต้องและ เหมาะสมกับอาการที่พบ รวมถึงการสังเกตอาการข้างเคียงที่เกิดจากการใช้ยาด้วย
  • 18. คาถามทบทวน 1. จงอธิบายความหมายของยาสามัญประจาบ้าน 2. ยาคลอร์เฟนิรามีน มีประโยชน์ใช้ทางคลินิกอย่างไร 3. หากมีอาการท้องผูกสามารถเลือกใช้ยาสามัญประจาบ้านชนิดใดได้บ้าง 4. จงบอกชื่อยาสามัญประจาบ้านซึ่งเป็นยาที่ใช้ภายนอก 5. ยาพาราเซตามอลมีกลไกการออกฤทธิ์อย่างไร 6. ผลข้างเคียงที่สาคัญของยาไดเมนไฮดริเนทคืออะไร และจะมีแนวทางในการดูและตนเอง อย่างไรเมื่อต้องใช้ยา เอกสารอ้างอิง กระทรวงสาธารณสุข. (28 มีนาคม 2542). “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจาบ้าน แผนปัจจุบัน.” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 116 ตอนที่ 38 ง (13 พฤษภาคม 2542) หน้า 9-49. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. (2554). การใช้ยาสามัญประจาบ้านอย่างปลอดภัย. กรุงเทพฯ : พีทู ดีไซน์ แอนด์ พริ้นท์. สกุลรัตน์ รัตนาเกียรติ์. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการสอนวิชา ยาในชีวิตประจาวัน. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุธี เวคะวากยานนท์. (2554). รู้ไว้ - ใช้ยา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สภาการพยาบาล. (2556). คู่มือการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ศิริยอด การพิมพ์.