SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
การประชุมวิชาการราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
บริษัท ไบเออร์ไทย จำ�กัด
เสนอบันทึกการบรรยายพิเศษ

,The challenge OC
improve quality of life
in PMS/PMDD women
วิทยากร :
ศ. นพ.สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

วิทยากร :
ผศ. นพ.มานพชัย ธรรมคันโธ
โรงพยาบาลศิริราช

วันที่ 22 เมษายน 2553
ณ อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี

1
YAZ, the challenge OC improve quality of life in PMS/PMDD women
ผศ. นพ.มานพชัย ธรรมคันโธ
	
นวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านการคุมกำ�เนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาคุมกำ�เนิดชนิดรับประทาน (Oral contraceptive pills) คง
ต้องคำ�นึงถึงประสิทธิภาพ ความปลอดภัย ความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนประโยชน์ที่นอกเหนือการคุมกำ�เนิด ความสะดวก
สบายในการใช้ ผลกระทบต่อแนวทางการดำ�รงชีวิตของผู้หญิง (Life style) และรอบเดือนของผู้หญิง ล้วนเป็นสิ่งที่ผู้หญิงให้ความสนใจ
เกี่ยวกับการคุมกำ�เนิด
	
ปัจจุบันการใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดรับประทานเป็นวิธีที่นิยมใช้มากที่สุดในโลก และคุณสมบัติที่ดีของวิธีการคุมกำ�เนิด
ประกอบด้วย
	
1. ประสิทธิภาพ	 	
	
	
	
2. ปลอดภัย
	
3. ภาวะการเจริญพันธุ์ภายหลังคุมกำ�เนิด	
	
4. ใช้ได้ง่าย สะดวก
	
5. คนส่วนใหญ่ยอมรับ	 	
	
	
6. ราคาเหมาะสม
	
อาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากฮอร์โมนในยาเม็ดคุมกำ�เนิดก็เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยในการหยุดการใช้ยา หรือรีบกลับมาปรึกษา
แพทย์เพื่อขอคำ�แนะนำ� ได้แก่

	
1. ฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen)  คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ คัดตึงเต้านม บวมน้ำ� หน้าเป็นฝ้า
	
2. ฮอร์โมนโปรเจสโตเจน (Progestogen) ก่อให้เกิดอาการคล้ายคลึงฮอร์โมนเพศชาย เช่น ผิวมัน ผมมัน สิว  มีขนขึ้น และ
น้ำ�หนักตัวเพิ่ม จึงเป็นที่มาของการค้นคิดและพัฒนายาเม็ดคุมกำ�เนิดโดยเฉพาะชนิดฮอร์โมนรวม เพื่อลดอาการข้างเคียงดังกล่าวข้าง
ต้น แต่อย่างไรก็ตาม อาการข้างเคียงดังกล่าวบางครั้งมิได้มีสาเหตุเกิดจากผลข้างเคียงของฮอร์โมนโดยตรง แต่อาจเกิดจากสาเหตุทาง
กายภาพ หรือภาวะความผิดปกติของสรีระภายในร่างกาย จึงจำ�เป็นต้องมีการวินิจฉัยให้ถูกต้องและแม่นยำ�
เหตุผลในการลดขนาด Estrogen
	
1. ลดอาการข้างเคียง: บวมน้ำ� คลื่นไส้ อาเจียน คัดตึงเต้านม หน้าเป็นฝ้า
	 2. ลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหลอดเลือดอุดตัน (Venothromboembolism : VTE)
	 . ลดอุบัติการณ์การเปลี่ยนแปลงระบบการแข็งตัวของเลือด
3

2
การพัฒนาฮอร์โมนโปรเจสโตเจนตัวใหม่ในยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดฮอร์โมนรวมได้เกิดขึ้นคือ ฮอร์โมน Drospirenone (DRSP)
ซึ่งมีคุณสมบัติเฉพาะและแตกต่างจากฮอร์โมนโปรเจสโตเจนตัวอื่น กล่าวคือเป็นอนุพันธ์ของ 17a-spirolactone
	
1. Drospirenone  มีคุณสมบัติในการช่วยขับปัสสาวะแบบอ่อน ๆ จากกลไกการทำ�งานของ Antimineralocorticoid Hormone ซึ่งช่วยต้านฤทธิ์ของฮอร์โมนเอสโตรเจน ช่วยลดการคั่งเกลือและน้ำ� ทำ�ให้ลดอาการบวม  คัดตึงเต้านมจากการคั่งของเกลือและ
น้ำ�ในร่างกาย
	
2. คุณสมบัติของ Drospirenone ในการต้านฤทธิ์ฮอร์โมนเพศชาย (Antiandrogenic Effects) สามารถช่วยในการลดอาการ
หน้ามัน สิว ขนขึ้นดกผิดปกติได้

โดยสรุปคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของ Drospirenone
	
- พัฒนามาจากกลุ่ม 17a-spirolactone   

3
- มีคุณสมบัติทางฮอร์โมนโปรเจสโตเจน, antimineralocorticoid และฤทธิ์ต้านฮอร์โมนเพศชาย
	
- ไม่มีฤทธิ์ทางฮอร์โมนเอสโตรเจน, ฮอร์โมนเพศชาย (Androgenic) และ Glucocorticoid, Antiglucocorticoid  
	
- มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับฮอร์โมนโปรเจสโตเจนที่พบในธรรมชาติ
	
กลุ่มอาการผิดปกติก่อนมีรอบเดือน (Premenstrual Syndrome) เป็นภาวะความผิดปกติที่พบได้บ่อยในต่างประเทศ สำ�หรับ
ประเทศไทยกลุ่มอาการดังกล่าวยังไม่มีตัวเลขรายงานที่ชัดเจน แต่เนื่องจากวัฒนธรรมและประเพณีของสตรีไทยทำ�ให้ปัญหาดังกล่าว   
ไม่ได้ถูกหยิบยกขึ้นมา กลุ่มอาการดังกล่าวประกอบด้วย กลุ่มอาการทางกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ภาวะบวมคั่งน้ำ�  เบื่อ
อาหาร กลุ่มอาการทางจิต เช่น อารมณ์หงุดหงิด อารมณ์แปรปรวน โกรธ หรือโมโหง่าย ขาดสมาธิ หรือสมาธิสั้น สาเหตุของกลุ่ม
อาการดังกล่าวมีมากมายหลายสาเหตุ เช่น การเปลี่ยนแปลงของสาร Neurotransmitter ภายในสมอง เช่น สาร Adrenaline เป็นต้น
ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนภายในร่างกายที่เกิดจากภาวะไข่ตก และการมีรอบเดือนของสตรี กลุ่มอาการดังกล่าวจะเกิด
ขึ้นประมาณ 5-7 วันก่อนเริ่มมีรอบเดือน และอาการจะค่อยทุเลาหรือดีขึ้นภายหลังรอบเดือนเริ่มมาวันแรกหรือวันที่สอง กลุ่มอาการดัง
กล่าวมักพบในสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่มีรอบเดือนมาเป็นปกติ และอาการเหล่านี้มักจะดีขึ้นหรือทุเลาลงในกรณีที่สตรีรับประทานยาเม็ดคุม
กำ�เนิดอย่างถูกต้องและสม่ำ�เสมอ จึงได้มีการคิดค้นและพัฒนางานวิจัยเพื่อนำ�เอาฮอร์โมนจากยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดรับประทานมาใช้ใน
การรักษากลุ่มอาการดังกล่าว จากการศึกษาวิจัยพบว่าเมื่อมีการลดและปรับขนาดของฮอร์โมน โดยเฉพาะฮอร์โมนเอสโตรเจน และปรับ
เปลียนชนิดของฮอร์โมนโปรเจสโตเจน เป็น Drospirenone (DRSP) สามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวตของสุภาพสตรีทงกายและใจ ทำ�ให้
่
ิ
ั้
เพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�งาน สุขภาพกายและใจพัฒนาดีขึ้นเป็นลำ�ดับ รวมถึงการปรับจำ�นวนเม็ดยาที่มีฮอร์โมนรวมในแต่ละแผงให้
เป็นสูตร 24/4  กล่าวคือมีฮอร์โมนรวมอยู่ทั้งสิ้น 24 เม็ด และที่เหลืออีก 4 เม็ดเป็นวิตามินเพื่อช่วยให้ระดับของฮอร์โมนรวมในกระแส
โลหิตไม่ลดต่ำ�จนเป็นศูนย์ ซึงอาจเป็นสาเหตุให้เกิดกลุมอาการดังกล่าว กลุมอาการผิดปกติกอนมีรอบเดือน (Premenstrual Syndrome)
่
่
่
่
หากไม่ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องอาจลุกลามกลายเป็นโรคทางจิตเวช Premenstrual Dysphoric Disease (PMDD) ซึ่งยากต่อการ
รักษา และมีค่าใช้จ่ายเรื่องของยารักษาทางจิตเวชค่อนข้างสูง

YAZ, The challenge OC improve quality of life in PMDD women
ศ. นพ.สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล
	
กลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือนพบได้ในสตรีวัยเจริญพันธุ์ ประกอบด้วยกลุ่มอาการทางด้านจิตใจ เช่น ซึมเศร้า วิตกกังกล กลัว
นอกจากนี้ยังมีกลุ่มอาการทางด้านร่างกาย เช่น ปวดท้องน้อย ท้องอืด คัดตึงเต้านม บวม เป็นต้น อาการเหล่านี้เกิดจากการลดลงจาก
ฮอร์โมนเพศหญิงในช่วงก่อนมีประจำ�เดือน ได้มีการสำ�รวจเปรียบเทียบกลุ่มอาการช่วงที่รับประทานฮอร์โมนคุมกำ�เนิด 21
วัน และช่วงที่หยุดรับประทานฮอร์โมนคุมกำ�เนิด 7 วัน พบว่าอาการปวดท้องน้อย ปวดศีรษะ คัดตึงเต้านม บวม ท้อง

4
อืด และความต้องการใช้ยาแก้ปวดจะเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติในช่วงที่ไม่รับประทานฮอร์โมนคุมกำ�เนิด เมื่อเปรียบเทียบกับ
ช่วงที่รับประทานฮอร์โมนคุมกำ�เนิด ด้วยเหตุดังนี้จึงเป็นปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือน กลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือน
อาจจะมีอาการเริ่มต้นที่มีอาการเล็กน้อยที่ไม่มีปัญหาที่เรียกว่า Premenstrual Molimina ต่อมามีอาการรุนแรงขึ้นจนรบกวนคุณภาพ
ชีวิตประจำ�วันที่เรียกว่า Premenstrual Syndrome หรือ PMS จนกระทั่งมีอาการรุนแรงที่เป็นโรคซึมเศร้าก่อนมีประจำ�เดือนที่เรียก
ว่า Premenstrual Dysphonic Disorder หรือ PMDD ซึ่งจะแยกจากโรคภาวะซึมเศร้าทั่วไป โดยโรคภาวะซึมเศร้าทั่วไปจะไม่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับระดู จากการศึกษาถึงระบาดวิทยาของกลุ่มอาการก่อนมีระดูในสตรีอเมริกันอายุ 15-44 ปี   โดย Ginsbur และ Dinsay
พบว่าโดยร้อยละ 70-90 ของสตรีอเมริกันจะมี Molimina ร้อยละ 20-40 จะเป็น PMS และร้อยละ 3-8 จะเป็น PMDD ความสำ�คัญ
ของกลุ่มอาการเหล่านี้ทำ�ให้เกิดอาการเหล่านี้ในทุกรอบประจำ�เดือน ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างสำ�คัญต่อการเข้าสังคม การทำ�งานและชีวิต
สมรส การวินิจฉัย PMS และ PMDD มี criteria ในการวินิจฉัยคือ PMS จะใช้ criteria ของ ACOG ซึ่งประกอบด้วย
	
1. อาการหนึ่งอาการใดทางด้านร่างกายและจิตใจดังนี้
	
- อาการทางจิตใจประกอบด้วย Depression, Angry outburst, Irritability, Anxiety, Confusion Social withdrawal  
	
- อาการทางกายประกอบด้วย Breast tenderness, Abdominal bloating, Headache และ Swelling of extremities
	
2. มีอาการเหล่านี้มาแล้ว 3 รอบเดือน และพบอาการเหล่านี้ต่อไปอีก 2 รอบเดือน
	
3. พบอาการเหล่านี้ก่อนมีประจำ�เดือน 5 วัน และอาการเหล่านี้หายไปภายหลังจากมีประจำ�เดือนแล้ว 4 วัน
	
4. กลุ่มอาการเหล่านี้ทำ�ให้มี dysfunction ของ social หรือ economic performance

5
ส่วนอาการ PMDD การวินิจฉัยใช้เกณฑ์ของ DSM-IV ซึ่งประกอบด้วย
	
1. มีอาการต่าง ๆ อย่างน้อย 5 อาการ ซึ่งใน 5 อาการเหล่านี้จะต้องมีอาการหลักอย่างน้อย 1 อาการ
	
- อาการหลักประกอบด้วย Depressed mood, Anxiety, Moodiness และ Anger หรือ Irritability
	
- อาการอื่น ๆ ประกอบด้วย Fatigue, Insomnia หรือ Hypersomnia, Difficulty concentration, Appetites changes,
Decreased interest in usual activities, Feeling out  of control, physical symptoms เช่น headache, breast tenderness,
swelling, bloating, muscle pain เป็นต้น
	
2.  พบอาการเหล่านี้ได้ใน luteal phase และหายไปเมื่อหมดระดู
	
3.  พบอาการเหล่านี้ใน 2 รอบเดือนถัดไป
	
จากการศึกษาของ Yonker ในปี ค.ศ. 2008 พบว่ากลุ่มอาการใน PMDD ที่พบส่วนใหญ่จะเป็น anger, irritability และ
conflict เมื่อพิจารณาถึงอาการเหล่านี้จะมีผลกระทบต่ออะไรบ้าง จะพบว่ามีผลกระทบต่อการงาน ครอบครัว และสังคม โดยผล
กระทบต่อความสัมพันธ์กับสามีจะพบมีปัญหามากที่สุด โดยกลุ่มอาการเหล่านี้จะพบมากในช่วง luteal phase หลักในการรักษา PMDD
คือทำ�ให้อาการลดลงและทำ�ให้สตรีเหล่านีกลับเข้าสังคมได้อย่างมีคณภาพ การรักษา PMDD จะประกอบไปด้วย life style change เช่น
้
ุ
การออกกำ�ลังกาย การงดสูบบุหรี่ การดืมสุราให้นอยลง และการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ Nutritional supplement เช่น วิตามิน B,
่
้
วิตามิน E, Calcium, Magnesium, Tryptophan พวก No pharmacologic treatment เช่น การลดความเครียด Anger management
การให้การศึกษา หรือ Cognitive behavioral therapy เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการใช้สมุนไพร เช่น Evening primrose oil  
และยาในกลุ่ม SSRI เช่น Fluoxetine และ Sertraline

6
การรักษาอีกวิธีหนึ่งคือ การใช้ฮอร์โมน โดยฮอร์โมนที่นำ�มาใช้รักษา PMDD มีเพียงตัวเดียวที่ US FDA อนุญาตให้ใช้ได้คือ
ยาคุมกำ�เนิดที่มีสูตร 24/4 โดยแต่ละเม็ดจะประกอบด้วยฮอร์โมน Ethinyl estradiol 20 ไมโครกรัม และ Drospirenone 3 มิลลิกรัม
จำ�นวน 24 เม็ด และเป็นยาเม็ด placebo อีก 4 เม็ดใน 1 แผงของยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดนี้ นอกจากนี้ยังมียาอื่น ๆ ที่ใช้รักษา PMDD
เช่น ยา Diuretic พวก spironolactone ยา dopamine agonist และ NSAID การใช้ยาในกลุ่ม SSRI เพื่อรักษา PMDD ก็มีปัญหา
ในเรื่องภาวะแทรกซ้อนที่ทำ�ให้ไม่มีการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง เช่น การลดความต้องการทางเพศ การทีตองพึงพายามากขึน เมือพิจารณาถึง
่้ ่
้ ่
ประเด็นของภาวะ PMS ในสตรีไทยพบว่า รายละเอียดและความรุนแรงของกลุมอาการก่อนมีระดูในสตรีไทยยังไม่เป็นที่สนใจ แพทย์และ
่
สตรีเองยังมีการศึกษาในประเด็นนี้น้อย ได้มีการศึกษาถึงกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือนในสตรีไทยโดยวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2553 พบว่ากลุมอายุทศกษามีอายุเฉลีย 26.8 ปี ร้อยละ 58 มีอาการของกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�
่
่ี ึ
่
เดือน โดย ACOG criteria อาการที่พบมี negative effect ภาวะคั่งน้ำ�และขาดสมาธิ จากการศึกษานี้ได้แนะนำ�ว่า การให้การศึกษา
และการดูแลภาวะกลุ่มอาการก่อนมีระดูจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของสตรีไทยในวัยเจริญพันธุ์
	
ยาคุมกำ�เนิดแบบดั้งเดิมมีประสิทธิภาพจำ�กัดในการรักษาภาวะกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของฮอร์โมน
progestin นอกจากนี้อาการคัดตึงเต้านม ปวดศีรษะ ท้องอืด หรือภาวะซึมเศร้า อาจเกิดขึ้นได้ในสตรีที่ใช้ยาคุมกำ�เนิดชนิดเดิมสูตร
21/7 Black storm และคณะ ได้ทำ�การศึกษาเกี่ยวกับยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 21/7 ต่อภาวะกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือนพบว่าไม่มี
ผลต่อการลดอาการของกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือน อย่างไรก็ตาม มีหลายการศึกษาที่พบว่า Progestin และ Drospirenone ทำ�ให้
กลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือนดีขึ้นทั้งอาการทางกาย และอาการทางด้านจิตใจ

	
เมื่อพิจารณาถึงยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่ประกอบด้วย EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. พบว่ามีข้อบ่งชี้ในการใช้อยู่ 3
ประการ คือ
	
1.  การคุมกำ�เนิดซึ่งมีประสิทธิภาพดีเช่นเดียวกับยาเม็ดคุมกำ�เนิดทั่วไป
	
2.  ใช้รักษาโรคซึมเศร้าก่อนมีประจำ�เดือนหรือ PMDD
	
3.  ใช้รักษาสิวและผิวมัน
	
ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่ประกอบด้วย EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. เป็นยาเม็ดคุมกำ�เนิดที่มี Drospirenone และ
สูตร 24/4 ใช้รักษา PMDD ได้ดีเนื่องจากระดับฮอร์โมนไม่ได้ลดลงมากในช่วงก่อนมีประจำ�เดือน ซึ่งไม่เหมือนกับยาเม็ดคุมกำ�เนิด
แบบเดิ ม ที่ ร ะดั บ ฮอร์ โ มนจะลดลงมากในช่ ว งก่ อ นมี ป ระจำ � เดื อ น ทำ �ให้ neurotransmitter ในสมองไม่ เ ปลี่ ย นแปลงมาก
จึงทำ�ให้มีอาการต่าง ๆ ของ PMDD ลดน้อยลง นอกจากนี้ลักษณะของระดูในสตรีที่ใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี
EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. ก็ไม่แตกต่างกับยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดอื่น จากการศึกษาของยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี
EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ซึ่งจะตีพิมพ์ในจดหมายเหตุทางการแพทย์ พ.ศ. 2553 พบว่าสตรีจำ�นวน
154 คนที่รับประทานยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. เป็นเวลานาน 6 เดือน พบว่าเลือด
ออกกะปริดกะปรอยพบน้อยเพียงร้อยละ 2.1-4.9 ร้อยละ 0.65 ทีหยุดใช้เนืองจากเลือดมากะปริดกะปรอยซึงน้อยมาก และ
่
่
่

7
มีเพียงร้อยละ 3.24 ที่หยุดใช้เนื่องจากผลข้างเคียงหรือภาวะแทรกซ้อน ไม่พบมีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น ร้อยละ 85 มีความพอใจถึงพึงพอใจ
มากกับการใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. กล่าวโดยสรุป การใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี
EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. ในสตรีไทยพบว่ามีประจำ�เดือนปกติเป็นส่วนใหญ่ ผลข้างคียงต่ำ� มีความพึงพอใจสูง และมีการยอมรับ
ตลอดจนอัตราการคงใช้สูง
	
มีหลายการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่าการใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. รักษา PMDD
ให้มีอาการดีขึ้น เช่น Pearlstein และคณะในปี ค.ศ. 2005 Yonkers และคณะในปี ค.ศ. 2005 Bachmann และคณะในปี ค.ศ.
2004 เมื่อพิจารณาถึงความปลอดภัยในการใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. พบว่าไม่มีผลต่อ
carbohydrate และ lipid metabolism และ electrolyte นอกจากนี้จากการศึกษา EURAS และ INGENIX พบว่า ผลต่อภาวะ
หลอดเลือดดำ�อุดตัน (VTE) ไม่แตกต่างกับยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดอื่น จากการศึกษาถึงปัจจัยเสี่ยงของภาวะหลอดเลือดดำ�อุดตันในสตรี
ไทยในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์พบว่า ยาเม็ดคุมกำ�เนิดไม่เป็นปัจจัยเสี่ยงของภาวะหลอดเลือดดำ�อุดตัน แต่การสูบบุหรี่และการดื่มสุรา
เป็นปัจจัยเสี่ยงของภาวะการมีหลอดเลือดดำ�อุดตันในสตรีไทย นอกจากนี้ Factor V Leiden ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงของภาวะหลอดเลือด
ดำ�อุดตันพบได้น้อยมากในสตรีไทย
	 กล่าวโดยสรุป ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. สามารถกดการเจริญ
เติบโตของไข่ได้ดีกว่ายาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 21/7 การที่มีช่วง Hormone free interval ที่สั้นจะทำ�ให้การ
เปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน Estrogen มีน้อยในช่วงก่อนมีระดู ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก.
และ DRSP 3 มก. มีลักษณะระดูที่ปกติ และยังใช้ในการรักษา PMDD ได้
L.TH.10.2010.0177

8

More Related Content

What's hot

คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcCAPD AngThong
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 

What's hot (20)

Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
Diabetes manual2
Diabetes manual2Diabetes manual2
Diabetes manual2
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
Supplementary food
Supplementary foodSupplementary food
Supplementary food
 
Nsaids
NsaidsNsaids
Nsaids
 

Viewers also liked

Operations management
Operations managementOperations management
Operations managementMohit Agarwal
 
Location strategies ppt @ bec doms
Location strategies ppt @ bec domsLocation strategies ppt @ bec doms
Location strategies ppt @ bec domsBabasab Patil
 
A01 - Defining the Asset Hierarchy and Structure (MCU)
A01 - Defining the Asset Hierarchy and Structure (MCU)A01 - Defining the Asset Hierarchy and Structure (MCU)
A01 - Defining the Asset Hierarchy and Structure (MCU)Maintenance Connection
 
Operations management location strategies (lecture)
Operations management location strategies  (lecture)Operations management location strategies  (lecture)
Operations management location strategies (lecture)Jun Gonzales
 
facility location and planning layout
facility location and planning layoutfacility location and planning layout
facility location and planning layoutDipak Mer
 
Facility location and techniques
Facility location and techniquesFacility location and techniques
Facility location and techniquesPiyush Sharma
 
Rural marketing
Rural marketingRural marketing
Rural marketingsatya pal
 
Location Strategy
Location StrategyLocation Strategy
Location StrategyJoanmaines
 

Viewers also liked (9)

Operations management
Operations managementOperations management
Operations management
 
Location strategies ppt @ bec doms
Location strategies ppt @ bec domsLocation strategies ppt @ bec doms
Location strategies ppt @ bec doms
 
A01 - Defining the Asset Hierarchy and Structure (MCU)
A01 - Defining the Asset Hierarchy and Structure (MCU)A01 - Defining the Asset Hierarchy and Structure (MCU)
A01 - Defining the Asset Hierarchy and Structure (MCU)
 
Operations management location strategies (lecture)
Operations management location strategies  (lecture)Operations management location strategies  (lecture)
Operations management location strategies (lecture)
 
facility location and planning layout
facility location and planning layoutfacility location and planning layout
facility location and planning layout
 
Facility location and techniques
Facility location and techniquesFacility location and techniques
Facility location and techniques
 
Rural marketing
Rural marketingRural marketing
Rural marketing
 
Facility location
Facility locationFacility location
Facility location
 
Location Strategy
Location StrategyLocation Strategy
Location Strategy
 

Similar to 155344bayer329

2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)sonsukda
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdfsaiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf60937
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 
Aging and androgen augmentation therapy
Aging and androgen augmentation therapyAging and androgen augmentation therapy
Aging and androgen augmentation therapyUtai Sukviwatsirikul
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกjyotismo
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาJintana Somrit
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบUtai Sukviwatsirikul
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 

Similar to 155344bayer329 (20)

2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
Myofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgiaMyofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgia
 
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
Topic Chronic Illness ทิว 27 ก.ค. 54
 
Coaching the toxic leader
Coaching the toxic leaderCoaching the toxic leader
Coaching the toxic leader
 
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdfsaiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
Aging and androgen augmentation therapy
Aging and androgen augmentation therapyAging and androgen augmentation therapy
Aging and androgen augmentation therapy
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงานกิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
กิจกรรมที่ 5 นำเสนอโครงงาน
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

155344bayer329

  • 1. การประชุมวิชาการราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย บริษัท ไบเออร์ไทย จำ�กัด เสนอบันทึกการบรรยายพิเศษ ,The challenge OC improve quality of life in PMS/PMDD women วิทยากร : ศ. นพ.สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ วิทยากร : ผศ. นพ.มานพชัย ธรรมคันโธ โรงพยาบาลศิริราช วันที่ 22 เมษายน 2553 ณ อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี 1
  • 2. YAZ, the challenge OC improve quality of life in PMS/PMDD women ผศ. นพ.มานพชัย ธรรมคันโธ นวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านการคุมกำ�เนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาคุมกำ�เนิดชนิดรับประทาน (Oral contraceptive pills) คง ต้องคำ�นึงถึงประสิทธิภาพ ความปลอดภัย ความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนประโยชน์ที่นอกเหนือการคุมกำ�เนิด ความสะดวก สบายในการใช้ ผลกระทบต่อแนวทางการดำ�รงชีวิตของผู้หญิง (Life style) และรอบเดือนของผู้หญิง ล้วนเป็นสิ่งที่ผู้หญิงให้ความสนใจ เกี่ยวกับการคุมกำ�เนิด ปัจจุบันการใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดรับประทานเป็นวิธีที่นิยมใช้มากที่สุดในโลก และคุณสมบัติที่ดีของวิธีการคุมกำ�เนิด ประกอบด้วย 1. ประสิทธิภาพ 2. ปลอดภัย 3. ภาวะการเจริญพันธุ์ภายหลังคุมกำ�เนิด 4. ใช้ได้ง่าย สะดวก 5. คนส่วนใหญ่ยอมรับ 6. ราคาเหมาะสม อาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากฮอร์โมนในยาเม็ดคุมกำ�เนิดก็เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยในการหยุดการใช้ยา หรือรีบกลับมาปรึกษา แพทย์เพื่อขอคำ�แนะนำ� ได้แก่ 1. ฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ คัดตึงเต้านม บวมน้ำ� หน้าเป็นฝ้า 2. ฮอร์โมนโปรเจสโตเจน (Progestogen) ก่อให้เกิดอาการคล้ายคลึงฮอร์โมนเพศชาย เช่น ผิวมัน ผมมัน สิว มีขนขึ้น และ น้ำ�หนักตัวเพิ่ม จึงเป็นที่มาของการค้นคิดและพัฒนายาเม็ดคุมกำ�เนิดโดยเฉพาะชนิดฮอร์โมนรวม เพื่อลดอาการข้างเคียงดังกล่าวข้าง ต้น แต่อย่างไรก็ตาม อาการข้างเคียงดังกล่าวบางครั้งมิได้มีสาเหตุเกิดจากผลข้างเคียงของฮอร์โมนโดยตรง แต่อาจเกิดจากสาเหตุทาง กายภาพ หรือภาวะความผิดปกติของสรีระภายในร่างกาย จึงจำ�เป็นต้องมีการวินิจฉัยให้ถูกต้องและแม่นยำ� เหตุผลในการลดขนาด Estrogen 1. ลดอาการข้างเคียง: บวมน้ำ� คลื่นไส้ อาเจียน คัดตึงเต้านม หน้าเป็นฝ้า 2. ลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหลอดเลือดอุดตัน (Venothromboembolism : VTE) . ลดอุบัติการณ์การเปลี่ยนแปลงระบบการแข็งตัวของเลือด 3 2
  • 3. การพัฒนาฮอร์โมนโปรเจสโตเจนตัวใหม่ในยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดฮอร์โมนรวมได้เกิดขึ้นคือ ฮอร์โมน Drospirenone (DRSP) ซึ่งมีคุณสมบัติเฉพาะและแตกต่างจากฮอร์โมนโปรเจสโตเจนตัวอื่น กล่าวคือเป็นอนุพันธ์ของ 17a-spirolactone 1. Drospirenone มีคุณสมบัติในการช่วยขับปัสสาวะแบบอ่อน ๆ จากกลไกการทำ�งานของ Antimineralocorticoid Hormone ซึ่งช่วยต้านฤทธิ์ของฮอร์โมนเอสโตรเจน ช่วยลดการคั่งเกลือและน้ำ� ทำ�ให้ลดอาการบวม คัดตึงเต้านมจากการคั่งของเกลือและ น้ำ�ในร่างกาย 2. คุณสมบัติของ Drospirenone ในการต้านฤทธิ์ฮอร์โมนเพศชาย (Antiandrogenic Effects) สามารถช่วยในการลดอาการ หน้ามัน สิว ขนขึ้นดกผิดปกติได้ โดยสรุปคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของ Drospirenone - พัฒนามาจากกลุ่ม 17a-spirolactone 3
  • 4. - มีคุณสมบัติทางฮอร์โมนโปรเจสโตเจน, antimineralocorticoid และฤทธิ์ต้านฮอร์โมนเพศชาย - ไม่มีฤทธิ์ทางฮอร์โมนเอสโตรเจน, ฮอร์โมนเพศชาย (Androgenic) และ Glucocorticoid, Antiglucocorticoid - มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับฮอร์โมนโปรเจสโตเจนที่พบในธรรมชาติ กลุ่มอาการผิดปกติก่อนมีรอบเดือน (Premenstrual Syndrome) เป็นภาวะความผิดปกติที่พบได้บ่อยในต่างประเทศ สำ�หรับ ประเทศไทยกลุ่มอาการดังกล่าวยังไม่มีตัวเลขรายงานที่ชัดเจน แต่เนื่องจากวัฒนธรรมและประเพณีของสตรีไทยทำ�ให้ปัญหาดังกล่าว ไม่ได้ถูกหยิบยกขึ้นมา กลุ่มอาการดังกล่าวประกอบด้วย กลุ่มอาการทางกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ภาวะบวมคั่งน้ำ� เบื่อ อาหาร กลุ่มอาการทางจิต เช่น อารมณ์หงุดหงิด อารมณ์แปรปรวน โกรธ หรือโมโหง่าย ขาดสมาธิ หรือสมาธิสั้น สาเหตุของกลุ่ม อาการดังกล่าวมีมากมายหลายสาเหตุ เช่น การเปลี่ยนแปลงของสาร Neurotransmitter ภายในสมอง เช่น สาร Adrenaline เป็นต้น ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนภายในร่างกายที่เกิดจากภาวะไข่ตก และการมีรอบเดือนของสตรี กลุ่มอาการดังกล่าวจะเกิด ขึ้นประมาณ 5-7 วันก่อนเริ่มมีรอบเดือน และอาการจะค่อยทุเลาหรือดีขึ้นภายหลังรอบเดือนเริ่มมาวันแรกหรือวันที่สอง กลุ่มอาการดัง กล่าวมักพบในสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่มีรอบเดือนมาเป็นปกติ และอาการเหล่านี้มักจะดีขึ้นหรือทุเลาลงในกรณีที่สตรีรับประทานยาเม็ดคุม กำ�เนิดอย่างถูกต้องและสม่ำ�เสมอ จึงได้มีการคิดค้นและพัฒนางานวิจัยเพื่อนำ�เอาฮอร์โมนจากยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดรับประทานมาใช้ใน การรักษากลุ่มอาการดังกล่าว จากการศึกษาวิจัยพบว่าเมื่อมีการลดและปรับขนาดของฮอร์โมน โดยเฉพาะฮอร์โมนเอสโตรเจน และปรับ เปลียนชนิดของฮอร์โมนโปรเจสโตเจน เป็น Drospirenone (DRSP) สามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวตของสุภาพสตรีทงกายและใจ ทำ�ให้ ่ ิ ั้ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�งาน สุขภาพกายและใจพัฒนาดีขึ้นเป็นลำ�ดับ รวมถึงการปรับจำ�นวนเม็ดยาที่มีฮอร์โมนรวมในแต่ละแผงให้ เป็นสูตร 24/4 กล่าวคือมีฮอร์โมนรวมอยู่ทั้งสิ้น 24 เม็ด และที่เหลืออีก 4 เม็ดเป็นวิตามินเพื่อช่วยให้ระดับของฮอร์โมนรวมในกระแส โลหิตไม่ลดต่ำ�จนเป็นศูนย์ ซึงอาจเป็นสาเหตุให้เกิดกลุมอาการดังกล่าว กลุมอาการผิดปกติกอนมีรอบเดือน (Premenstrual Syndrome) ่ ่ ่ ่ หากไม่ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องอาจลุกลามกลายเป็นโรคทางจิตเวช Premenstrual Dysphoric Disease (PMDD) ซึ่งยากต่อการ รักษา และมีค่าใช้จ่ายเรื่องของยารักษาทางจิตเวชค่อนข้างสูง YAZ, The challenge OC improve quality of life in PMDD women ศ. นพ.สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล กลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือนพบได้ในสตรีวัยเจริญพันธุ์ ประกอบด้วยกลุ่มอาการทางด้านจิตใจ เช่น ซึมเศร้า วิตกกังกล กลัว นอกจากนี้ยังมีกลุ่มอาการทางด้านร่างกาย เช่น ปวดท้องน้อย ท้องอืด คัดตึงเต้านม บวม เป็นต้น อาการเหล่านี้เกิดจากการลดลงจาก ฮอร์โมนเพศหญิงในช่วงก่อนมีประจำ�เดือน ได้มีการสำ�รวจเปรียบเทียบกลุ่มอาการช่วงที่รับประทานฮอร์โมนคุมกำ�เนิด 21 วัน และช่วงที่หยุดรับประทานฮอร์โมนคุมกำ�เนิด 7 วัน พบว่าอาการปวดท้องน้อย ปวดศีรษะ คัดตึงเต้านม บวม ท้อง 4
  • 5. อืด และความต้องการใช้ยาแก้ปวดจะเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติในช่วงที่ไม่รับประทานฮอร์โมนคุมกำ�เนิด เมื่อเปรียบเทียบกับ ช่วงที่รับประทานฮอร์โมนคุมกำ�เนิด ด้วยเหตุดังนี้จึงเป็นปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือน กลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือน อาจจะมีอาการเริ่มต้นที่มีอาการเล็กน้อยที่ไม่มีปัญหาที่เรียกว่า Premenstrual Molimina ต่อมามีอาการรุนแรงขึ้นจนรบกวนคุณภาพ ชีวิตประจำ�วันที่เรียกว่า Premenstrual Syndrome หรือ PMS จนกระทั่งมีอาการรุนแรงที่เป็นโรคซึมเศร้าก่อนมีประจำ�เดือนที่เรียก ว่า Premenstrual Dysphonic Disorder หรือ PMDD ซึ่งจะแยกจากโรคภาวะซึมเศร้าทั่วไป โดยโรคภาวะซึมเศร้าทั่วไปจะไม่มีส่วน เกี่ยวข้องกับระดู จากการศึกษาถึงระบาดวิทยาของกลุ่มอาการก่อนมีระดูในสตรีอเมริกันอายุ 15-44 ปี โดย Ginsbur และ Dinsay พบว่าโดยร้อยละ 70-90 ของสตรีอเมริกันจะมี Molimina ร้อยละ 20-40 จะเป็น PMS และร้อยละ 3-8 จะเป็น PMDD ความสำ�คัญ ของกลุ่มอาการเหล่านี้ทำ�ให้เกิดอาการเหล่านี้ในทุกรอบประจำ�เดือน ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างสำ�คัญต่อการเข้าสังคม การทำ�งานและชีวิต สมรส การวินิจฉัย PMS และ PMDD มี criteria ในการวินิจฉัยคือ PMS จะใช้ criteria ของ ACOG ซึ่งประกอบด้วย 1. อาการหนึ่งอาการใดทางด้านร่างกายและจิตใจดังนี้ - อาการทางจิตใจประกอบด้วย Depression, Angry outburst, Irritability, Anxiety, Confusion Social withdrawal - อาการทางกายประกอบด้วย Breast tenderness, Abdominal bloating, Headache และ Swelling of extremities 2. มีอาการเหล่านี้มาแล้ว 3 รอบเดือน และพบอาการเหล่านี้ต่อไปอีก 2 รอบเดือน 3. พบอาการเหล่านี้ก่อนมีประจำ�เดือน 5 วัน และอาการเหล่านี้หายไปภายหลังจากมีประจำ�เดือนแล้ว 4 วัน 4. กลุ่มอาการเหล่านี้ทำ�ให้มี dysfunction ของ social หรือ economic performance 5
  • 6. ส่วนอาการ PMDD การวินิจฉัยใช้เกณฑ์ของ DSM-IV ซึ่งประกอบด้วย 1. มีอาการต่าง ๆ อย่างน้อย 5 อาการ ซึ่งใน 5 อาการเหล่านี้จะต้องมีอาการหลักอย่างน้อย 1 อาการ - อาการหลักประกอบด้วย Depressed mood, Anxiety, Moodiness และ Anger หรือ Irritability - อาการอื่น ๆ ประกอบด้วย Fatigue, Insomnia หรือ Hypersomnia, Difficulty concentration, Appetites changes, Decreased interest in usual activities, Feeling out of control, physical symptoms เช่น headache, breast tenderness, swelling, bloating, muscle pain เป็นต้น 2. พบอาการเหล่านี้ได้ใน luteal phase และหายไปเมื่อหมดระดู 3. พบอาการเหล่านี้ใน 2 รอบเดือนถัดไป จากการศึกษาของ Yonker ในปี ค.ศ. 2008 พบว่ากลุ่มอาการใน PMDD ที่พบส่วนใหญ่จะเป็น anger, irritability และ conflict เมื่อพิจารณาถึงอาการเหล่านี้จะมีผลกระทบต่ออะไรบ้าง จะพบว่ามีผลกระทบต่อการงาน ครอบครัว และสังคม โดยผล กระทบต่อความสัมพันธ์กับสามีจะพบมีปัญหามากที่สุด โดยกลุ่มอาการเหล่านี้จะพบมากในช่วง luteal phase หลักในการรักษา PMDD คือทำ�ให้อาการลดลงและทำ�ให้สตรีเหล่านีกลับเข้าสังคมได้อย่างมีคณภาพ การรักษา PMDD จะประกอบไปด้วย life style change เช่น ้ ุ การออกกำ�ลังกาย การงดสูบบุหรี่ การดืมสุราให้นอยลง และการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ Nutritional supplement เช่น วิตามิน B, ่ ้ วิตามิน E, Calcium, Magnesium, Tryptophan พวก No pharmacologic treatment เช่น การลดความเครียด Anger management การให้การศึกษา หรือ Cognitive behavioral therapy เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการใช้สมุนไพร เช่น Evening primrose oil และยาในกลุ่ม SSRI เช่น Fluoxetine และ Sertraline 6
  • 7. การรักษาอีกวิธีหนึ่งคือ การใช้ฮอร์โมน โดยฮอร์โมนที่นำ�มาใช้รักษา PMDD มีเพียงตัวเดียวที่ US FDA อนุญาตให้ใช้ได้คือ ยาคุมกำ�เนิดที่มีสูตร 24/4 โดยแต่ละเม็ดจะประกอบด้วยฮอร์โมน Ethinyl estradiol 20 ไมโครกรัม และ Drospirenone 3 มิลลิกรัม จำ�นวน 24 เม็ด และเป็นยาเม็ด placebo อีก 4 เม็ดใน 1 แผงของยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดนี้ นอกจากนี้ยังมียาอื่น ๆ ที่ใช้รักษา PMDD เช่น ยา Diuretic พวก spironolactone ยา dopamine agonist และ NSAID การใช้ยาในกลุ่ม SSRI เพื่อรักษา PMDD ก็มีปัญหา ในเรื่องภาวะแทรกซ้อนที่ทำ�ให้ไม่มีการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง เช่น การลดความต้องการทางเพศ การทีตองพึงพายามากขึน เมือพิจารณาถึง ่้ ่ ้ ่ ประเด็นของภาวะ PMS ในสตรีไทยพบว่า รายละเอียดและความรุนแรงของกลุมอาการก่อนมีระดูในสตรีไทยยังไม่เป็นที่สนใจ แพทย์และ ่ สตรีเองยังมีการศึกษาในประเด็นนี้น้อย ได้มีการศึกษาถึงกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือนในสตรีไทยโดยวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2553 พบว่ากลุมอายุทศกษามีอายุเฉลีย 26.8 ปี ร้อยละ 58 มีอาการของกลุ่มอาการก่อนมีประจำ� ่ ่ี ึ ่ เดือน โดย ACOG criteria อาการที่พบมี negative effect ภาวะคั่งน้ำ�และขาดสมาธิ จากการศึกษานี้ได้แนะนำ�ว่า การให้การศึกษา และการดูแลภาวะกลุ่มอาการก่อนมีระดูจะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของสตรีไทยในวัยเจริญพันธุ์ ยาคุมกำ�เนิดแบบดั้งเดิมมีประสิทธิภาพจำ�กัดในการรักษาภาวะกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของฮอร์โมน progestin นอกจากนี้อาการคัดตึงเต้านม ปวดศีรษะ ท้องอืด หรือภาวะซึมเศร้า อาจเกิดขึ้นได้ในสตรีที่ใช้ยาคุมกำ�เนิดชนิดเดิมสูตร 21/7 Black storm และคณะ ได้ทำ�การศึกษาเกี่ยวกับยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 21/7 ต่อภาวะกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือนพบว่าไม่มี ผลต่อการลดอาการของกลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือน อย่างไรก็ตาม มีหลายการศึกษาที่พบว่า Progestin และ Drospirenone ทำ�ให้ กลุ่มอาการก่อนมีประจำ�เดือนดีขึ้นทั้งอาการทางกาย และอาการทางด้านจิตใจ เมื่อพิจารณาถึงยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่ประกอบด้วย EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. พบว่ามีข้อบ่งชี้ในการใช้อยู่ 3 ประการ คือ 1. การคุมกำ�เนิดซึ่งมีประสิทธิภาพดีเช่นเดียวกับยาเม็ดคุมกำ�เนิดทั่วไป 2. ใช้รักษาโรคซึมเศร้าก่อนมีประจำ�เดือนหรือ PMDD 3. ใช้รักษาสิวและผิวมัน ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่ประกอบด้วย EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. เป็นยาเม็ดคุมกำ�เนิดที่มี Drospirenone และ สูตร 24/4 ใช้รักษา PMDD ได้ดีเนื่องจากระดับฮอร์โมนไม่ได้ลดลงมากในช่วงก่อนมีประจำ�เดือน ซึ่งไม่เหมือนกับยาเม็ดคุมกำ�เนิด แบบเดิ ม ที่ ร ะดั บ ฮอร์ โ มนจะลดลงมากในช่ ว งก่ อ นมี ป ระจำ � เดื อ น ทำ �ให้ neurotransmitter ในสมองไม่ เ ปลี่ ย นแปลงมาก จึงทำ�ให้มีอาการต่าง ๆ ของ PMDD ลดน้อยลง นอกจากนี้ลักษณะของระดูในสตรีที่ใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. ก็ไม่แตกต่างกับยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดอื่น จากการศึกษาของยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ซึ่งจะตีพิมพ์ในจดหมายเหตุทางการแพทย์ พ.ศ. 2553 พบว่าสตรีจำ�นวน 154 คนที่รับประทานยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. เป็นเวลานาน 6 เดือน พบว่าเลือด ออกกะปริดกะปรอยพบน้อยเพียงร้อยละ 2.1-4.9 ร้อยละ 0.65 ทีหยุดใช้เนืองจากเลือดมากะปริดกะปรอยซึงน้อยมาก และ ่ ่ ่ 7
  • 8. มีเพียงร้อยละ 3.24 ที่หยุดใช้เนื่องจากผลข้างเคียงหรือภาวะแทรกซ้อน ไม่พบมีการตั้งครรภ์เกิดขึ้น ร้อยละ 85 มีความพอใจถึงพึงพอใจ มากกับการใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. กล่าวโดยสรุป การใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. ในสตรีไทยพบว่ามีประจำ�เดือนปกติเป็นส่วนใหญ่ ผลข้างคียงต่ำ� มีความพึงพอใจสูง และมีการยอมรับ ตลอดจนอัตราการคงใช้สูง มีหลายการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่าการใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. รักษา PMDD ให้มีอาการดีขึ้น เช่น Pearlstein และคณะในปี ค.ศ. 2005 Yonkers และคณะในปี ค.ศ. 2005 Bachmann และคณะในปี ค.ศ. 2004 เมื่อพิจารณาถึงความปลอดภัยในการใช้ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. พบว่าไม่มีผลต่อ carbohydrate และ lipid metabolism และ electrolyte นอกจากนี้จากการศึกษา EURAS และ INGENIX พบว่า ผลต่อภาวะ หลอดเลือดดำ�อุดตัน (VTE) ไม่แตกต่างกับยาเม็ดคุมกำ�เนิดชนิดอื่น จากการศึกษาถึงปัจจัยเสี่ยงของภาวะหลอดเลือดดำ�อุดตันในสตรี ไทยในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์พบว่า ยาเม็ดคุมกำ�เนิดไม่เป็นปัจจัยเสี่ยงของภาวะหลอดเลือดดำ�อุดตัน แต่การสูบบุหรี่และการดื่มสุรา เป็นปัจจัยเสี่ยงของภาวะการมีหลอดเลือดดำ�อุดตันในสตรีไทย นอกจากนี้ Factor V Leiden ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงของภาวะหลอดเลือด ดำ�อุดตันพบได้น้อยมากในสตรีไทย กล่าวโดยสรุป ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. สามารถกดการเจริญ เติบโตของไข่ได้ดีกว่ายาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 21/7 การที่มีช่วง Hormone free interval ที่สั้นจะทำ�ให้การ เปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน Estrogen มีน้อยในช่วงก่อนมีระดู ยาเม็ดคุมกำ�เนิดสูตร 24/4 ที่มี EE 20 มคก. และ DRSP 3 มก. มีลักษณะระดูที่ปกติ และยังใช้ในการรักษา PMDD ได้ L.TH.10.2010.0177 8