SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
นางสาวเยาวลักษณ์ นครภักดี
นายสุรชัย มาตราช
นายภานุพงศ์ เพิ่มขึ้น
สมาชิก
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การ
เรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรง
ตามเป้าประสงค์ที่ต้องการให้
เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
การใช้สื่อการสอน
แทนการบรรยาย
สาเหตุของปัญหา
การสอนที่ซ้าซาก
ขาดการอธิบาย
ขาดเทคนิคการสอนที่แปลกใหม่
ทาให้ผู้เรียนจาได้ดีในระยะสั้น
แต่ไม่เกิดความเข้าใจ ภายภาค
หน้าจึงทาให้จาไม่ได้
เช่น การทดลอง การคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ การ
แก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ เพื่อให้
สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง มากกว่าการ
เรียนรู้แค่ในตารา
ผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการ
เทคโนโลยี ต่างๆ ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้
ผู้เรียนได้รับความรู้ ใหม่ๆ ควรมีการนา
กลวิธีการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียน
เกิดการแก้ปัญหา การคิดที่แปลกใหม่
การทดลองแก้ปัญหาด้วยตนเองจากสถานการณ์จริง
การเรียนรู้อย่างมีความสุข จากความถนัดและความสนใจ
2. วิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการ
ออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจาก
พื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
แนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการ
สอนจะมีพื้นฐานมาจากแนวคิด 3 กลุ่ม
แนวคิด คือ …..
1. การออกแบบการสอนตามแนวพฤติกรรมนิยม
- การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เป็นผลอันเนื่องมาจากประสบการณ์ที่คนเรามี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูล
ครูผู้สอนจะเป็นผู้นาเสนอข้อมูล เช่น ตาราเรียน การ
บรรยาย ตามแนวคิดนี้ข้อมูลข่าวสารจะถูกถ่ายทอด
โดยตรงจากครูผู้สอนไปยังผู้เรียน
2. การออกแบบการสอนตามแนวพุทธิปัญญานิยม
การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้าน
ปริมาณและด้านคุณภาพ สื่อที่ได้มุ่งเน้นการพัฒนา
กระบวนการทางปัญญามากกว่าการเน้นเฉพาะการ
พัฒนาพฤติกรรมที่สนองต่อสิ่งเร้าเพียงอย่างเดียว
3. การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
เป็นการสร้างความรู้ ซึ่งมาจากพื้นฐานที่ว่าการเรียนรู้
จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างสิ่งที่แทนความรู้ใน
ความจาในระยะทางานอย่างตื่นตัว โดยมีครูทา
หน้าที่จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ตอบสนองต่อ
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทั้ง 3 แนวคิดมีความสัมพันธ์กัน คือ …..
พฤติกรรมนินมและพุทธิปัญญานิยม จะพยายาม
จัดการเรียนการสอนโดยผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้
จากครูผู้สอน หนังสือเรียน สื่อการสอนต่างๆ แต่
ในทางตรงกันข้ามตามแนวคิดของคอนสตรัค -
ติวิสต์ ผู้เรียนจะเป็นผู้สร้างความรู้โดยการสังเกต
ลงมือกระทาด้วยตนเอง
3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมี
การเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์
ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบ
การสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐาน
ของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและ
ยกตัวอย่างประกอบ
การออกแบบการสอนและสื่อการสอนที่ดี
ต้องคานึงถึง ....
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
ลักษณะผู้เรียน ความสนใจ ระดับชั้น ความรู้ ทักษะ พื้นฐาน และ
ประสบการณ์ของผู้เรียน
รูปแบบการเรียนการสอน และการเรียนรู้
ธรรมชาติเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และวิธีการนาเสนอที่เหมาะสม
ทรัพยากรต่าง ๆ เช่น วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ งบประมาณ
ราคาที่เหมาะสม
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
ในการเรียนการสอนแต่ละครั้ง จะต้องตรงตามจุดประสงค์ที่วางไว้ ถ้า
ปฏิกิริยาตอบสนองที่ตอบกลับมาของเด็ก แสดงให้เห็นว่าเด็กเข้าใจในสิ่งที่
ผู้สอนต้องการนาเสนออกไป เช่น ครูสอนนักเรียนเรื่องจานวนเฉพาะ ถ้า
เด็กนักเรียนสามารถคิดและตอบได้ว่า จานวนใดคือจานวนเฉพาะได้อย่าง
ถูกต้องหลายๆครั้ง ก็แสดงว่า เกิดผลตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ลักษณะผู้เรียน ความสนใจ ระดับชั้น ความรู้ ทักษะ พื้นฐาน และ
ประสบการณ์ของผู้เรียน
ก่อนจะเริ่มการเรียนการสอน ผู้สอนควรจะรู้เกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและ
ประสิทธิภาพของผู้เรียน และยังต้องจัดรูปแบบการสอนพร้อมทั้งเนื้อหา
ให้สอดคล้องกับผู้เรียนเช่น ถ้านักเรียนอยู่ชั้น ป.2 ก็ไม่ควรเอาเนื้อหา ป.6
มาสอน
รูปแบบการเรียนการสอน และการเรียนรู้
ธรรมชาติเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และวิธีการนาเสนอที่เหมาะสม
ครูผู้สอนควรวางแผนและเตรียมวิธีการสอน และเข้าใจถึงธรรมชาติของ
เนื้อหาการเรียน เพื่อที่จะให้นักเรียนได้เข้าใจตรงกันและตรงตามจุดประสงค์ มี
แนวความคิดไปในแนวเดียวกัน เช่น เมื่อเกิดกรณีที่นักเรียนมีความคิดเห็นไม่
ตรงกัน ครูควรเป็นผู้ดึงความสนใจและความเข้าใจของผู้เรียนให้กลับมาเข้าใจ
อย่างถูกต้องและไปในทิศทางเดียวกันกับเพื่อนร่วมชั้น
ทรัพยากรต่าง ๆ เช่น วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และงบประมาณราคา
ที่เหมาะสม
ในการจัดทาสื่อควรคานึงถึงประโยชน์และการตอบสนองในการใช้ที่ตรงกับ
จุดประสงค์ ไม่จาเป็นที่จะต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ราคาแพง ถ้ามีทดแทนกันได้ก็
ควรใช้ เพื่อลดต้นทุน
ในการผลิตสื่อ แต่ก็ควรคานึงถึงอายุการใช้งานและความคงทนด้วย เพราะ การใช้ได้
หลายๆครั้ง ย่อมดีกว่า ผลิตใหม่ทุกครั้งที่จะใช้งาน

More Related Content

What's hot

Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
June Khanittha
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
Pronsawan Petklub
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
June Khanittha
 
นำเสนอนวัตกรรม4
นำเสนอนวัตกรรม4นำเสนอนวัตกรรม4
นำเสนอนวัตกรรม4Kanlayanee Thongthab
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Pennapa Kumpang
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Vi Mengdie
 
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4Amu P Thaiying
 
Titiya-Act-Power1
Titiya-Act-Power1Titiya-Act-Power1
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
June Khanittha
 
Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattakamon
 
Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1Titiya_Act-Power1
นำเสนอบทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
นำเสนอบทที่ 4  สื่อการเรียนรู้นำเสนอบทที่ 4  สื่อการเรียนรู้
นำเสนอบทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
Wanlayaa
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
BLue Artittaya
 

What's hot (18)

Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
นวัตกรรมกลุ่ม Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
นำเสนอนวัตกรรม4
นำเสนอนวัตกรรม4นำเสนอนวัตกรรม4
นำเสนอนวัตกรรม4
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4สื่อการเรียนรู้ บทที่4
สื่อการเรียนรู้ บทที่4
 
สื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอนสื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอน
 
Titiya-Act-Power1
Titiya-Act-Power1Titiya-Act-Power1
Titiya-Act-Power1
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4Sattkamon groupa4
Sattkamon groupa4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1Titiya_Act-Power1
Titiya_Act-Power1
 
นำเสนอบทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
นำเสนอบทที่ 4  สื่อการเรียนรู้นำเสนอบทที่ 4  สื่อการเรียนรู้
นำเสนอบทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 

Similar to บทที่ 3 sec 1

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Vi Mengdie
 
Chapter3..
Chapter3..Chapter3..
Chapter3..
JaengJy Doublej
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter35630505256
Chapter35630505256Chapter35630505256
Chapter35630505256
Khorkhuad Jakkritch
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
Ptato Ok
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3LALILA226
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
Dexdum Ch
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาP-zhiie Chic'
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาP-zhiie Chic'
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
Pennapa Kumpang
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาAiijoo Yume
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 

Similar to บทที่ 3 sec 1 (20)

บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
Chapter3..
Chapter3..Chapter3..
Chapter3..
 
C3
C3C3
C3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter35630505256
Chapter35630505256Chapter35630505256
Chapter35630505256
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Chapter3 (1)
Chapter3 (1)Chapter3 (1)
Chapter3 (1)
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Innovation chapter 3
Innovation chapter 3Innovation chapter 3
Innovation chapter 3
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 

บทที่ 3 sec 1