SlideShare a Scribd company logo
ประชาธิปไตย มหาอานาจ และละตินอเมริกา
1304 301
พลวัตการเปลี่ยนแปลงไปสู่ประชาธิปไตย
(Dynamics of Democratisation)
ประชาธิปไตยและเผด็จการในละตินอเมริกา
 กลางทศวรรษ 1970 ประเทศในละตินอเมริกาส่วนใหญ่ ปกครองภายใต้
ระบอบเผด็จการ
◦ แม้บางประเทศ เช่น บราซิล จะมีรัฐบาลพลเรือน แต่การแข่งขันทางการเมืองเป็นไป
อย่างจากัด
◦ ขณะที่บางประเทศเพิ่งจะเข้าสู่ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย เช่น คอสตาริกา
และเวเนซูเอลา
 แต่เมื่อถึงทศวรรษ 1990 ระบอบประชาธิปไตยเสรีนิยม ก็กลายเป็นรูปแบบ
การปกครองที่เป็นบรรทัดฐานของประเทศในภาคพื้นทวีปของภูมิภาคนี้
แนวคิดทฤษฎีที่ใช้อธิบายกรณีศึกษาในภูมิภาคนี้
 มองละตินอเมริกา ผ่าน “ทฤษฎีการทาให้ทันสมัย”
◦ ข้อบกพร่อง
 ไม่สามารถอธิบายการแผ่กระจายของลัทธิการปกครองแบบเผด็จการในละตินอเมริกา
นับตั้งแต่ทศวรรษ 1960 ได้ เนื่องจากพบว่า แม้แต่ในกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาศก.สูงสุดใน
ภูมิภาค + มีชนชั้นกลางที่กระตือรือร้นทางการเมืองมากที่สุด กลับมีการปกครองแบบเผด็จ
การที่กดขี่ยาวนานที่สุด
 ชิลี และอุรุกวัย ที่เคยเป็นประชาธิปไตย กลับกลายมาอยู่ภายใต้เผด็จการทหาร
 แต่กลับพบว่า ประเทศที่ยากจน พัฒนาต่าสุดในภูมิภาค เช่น เอกวาดอร์ เปรู และโบลิเวีย
กลับปรับเปลี่ยนสู่ประชาธิปไตยเป็นประเทศแรกๆ
แนวคิดทฤษฎีที่ใช้อธิบายกรณีศึกษาในภูมิภาคนี้
 มองผ่าน “ทฤษฎีการเปลี่ยนผ่าน” (ซึ่งผสมผสานทฤษฎีพึ่งพิง)
◦ ให้เหตุผลว่า การที่ประเทศละตินอเมริกาไม่สามารถพัฒนาอย่างสมบูรณ์ เพราะต้อง
พึ่งพิงทุน ตลาด เทคโนโลยี และสินค้าอุตสาหกรรมจากประเทศทุนนิยมก้าวหน้า
◦ หากเรายืมเอา “แนวการวิเคราะห์เชิงโครงสร้างทางการเมือง” ของมัวร์ มาใช้ จะพบว่า
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อ democratisation ในละตินอเมริกา (ในช่วงก่อนทศวรรษ
1990 คือ ความสามารถของกลุ่มชนชั้นนาเจ้าของที่ดินในการต่อต้านรัฐ และการที่ชน
ชั้นกลางในเมืองหนุนชนชั้นนาเจ้าของที่ดิน มากกว่าจะอยู่ข้างแรงงานและชาวนา
(รวมถึงการที่ชนชั้นนาเหล่านั้นได้รับการสนับสนุนจากทุนต่างชาติ และรัฐบาลประเทศ
ตะวันตก)
แนวคิดทฤษฎีที่ใช้อธิบายกรณีศึกษาในภูมิภาคนี้
 มองผ่าน “แนวคิดของนักวิชาการสายที่สาม”
◦ เน้นวิเคราะห์ปัจจัยว่าด้วยความเป็นผู้นา และทางเลือก
◦ Linz & Stepan ศึกษาเงื่อนไขที่นาไปสู่การล่มสลายของเผด็จการอานาจนิยม หรือ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากระบอบเผด็จการอานาจนิยมไปเป็นปชต. รวมทั้งการ
ขับเคลื่อนทางการเมืองที่ช่วยพัฒนาความเป็นประชาธิปไตย
 การตัดสินใจของผู้นาทางการเมือง เป็นเงื่อนไขที่ทาให้ปชต.คงอยู่ได้ หรืออยู่ได้อย่างมั่นคง
(เช่น การฟื้ นฟูปชต.ในโคลัมเบียและเวเนซูเอลา ในปลายทศวรรษที่ 1950)
แนวคิดทฤษฎีที่ใช้อธิบายกรณีศึกษาในภูมิภาคนี้
 มองผ่าน “แนวคิดของนักวิชาการสายที่สาม” (ต่อ)
◦ ปัจจัยทางด้านโครงสร้างที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่ปชต. เช่น แรงขับเคลื่อนทาง
ศก.การเมืองระดับภูมิภาค และสถานะของเศรษฐกิจการเมืองระดับโลก
◦ ผู้นา: ทางเลือกอันหลากหลาย และการตัดสินใจเพื่อบรรลุข้อตกลงเพื่อแก้ไขความ
ขัดแย้ง
(structure & agency – ข้อจากัดเชิงโครงสร้างที่กาหนดทางเลือก ผลประโยชน์ที่
แสดงออกทางการเมือง โครงการทางการเมืองที่ออกแบบไว้)
ตัวอย่างทางเลือก เช่น การชูประเด็นผลประโยชน์ของชาติ
 ตัวอย่าง การชูประเด็นชาตินิยม ดูลัทธิเปรอง ในอาร์เจนตินา
 ลัทธิเปรอง (Peronism) เป็นแนวความคิดที่นา ชาตินิยม สังคมนิยม และประชาธิปไตย
แบบอานาจนิยม เข้ามารวมกัน โดยเป็นแนวความคิดของนายพลเปรองในสมัยที่ได้รับ
อานาจขึ้นมาปกครองประเทศอาร์เจนตินา ในปี ค.ศ.1945 รัฐบาลเปรองได้ใช้ นโยบาย
มนุษย์นิยม ที่เรียกว่า "ความยุติธรรมทางสังคม" โดยรัฐเป็นผู้สนองความต้องการพื้นฐาน
ของประชนทุกคน นโยบายของเปรองโดยมีเอวิต้า (ภรรยา) หนุนหลังนี้ ได้ช่วยให้
ผู้ด้อยโอกาสและผู้ยากไร้มีชีวิตดีขึ้น ทั้งในเรื่องค่าจ้าง การสร้างบ้านคนยากจน การศึกษาที่
ไม่ต้องจ่ายเงินในทุกระดับจึงกลายเป็นความคลั่งไคล้ เกิดเป็นขบวนการเปรอง หรือผู้นิยม
เปรองขึ้น ซึ่งแบ่งออกได้อีกหลายฝ่าย เช่น ฝ่ายฟาสซิสต์ ฝ่ายสังคมนิยม และฝ่าย
อนุรักษนิยม
 แนวคิดชาตินิยม คือการเป็นเอกราชทางเศรษฐกิจ ไม่ยอมให้ต่างชาติเข้ามาดาเนินกิจการ
สาคัญภายในประเทศ เช่น กิจการที่เกี่ยวกับสาธารณูปโภคทั้งหลาย ซึ่งรัฐบาลเปรองซื้อคืน
มาหมดหรือการโอนกิจการที่สาคัญมาเป็นของรัฐ
 แนวคิดทางสังคมนิยม คือความยุติธรรมทางสังคม มีการให้สวัสดิการแก่คนยากจน รวมทั้ง
ปัจจัย 4 ในการดารงชีพ โดยคานึงถึงความเป็นธรรมทางสังคม
 แนวคิดทางประชาธิปไตยแบบอานาจนิยม คือการเคารพกระบวนการเลือกตั้งแบบ
ประชาธิปไตย แต่เมื่อได้รับเลือกแล้วผู้นาสามารถใช้อานาจได้อย่างเด็ดขาดได้
 ในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจอาร์เจนตินา (1999-2002) ชาวอาร์เจนตินาหลายคนหวนกลับมา
คิดถึงแนวความคิดของเปรองอีกครั้งหนึ่ง
http://th.wikipedia.org/wiki
 ผลที่ตามมาจากนโยบายประชานิยมของเปรอง คือ ชาวอาร์เจนตินาขาดวินัยทางการเงิน และบริโภค
นิยมมากขึ้น ปรากฎการณ์นี้ อาจอธิบายด้วยทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับ “ปัญหาคุณธรรมวิบัติ”
(moral hazard) อันเป็นปรากฏการณ์ที่คนมีพฤติกรรมสุ่มเสี่ยงมากขึ้นจากการที่มีผู้แบกรับความ
เสี่ยงให้แก่เขา ซึ่งอธิบายได้ว่าประชาชนเกิดความคาดหวังว่า รัฐบาลจะเข้ามาช่วยเหลือ ไม่ว่าจะเป็น
การจ่ายหนี้ แทนให้ หรือแม้แต่ไม่มีเงิน รัฐบาลจะเติมเงินให้ ทาให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมใช้จ่าย
สุรุ่ยสุร่ายมากขึ้น
 เมื่อรัฐบาลต้องใช้จ่ายเพื่อแจกประชาชนมากขึ้น ยิ่งทาให้เกิดการขาดดุลการคลังมากขึ้น การขาดดุล
การคลังนามาซึ่งปัญหาหนี้ สาธารณะ และปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ซึ่งนักเศรษฐศาสตร์บาง
คนเชื่อว่า เป็นสาเหตุของวิกฤติเศรษฐกิจ และทาให้รัฐบาลต้องขายรัฐวิสาหกิจ และเปิดเสรีให้
ต่างชาติเข้ามาลงทุนและครอบครองสินทรัพย์และกิจการในประเทศจนแทบหมดสิ้น
 นอกจากปัญหาในเชิงเศรษฐกิจมหภาคแล้ว ยังมีผลกระทบในระดับปัจเจกชนตามมาอีกมากมาย โดย
สามารถอธิบายด้วยทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคได้ว่า ผู้บริโภคจะมีพฤติกรรม
“จมไม่ลง” แม้มีรายได้ลดลง ดังนั้นประชาชนอาร์เจนตินาซึ่ง “ติด” การรับเงินจากรัฐบาลเปรองแล้ว
เมื่อรัฐบาล “ถังแตก” จนไม่มีเงินแจกอีกต่อไปแล้ว ประชาชนอาร์เจนตินาจึงปรับตัวรับสภาพนี้ ไม่ทัน
ทาให้ประชาชนใช้จ่ายมากกว่ารายได้ จนเกิดเป็นปัญหาหนี้ ครัวเรือนในที่สุด
http://www.oknation.net/blog/juab77/2010/05/13/entr
y-1
เส้นทางจากปชต.เสรีนิยม สู่เผด็จการ
 ต้นศต. 20 – ระบอบการปกครองโดยพลเรือนภายใต้รธน. ได้รับความนิยม
ทั่วโลก
 หลัง WWI และวิกฤตศก. 1930s ระบอบดังกล่าวเริ่มประสบปัญหาไร้
เสถียรภาพ
 หลังปี 1930 เริ่มมีการแทรกแซงทางทหารในหลายประเทศ
 หลังปี 1960 การแทรกแซงของทหารกระจายไปทั่วภูมิภาคและดารงอยู่อย่าง
ยาวนาน (รวมถึงประเทศที่พัฒนาทางศก.ก้าวหน้า)
ความเปราะบางของประชาธิปไตยแบบเสรีนิยมในละตินอเมริกา
(1930-1980)
 ข้อสังเกตเบื้องต้น
◦ มีทั้งการขึ้นครองอานาจของผู้นาเผด็จการ (คิวบา
และนิการากัว) และการปกครองโดยคณะทหาร
◦ ท่ามกลาง “บรรยากาศอันไม่เป็นปชต.” มีการ
เคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการในบางประเทศ เช่น
เม็กซิโก (1910) โบลิเวีย (1952) คิวบา (1959)
นิการากัว-ขบวนการแซนดินิสต้า (1979-1990)
◦ การเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการกลับไม่ทาให้เกิด
บรรยากาศปชต.เสรีนิยมอย่างแท้จริง
เหตุใดปชต.ไม่หยั่งรากลึกในละตินอเมริกา (1930-1980)
 สภาพแวดล้อมทางศก. สังคม และการเมือง
◦ แม้ว่าหลายประเทศในละตินอเมริกาจะก้าวสู่ระบบศก.ทุนนิยม (ทุนข้ามชาติหันมาสนใจ
อุตสาหกรรมการผลิต/1950s และธุรกิจการเงิน/1970s)
◦ แต่ผู้นาประเทศ ซึ่งมีพันธกิจที่จะต้องพัฒนาประเทศ ส่วนใหญ่เลือกใช้วิธีที่รัฐแทรกแซงระบบ
เศรษฐกิจอย่างเข้มข้น (โดยเฉพาะเมื่อศก.ที่เน้นการส่งออกถดถอย (1929-1930) รัฐบาลจึง
แสวงหาทางเลือกที่ไม่อิงกลไกตลาดเต็มที่ โดยปรับโครงสร้างด้านการมีส่วนร่วมทางการเมือง
และสังคม)
◦ ในช่วงนั้น ระบอบปชต.เสรีนิยม ไม่ได้ดึงดูดใจไปมากกว่าระบอบอื่น (เช่น การปกครองแบบ
บรรษัทนิยมของรัฐ)
 บรรษัทนิยม (corporatism) = การที่รัฐร่วมมือกับนายทุนและแรงงาน ณ ระดับรัฐชาติ
ในรูปแบบต่าง ๆ จนกลายเป็นแบบจาลองการควบคุมเศรษฐกิจของประเทศ ในประเทศที่ดาเนินการ
ตามแบบบรรษัทนิยม มักใช้ชาตินิยมทางเศรษฐกิจ เช่น การกีดกันการค้า เป็นตัวกาหนด
ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างประเทศ
สภาพแวดล้อมทางศก.ที่ทาให้ปชต.ประสบภาวะชะงักงัน
 จุดเปลี่ยนที่สาคัญคือ Great Depression ในปี 1929
◦ ความต้องการของตลาดต่างประเทศต่อสินค้าส่งออกปฐมภูมิของละตินอเมริกาลดต่าลง ทาให้
เงินได้จากเงินตราต่างประเทศต่าลง อัตราการว่างงานสูง และรายได้รัฐบาลตกฮวบฮาบ
◦ ผลกระทบต่อเนื่องคือ ประชาชนสูญสิ้นความเชื่อถือต่อชนชั้นนา เกิดผู้นากลุ่มใหม่ๆ
◦ ตามมาด้วย การจลาจลและความวุ่นวายทางการเมือง
◦ นับเป็นการเปิดทางสู่การแทรกแซงของทหาร และการขึ้นครองอานาจของเผด็จการบุคคล เช่น
บาติสตา (คิวบา) โซโมซา (นิการากัว)
◦ เกิดการทบทวนแนวทางการพัฒนาประเทศ โดยปฏิเสธแนวทางเสรีนิยมปชต. (และการเป็น
พันธมิตรกับต่างประเทศ) ซึ่งถูกมองว่า นามาซึ่งความไร้เสถียรภาพทางศก.
◦ ผู้นาในประเทศเริ่มมองว่า อาจปรับใช้ระบอบการปกครองแบบอื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น
การนาระบบฟาสซิสต์มาใช้ในอาร์เจนตินา โบลิเวีย และบราซิล
 เหตุใด “เม็กซิโก” จึงเป็นกรณียกเว้น (แม้ว่าจะไม่เป็นปชต.เสรีนิยมอย่าง
เต็มที่)
◦ ชาวนา แรงงาน และคนชั้นกลาง รวมตัวกันได้
◦ เนื่องจากทนไม่ไหวกับการกดขี่ขูดรีดภายใต้การปกครองของดิแอซ (ที่เน้นการส่งออก
สินค้าปฐมภูมิ)
◦ แม้ว่าการรวมตัวคัดค้านรัฐบาลจะเผชิญกับการปราบปรามอย่างหนัก และการลอบ
สังหารผู้นาฝ่ายต่อต้าน
◦ แต่คณาธิปไตยก็เริ่มสั่นคลอน และนาสู่การเกิดพรรคการเมืองใหม่ (ปลายทศวรรษ
1920s) โดยพรรคนี้ สามารถรวมแรงสนับสนุนทั้งจากชาวนาและแรงงาน โดยมีวาระ
เริ่มแรกคือ nationalisation บริษัทน้ามันต่างชาติ
การเปลี่ยนแปลงสู่ปชต. (1980-1995)
 เปลี่ยนแปลงสู่ปชต.เสรีนิยม หรือ
ระบอบกึ่งปชต.
เช่น
Allende (1970-1973) - Pinochet
(1973-1990) – พรรคการเมืองฝ่าย
สังคมนิยม (จนถึงปัจจุบัน)
+
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2004q4/ar
ticle2004nov25p1.htm
The Third Wave of
Democratization - คลื่นลูกที่สามประชาธิปไตย
 การเกิดของการปกครองระบอบปชต.โลก แบ่งได้เป็น 3 ช่วง โดยใช้คาว่า "คลื่น”
◦ คลื่นลูกที่ 1 (1828-1926) เป็นช่วงเวลาที่มีการขยายสิทธิเลือกตั้งสู่คนผิวขาวซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ในอเมริกา
ปีที่เริ่มต้นของการสิ้นสุดของคลื่นลูกที่หนึ่งคือปีที่มุสโสลินีขึ้นครองอานาจในอิตาลี (ฟาสซิสต์) จวบจนปี 1942
ซึ่งจานวนประเทศปชต.ในโลกลดลงจาก 29 ประเทศเป็น 12 ประเทศ (อย่างไรก็ตาม สวิตเซอร์แลนด์ที่อยู่
ในช่วงคลื่นลูกแรกนี้ ไม่ได้ให้สิทธิเลือกตั้งแก่ผู้หญิงจวบจนปี 1971)
◦ คลื่นลูกที่ 2 (1943-1962) เป็นช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งมีจานวนประเทศปชต.ถึง 36 ประเทศ
โดยลดลงเหลือ 30 ประเทศในกลางทศวรรษ 1970
◦ คลื่นลูกที่ 3 นับจากการปฏิวัติดอกคาร์เนชั่นในโปรตุเกสในปี 1974 การเปลี่ยนเป็นปชต.ในละตินอเมริกา
(1980s) และในเอเชียแปซิฟิก เช่น ฟิลิบปินส์ เกาหลีใต้ และไต้หวัน (1986-1988) รวมถึงยุโรปตะวันออก
ภายหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต
 แนวคิด “คลื่นลูกที่สามประชาธิปไตย” มองว่า ระบอบปชต.ในประเทศต่างๆมีเกิดมีดับ ในขณะที่
ระบอบปชต.บางประเทศอาจอยู่ยงคงกระพัน สถาปนาขึ้นแล้วดารงอยู่ได้ต่อเนื่อง
 ฮันติงตันถือว่า ระบอบการเมืองจะเป็นประชาธิปไตยได้ก็ต่อเมื่อผู้มีอานาจสูงสุดในการตัดสินใจเพื่อ
ส่วนรวม ถูกเลือกขึ้นมาโดยกระบวนการเลือกตั้งที่สามารถไว้วางใจได้ว่ายุติธรรม และจะต้องมีการ
เลือกตั้งตามกาหนดเวลา
ใช้ คลื่นลูกที่สาม อธิบายการเปลี่ยนแปลงสู่ปชต.ในละติน
อเมริกา (1980-1995)
 ระหว่างปี 1980-1995 ลักษณะที่เกี่ยวข้องกับ democratisation ใน
ละตินอเมริกา มี 3 ลักษณะ คือ
◦ การกลับมาสู่กระบวนการเป็นประชาธิปไตย (อาร์เจนตินา เคยเป็นประชาธิปไตยในช่วง
ทศวรรษ 1960s และอุรุกวัย ในช่วงทศวรรษ 1970s)
◦ การเปิดเสรี (บราซิลก้าวเข้าสู่การเมืองเสรีนิยม และการเปิดกว้างในการเลือกตั้ง (หลังปี
1995))
◦ การทาให้ประชาธิปไตยหยั่งราก (เม็กซิโก – รัฐบาลคลายการควบคุมการสั่งการจาก
ส่วนกลางในปี 1995)
ใช้ คลื่นลูกที่สาม อธิบายการเปลี่ยนแปลงสู่ปชต.ในละติน
อเมริกา (1980-1995)
 Mainwaring (1986) Huntington (1991) O’Donnell (1989) เสนอรูปแบบ
การเปลี่ยนผ่านในละตินอเมริกา 4 รูปแบบ
◦ การยอมอ่อนข้อ – รัฐบาลที่ครองอานาจอยู่มองว่า การปรับเข้าสู่ปชต.เป็นประโยชน์สาหรับ
ตนเอง โดยเปลี่ยนสู่ระบอบกึ่งปชต. (เม็กซิโก บราซิล กัวเตมาลา ฮอนดูรัส)
◦ การเจรจาต่อรอง – รัฐบาลที่ครองอานาจอยู่ตัดสินใจลาออก โดยรัฐบาลเหล่านี้ มีข้อผูกมัด/
สัญญาที่จะต้องฟังเสียงประชาชน เพื่อประกอบการตัดสินใจทางการเมือง (อุรุกวัย เปรู ชิลี และ
เอล ซัลวาดอร์)
◦ การล่าถอย – รัฐบาลอานาจนิยมถูกโค่นอานาจโดยฝ่ายค้าน/ฝ่ายอื่นๆที่แตกแยกกันภายในขั้น
รัฐบาล (อาร์เจนตินา เอกวาดอร์ โบลิเวีย)
◦ การแทรกแซง – อานาจภายนอกสนับสนุนให้เกิดระบอบปชต. เช่น สหรัฐแทรกแซงทางทหาร
ในปานามา และเฮติ
ใช้ คลื่นลูกที่สาม อธิบายการเปลี่ยนแปลงสู่ปชต.ในละติน
อเมริกา (1980-1995)
 เงื่อนไขที่ทาให้การเปลี่ยนผ่านสู่ปชต.รูปแบบต่างๆเกิดขึ้นมาได้
◦ การที่กลุ่มสายปฏิรูปขึ้นมามีอานาจนาในรัฐบาล และพวกสายกลางขึ้นมามีอานาจใน
ฝ่ายต่อต้าน
◦ การตกลงกันได้ว่า นโยบายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตต้องมาจากความเห็นชอบของทั้งสอง
ฝ่าย
◦ การรับประกันว่า สถาบันที่กุมอานาจดั้งเดิม คือ สถาบันทหาร จะไม่ถูกละเมิดไม่ว่าใน
กรณีใดๆ
กรอบแนวคิดท.บ.การเปลี่ยนผ่าน และพลวัตปชต.ในละตินอเมริกา
(1980-1995)
 เงื่อนไขฯ ที่ทาให้มีการเปลี่ยนสู่ปชต. ได้แก่
1) การที่ระบอบอานาจนิยมทหาร เดิมพยายามรักษาระเบียบทางการเมือง และความ
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเชิงสถาบัน
โดยทั่วไปผู้นาอานาจนิยมอยู่ได้ภายใต้ความชอบธรรม โดยเฉพาะ
ความชอบธรรมที่ว่าพวกเขาเข้ามาแทรกแซงเพื่อป้ องกันภัยคอมมิวนิสต์
(อาร์เจนตินา อุรุกวัย ชิลี) แต่ความชอบธรรมนั้น จะถูกสั่นคลอนเมื่ออยู่ใน
อานาจนานๆ และการที่สถาบันทหารเข้าไปพัวพันกับการเมือง (การจัดการ
ทรัพยากรและประโยชน์)
กรอบแนวคิดท.บ.การเปลี่ยนผ่าน และพลวัตปชต.ในละตินอเมริกา
(1980-1995)
 เงื่อนไขฯ ที่ทาให้มีการเปลี่ยนสู่ปชต. ได้แก่
2) การที่รัฐบาลทหารไร้ความสามารถในการจัดการทางศก. ความชอบธรรมในการ
ปกครองจึงลดลง
ซึ่งมีผลโดยตรงต่อความร่วมมือของกลุ่มทุนเก่าและกลุ่มทุนใหม่ (ตามแนวคิดนี้ การ
เดินขบวนเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลของประชาชน ไม่ได้ทาให้เกิดการเปลี่ยนผ่านระบอบ
การปกครอง มันแค่ทาให้รัฐบาลทางานได้ยากลาบาก)
กรอบแนวคิดท.บ.การเปลี่ยนผ่าน และพลวัตปชต.ในละตินอเมริกา
(1980-1995)
 เงื่อนไขฯ ที่ทาให้มีการเปลี่ยนสู่ปชต. ได้แก่
3) แรงกดดันจากนานาชาติ ที่สนับสนุนปชต. โดยเฉพาะสหรัฐฯ
ในกรณีของปานามา ฮอนดูรัส และกัวเตมาลา แรงกดดันทางทหารและเศรษฐกิจจาก
สหรัฐอเมริกามีผลอย่างสาคัญต่อการเปลี่ยนผ่านสู่ปชต. (โดยเฉพาะในประเทศเล็กๆ)
ปัญหาในการพัฒนาปชต.ในละตินอเมริกา
 การพยายามลดบทบาทของฝ่ายทหาร
◦ เช่น การพิจารณาคดีที่ทหารละเมิดสิทธิมนุษยนชน (บางประเทศเช่น บราซิลในสมัย
ของปธน.ลูลา ซึ่งใช้วิธีการนิรโทษกรรม แต่อาร์เจนตินาในสมัยของเคิร์ชเนอร์ ให้เข้าสู่
กระบวนการรับผิด) การเพิ่มหรือลดงบฯด้านการทหาร การยกเลิกเอกสิทธิคุ้มครอง
ตามรธน. การยกเลิกอิสระในการจัดการบริหารองค์กร (เช่น การเลื่อนตาแหน่ง การ
รายงานการปฏิบัติต่อรัฐสภา การจัดการงานด้านการข่าว-ความมั่นคง บทบาทของผบ.
เหล่าทัพ-กรมกอง)
◦ ในกรณีของอาร์เจนตินา (1983-19989) ทหารก่อการปฏิวัติหลายครั้ง เพื่อลดทอน
อานาจของรัฐบาลในการขยายวงการสอบสวนผู้นาในกองทัพที่พัวพันกับ “สงคราม
สกปรก” (2519-2526) กดดันให้รัฐบาลเลิกล้มแผนปฏิรูปกองทัพ
กลุ่มแม่แห่งพลาซา เดอ มาโย (the Mother of Plaza de Mayo) ใน
ระหว่างการเดินขบวนรอบพลาซา เดอ มาโย ณ เมืองบัวโนส ไอเรส เมื่อเดือนธันวาคมปี 2009
(ภาพโดย แอนโทนิโอ คาสทิโย)
 กองทัพในละตินอเมริกาอยู่ในสถานะที่พร้อมจะกลับมาสู่ศูนย์กลางอานาจทางการเมืองอีกครั้ง (หาก
สภาพการณ์ยังเป็นอยู่อย่างเดิม คือ การเพิกเฉยต่อการนาทหารเข้าสู่กระบวนการไต่สวน การไม่ปรับ
ลดงบประมาณทหารอย่างจริงจัง การที่รัฐสภาไม่มีอานาจตรวจสอบกองทัพ การเปิดให้อิสระกับ
กองทัพเต็มที่ในการบริหาร รวมถึงการอนุญาตให้มีการระงับสิทธิพลเรือน-ประกาศกฎอัยการศึกใน
บางกรณี โดยอ้างเอกสิทธิตามรธน.)
ปัญหาในการพัฒนาปชต.ในละตินอเมริกา
 ระบบพรรคการเมืองและการเมืองแบบตัวแทน
◦ โดยทั่วไปใช้ระบบปธน. โดยการสนับสนุนจากพรรคร่วมรัฐบาล หรือโดยหลักเสียงข้าง
มากในการลงคะแนนเสียงรอบสอง
◦ ในประเทศละตินอเมริกาส่วนใหญ่ จวบจนถึงปี 1997 พรรคการเมืองยังไม่ได้มีบทบาท
โดดเด่น เนื่องจาก
 พรรคที่ครองอานาจในประเทศเหล่านั้น บางพรรคเกิดจากการก่อตั้งโดยรัฐ (จึงมีลักษณะรวม
ศูนย์ เป็นบรรษัทนิยม คอรัปชั่น ไม่เป็นปชต.)
 พรรคฯไม่ผูกพันกับอุดมการณ์ตายตัว เพียงแต่หยิบยืมภาษาและชุดความคิดมาใช้
 การรับบุคคลเข้าร่วมพรรคการเมืองมักไม่ได้ทาในนามพรรค ตาแหน่งผู้นาพรรคตกเป็นของ
นายพลปลดเกษียณ ผู้นาทางปัญญา และนักธุรกิจที่มีความทะเยอทะยาน
 กรณีของเวเนซูเอลา ก่อนที่ชาเวซจะขึ้นครองอานาจ...
◦ พรรคการเมืองหลักสองพรรค “แพแตก”
◦ ผู้ลงคะแนนเสียงผิดหวังในพรรคการเมือง ที่ไม่ทาตามสัญญาที่ให้กับผู้เลือกตั้ง – ไม่ผลักดัน
นโยบาย-แผนงาน ที่ให้ผลประโยชน์แก่พวกเขา
◦ สภาและปธน.ไม่สามารถประนีประนอมทางความเห็น
◦ พรรคการเมืองไม่สามารถสะท้อนความต้องการของผู้เลือกตั้งผ่านนโยบายได้
◦ พรรคการเมืองฝ่ายซ้ายไร้อานาจ
◦ http://en.wikipedia.org/wiki/Bolivarianism
ปัญหาในการพัฒนาปชต.ในละตินอเมริกา
 การทุจริตคอรรัปชั่นในวงการเมือง
◦ ผู้นาหลายประเทศถูกกล่าวหาว่าพัวพันกับการคอรัปชั่น ในทศวรรษที่ 1990 ส่งผลให้
เกิดวิกฤตศรัทธาของประชาชนต่อระบอบการปกครองแบบปชต. และกีดขวางการพัฒนา
ปชต.ของประเทศ
◦ กรณีคอรัปชั่นในละตินอเมริกาอยู่ในระดับน่าตกใจ ทั้งแง่จานวนคดี และแง่ที่มันพัวพัน
กับสถาบันหลักของรัฐ
บทบาทของอเมริกาต่อ ประชาธิปไตย ในละตินอเมริกา
 ในเอกสารระดับสูงชิ้นแล้วชิ้นเล่า นักวางแผนของสหรัฐอเมริกา แสดงทัศนะว่า ภัยคุกคามอันดับแรกต่อ
ระเบียบโลกใหม่ คือ ลัทธิชาตินิยมของประเทศโลกที่สาม ที่ตอบสนองต่อ “ข้อเรียกร้องของประชาชนให้มีการ
ปรับปรุงมาตรฐานชีวิตที่ต่าของมวลชนส่วนใหญ่ในทันที” รวมทั้งการผลิตเพื่อสนองความจาเป็น
ภายในประเทศ
 สหรัฐฯ จับมือกับกองทัพ ซึ่งเป็น “กลุ่มทางการเมืองในละตินอเมริกาที่ต่อต้านอเมริกันน้อยที่สุด” (ตามที่นัก
วางแผนของจอห์น เอฟ เคนเนดี้ว่าไว้) เพื่อใช้กองทัพบดขยี้กลุ่มมวลชนพื้นเมืองที่หลุดรอดจากการควบคุม
 สหรัฐฯ เต็มใจยินยอมให้เกิดการปฏิรูปทางการเมือง ต่อเมื่อสิทธิของชนชั้นแรงงานถูกกดไว้ และยังรักษา
บรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุนจากต่างชาติ (ตัวอย่างเช่น ในคอสตาริกา)
 รัฐบาลในระบอบรัฐสภาถูกกีดกันหรือล้มล้างด้วยการหนุนหลังของสหรัฐอเมริกา และบางครั้งก็ใช้การ
แทรกแซงโดยตรง (ในกัวเตมาลา (1954) ในโดมินิกัน (1963) ในบราซิล (1964) ในชิลี (1973) เป็นต้น
 http://www.youtube.com/watch?feature=player_embedded&v=7a9Syi12RJo#!
เอกสารหลัก
 Cammack, Paul. 1997. "Democracy and Dictatorship in Latin America, 1930-80." In
Democratization, eds. David Potter, David Goldblatt, Margaret Kiloh and Paul Lewis.
Cambridge: Polity Press.
 Little, Walter. 1997. "Democratization in Latin America, 1980-95." In
Democratization, eds. David Potter, David Goldblatt, Margaret Kiloh and Paul Lewis.
Cambridge: Polity Press.
 ภัควดี วีระภาสพงษ์ (แปล) Noam Chomsky (เขียน). 2544. อเมริกาอเมริกาอเมริกา วิพากษ์นโยบาย
ต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (What Uncle Sam Really Wants). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีม
ทอง.

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

ประชาธ ปไตย มหาอำนาจ-และละต-นอเมร_กา

  • 1. ประชาธิปไตย มหาอานาจ และละตินอเมริกา 1304 301 พลวัตการเปลี่ยนแปลงไปสู่ประชาธิปไตย (Dynamics of Democratisation)
  • 2.
  • 3. ประชาธิปไตยและเผด็จการในละตินอเมริกา  กลางทศวรรษ 1970 ประเทศในละตินอเมริกาส่วนใหญ่ ปกครองภายใต้ ระบอบเผด็จการ ◦ แม้บางประเทศ เช่น บราซิล จะมีรัฐบาลพลเรือน แต่การแข่งขันทางการเมืองเป็นไป อย่างจากัด ◦ ขณะที่บางประเทศเพิ่งจะเข้าสู่ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย เช่น คอสตาริกา และเวเนซูเอลา  แต่เมื่อถึงทศวรรษ 1990 ระบอบประชาธิปไตยเสรีนิยม ก็กลายเป็นรูปแบบ การปกครองที่เป็นบรรทัดฐานของประเทศในภาคพื้นทวีปของภูมิภาคนี้
  • 4. แนวคิดทฤษฎีที่ใช้อธิบายกรณีศึกษาในภูมิภาคนี้  มองละตินอเมริกา ผ่าน “ทฤษฎีการทาให้ทันสมัย” ◦ ข้อบกพร่อง  ไม่สามารถอธิบายการแผ่กระจายของลัทธิการปกครองแบบเผด็จการในละตินอเมริกา นับตั้งแต่ทศวรรษ 1960 ได้ เนื่องจากพบว่า แม้แต่ในกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาศก.สูงสุดใน ภูมิภาค + มีชนชั้นกลางที่กระตือรือร้นทางการเมืองมากที่สุด กลับมีการปกครองแบบเผด็จ การที่กดขี่ยาวนานที่สุด  ชิลี และอุรุกวัย ที่เคยเป็นประชาธิปไตย กลับกลายมาอยู่ภายใต้เผด็จการทหาร  แต่กลับพบว่า ประเทศที่ยากจน พัฒนาต่าสุดในภูมิภาค เช่น เอกวาดอร์ เปรู และโบลิเวีย กลับปรับเปลี่ยนสู่ประชาธิปไตยเป็นประเทศแรกๆ
  • 5. แนวคิดทฤษฎีที่ใช้อธิบายกรณีศึกษาในภูมิภาคนี้  มองผ่าน “ทฤษฎีการเปลี่ยนผ่าน” (ซึ่งผสมผสานทฤษฎีพึ่งพิง) ◦ ให้เหตุผลว่า การที่ประเทศละตินอเมริกาไม่สามารถพัฒนาอย่างสมบูรณ์ เพราะต้อง พึ่งพิงทุน ตลาด เทคโนโลยี และสินค้าอุตสาหกรรมจากประเทศทุนนิยมก้าวหน้า ◦ หากเรายืมเอา “แนวการวิเคราะห์เชิงโครงสร้างทางการเมือง” ของมัวร์ มาใช้ จะพบว่า ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อ democratisation ในละตินอเมริกา (ในช่วงก่อนทศวรรษ 1990 คือ ความสามารถของกลุ่มชนชั้นนาเจ้าของที่ดินในการต่อต้านรัฐ และการที่ชน ชั้นกลางในเมืองหนุนชนชั้นนาเจ้าของที่ดิน มากกว่าจะอยู่ข้างแรงงานและชาวนา (รวมถึงการที่ชนชั้นนาเหล่านั้นได้รับการสนับสนุนจากทุนต่างชาติ และรัฐบาลประเทศ ตะวันตก)
  • 6. แนวคิดทฤษฎีที่ใช้อธิบายกรณีศึกษาในภูมิภาคนี้  มองผ่าน “แนวคิดของนักวิชาการสายที่สาม” ◦ เน้นวิเคราะห์ปัจจัยว่าด้วยความเป็นผู้นา และทางเลือก ◦ Linz & Stepan ศึกษาเงื่อนไขที่นาไปสู่การล่มสลายของเผด็จการอานาจนิยม หรือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงจากระบอบเผด็จการอานาจนิยมไปเป็นปชต. รวมทั้งการ ขับเคลื่อนทางการเมืองที่ช่วยพัฒนาความเป็นประชาธิปไตย  การตัดสินใจของผู้นาทางการเมือง เป็นเงื่อนไขที่ทาให้ปชต.คงอยู่ได้ หรืออยู่ได้อย่างมั่นคง (เช่น การฟื้ นฟูปชต.ในโคลัมเบียและเวเนซูเอลา ในปลายทศวรรษที่ 1950)
  • 7. แนวคิดทฤษฎีที่ใช้อธิบายกรณีศึกษาในภูมิภาคนี้  มองผ่าน “แนวคิดของนักวิชาการสายที่สาม” (ต่อ) ◦ ปัจจัยทางด้านโครงสร้างที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่ปชต. เช่น แรงขับเคลื่อนทาง ศก.การเมืองระดับภูมิภาค และสถานะของเศรษฐกิจการเมืองระดับโลก ◦ ผู้นา: ทางเลือกอันหลากหลาย และการตัดสินใจเพื่อบรรลุข้อตกลงเพื่อแก้ไขความ ขัดแย้ง (structure & agency – ข้อจากัดเชิงโครงสร้างที่กาหนดทางเลือก ผลประโยชน์ที่ แสดงออกทางการเมือง โครงการทางการเมืองที่ออกแบบไว้) ตัวอย่างทางเลือก เช่น การชูประเด็นผลประโยชน์ของชาติ
  • 8.  ตัวอย่าง การชูประเด็นชาตินิยม ดูลัทธิเปรอง ในอาร์เจนตินา
  • 9.  ลัทธิเปรอง (Peronism) เป็นแนวความคิดที่นา ชาตินิยม สังคมนิยม และประชาธิปไตย แบบอานาจนิยม เข้ามารวมกัน โดยเป็นแนวความคิดของนายพลเปรองในสมัยที่ได้รับ อานาจขึ้นมาปกครองประเทศอาร์เจนตินา ในปี ค.ศ.1945 รัฐบาลเปรองได้ใช้ นโยบาย มนุษย์นิยม ที่เรียกว่า "ความยุติธรรมทางสังคม" โดยรัฐเป็นผู้สนองความต้องการพื้นฐาน ของประชนทุกคน นโยบายของเปรองโดยมีเอวิต้า (ภรรยา) หนุนหลังนี้ ได้ช่วยให้ ผู้ด้อยโอกาสและผู้ยากไร้มีชีวิตดีขึ้น ทั้งในเรื่องค่าจ้าง การสร้างบ้านคนยากจน การศึกษาที่ ไม่ต้องจ่ายเงินในทุกระดับจึงกลายเป็นความคลั่งไคล้ เกิดเป็นขบวนการเปรอง หรือผู้นิยม เปรองขึ้น ซึ่งแบ่งออกได้อีกหลายฝ่าย เช่น ฝ่ายฟาสซิสต์ ฝ่ายสังคมนิยม และฝ่าย อนุรักษนิยม  แนวคิดชาตินิยม คือการเป็นเอกราชทางเศรษฐกิจ ไม่ยอมให้ต่างชาติเข้ามาดาเนินกิจการ สาคัญภายในประเทศ เช่น กิจการที่เกี่ยวกับสาธารณูปโภคทั้งหลาย ซึ่งรัฐบาลเปรองซื้อคืน มาหมดหรือการโอนกิจการที่สาคัญมาเป็นของรัฐ  แนวคิดทางสังคมนิยม คือความยุติธรรมทางสังคม มีการให้สวัสดิการแก่คนยากจน รวมทั้ง ปัจจัย 4 ในการดารงชีพ โดยคานึงถึงความเป็นธรรมทางสังคม  แนวคิดทางประชาธิปไตยแบบอานาจนิยม คือการเคารพกระบวนการเลือกตั้งแบบ ประชาธิปไตย แต่เมื่อได้รับเลือกแล้วผู้นาสามารถใช้อานาจได้อย่างเด็ดขาดได้  ในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจอาร์เจนตินา (1999-2002) ชาวอาร์เจนตินาหลายคนหวนกลับมา คิดถึงแนวความคิดของเปรองอีกครั้งหนึ่ง http://th.wikipedia.org/wiki
  • 10.  ผลที่ตามมาจากนโยบายประชานิยมของเปรอง คือ ชาวอาร์เจนตินาขาดวินัยทางการเงิน และบริโภค นิยมมากขึ้น ปรากฎการณ์นี้ อาจอธิบายด้วยทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับ “ปัญหาคุณธรรมวิบัติ” (moral hazard) อันเป็นปรากฏการณ์ที่คนมีพฤติกรรมสุ่มเสี่ยงมากขึ้นจากการที่มีผู้แบกรับความ เสี่ยงให้แก่เขา ซึ่งอธิบายได้ว่าประชาชนเกิดความคาดหวังว่า รัฐบาลจะเข้ามาช่วยเหลือ ไม่ว่าจะเป็น การจ่ายหนี้ แทนให้ หรือแม้แต่ไม่มีเงิน รัฐบาลจะเติมเงินให้ ทาให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมใช้จ่าย สุรุ่ยสุร่ายมากขึ้น  เมื่อรัฐบาลต้องใช้จ่ายเพื่อแจกประชาชนมากขึ้น ยิ่งทาให้เกิดการขาดดุลการคลังมากขึ้น การขาดดุล การคลังนามาซึ่งปัญหาหนี้ สาธารณะ และปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ซึ่งนักเศรษฐศาสตร์บาง คนเชื่อว่า เป็นสาเหตุของวิกฤติเศรษฐกิจ และทาให้รัฐบาลต้องขายรัฐวิสาหกิจ และเปิดเสรีให้ ต่างชาติเข้ามาลงทุนและครอบครองสินทรัพย์และกิจการในประเทศจนแทบหมดสิ้น  นอกจากปัญหาในเชิงเศรษฐกิจมหภาคแล้ว ยังมีผลกระทบในระดับปัจเจกชนตามมาอีกมากมาย โดย สามารถอธิบายด้วยทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคได้ว่า ผู้บริโภคจะมีพฤติกรรม “จมไม่ลง” แม้มีรายได้ลดลง ดังนั้นประชาชนอาร์เจนตินาซึ่ง “ติด” การรับเงินจากรัฐบาลเปรองแล้ว เมื่อรัฐบาล “ถังแตก” จนไม่มีเงินแจกอีกต่อไปแล้ว ประชาชนอาร์เจนตินาจึงปรับตัวรับสภาพนี้ ไม่ทัน ทาให้ประชาชนใช้จ่ายมากกว่ารายได้ จนเกิดเป็นปัญหาหนี้ ครัวเรือนในที่สุด http://www.oknation.net/blog/juab77/2010/05/13/entr y-1
  • 11. เส้นทางจากปชต.เสรีนิยม สู่เผด็จการ  ต้นศต. 20 – ระบอบการปกครองโดยพลเรือนภายใต้รธน. ได้รับความนิยม ทั่วโลก  หลัง WWI และวิกฤตศก. 1930s ระบอบดังกล่าวเริ่มประสบปัญหาไร้ เสถียรภาพ  หลังปี 1930 เริ่มมีการแทรกแซงทางทหารในหลายประเทศ  หลังปี 1960 การแทรกแซงของทหารกระจายไปทั่วภูมิภาคและดารงอยู่อย่าง ยาวนาน (รวมถึงประเทศที่พัฒนาทางศก.ก้าวหน้า)
  • 12. ความเปราะบางของประชาธิปไตยแบบเสรีนิยมในละตินอเมริกา (1930-1980)  ข้อสังเกตเบื้องต้น ◦ มีทั้งการขึ้นครองอานาจของผู้นาเผด็จการ (คิวบา และนิการากัว) และการปกครองโดยคณะทหาร ◦ ท่ามกลาง “บรรยากาศอันไม่เป็นปชต.” มีการ เคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการในบางประเทศ เช่น เม็กซิโก (1910) โบลิเวีย (1952) คิวบา (1959) นิการากัว-ขบวนการแซนดินิสต้า (1979-1990) ◦ การเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการกลับไม่ทาให้เกิด บรรยากาศปชต.เสรีนิยมอย่างแท้จริง
  • 13. เหตุใดปชต.ไม่หยั่งรากลึกในละตินอเมริกา (1930-1980)  สภาพแวดล้อมทางศก. สังคม และการเมือง ◦ แม้ว่าหลายประเทศในละตินอเมริกาจะก้าวสู่ระบบศก.ทุนนิยม (ทุนข้ามชาติหันมาสนใจ อุตสาหกรรมการผลิต/1950s และธุรกิจการเงิน/1970s) ◦ แต่ผู้นาประเทศ ซึ่งมีพันธกิจที่จะต้องพัฒนาประเทศ ส่วนใหญ่เลือกใช้วิธีที่รัฐแทรกแซงระบบ เศรษฐกิจอย่างเข้มข้น (โดยเฉพาะเมื่อศก.ที่เน้นการส่งออกถดถอย (1929-1930) รัฐบาลจึง แสวงหาทางเลือกที่ไม่อิงกลไกตลาดเต็มที่ โดยปรับโครงสร้างด้านการมีส่วนร่วมทางการเมือง และสังคม) ◦ ในช่วงนั้น ระบอบปชต.เสรีนิยม ไม่ได้ดึงดูดใจไปมากกว่าระบอบอื่น (เช่น การปกครองแบบ บรรษัทนิยมของรัฐ)  บรรษัทนิยม (corporatism) = การที่รัฐร่วมมือกับนายทุนและแรงงาน ณ ระดับรัฐชาติ ในรูปแบบต่าง ๆ จนกลายเป็นแบบจาลองการควบคุมเศรษฐกิจของประเทศ ในประเทศที่ดาเนินการ ตามแบบบรรษัทนิยม มักใช้ชาตินิยมทางเศรษฐกิจ เช่น การกีดกันการค้า เป็นตัวกาหนด ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างประเทศ
  • 14. สภาพแวดล้อมทางศก.ที่ทาให้ปชต.ประสบภาวะชะงักงัน  จุดเปลี่ยนที่สาคัญคือ Great Depression ในปี 1929 ◦ ความต้องการของตลาดต่างประเทศต่อสินค้าส่งออกปฐมภูมิของละตินอเมริกาลดต่าลง ทาให้ เงินได้จากเงินตราต่างประเทศต่าลง อัตราการว่างงานสูง และรายได้รัฐบาลตกฮวบฮาบ ◦ ผลกระทบต่อเนื่องคือ ประชาชนสูญสิ้นความเชื่อถือต่อชนชั้นนา เกิดผู้นากลุ่มใหม่ๆ ◦ ตามมาด้วย การจลาจลและความวุ่นวายทางการเมือง ◦ นับเป็นการเปิดทางสู่การแทรกแซงของทหาร และการขึ้นครองอานาจของเผด็จการบุคคล เช่น บาติสตา (คิวบา) โซโมซา (นิการากัว) ◦ เกิดการทบทวนแนวทางการพัฒนาประเทศ โดยปฏิเสธแนวทางเสรีนิยมปชต. (และการเป็น พันธมิตรกับต่างประเทศ) ซึ่งถูกมองว่า นามาซึ่งความไร้เสถียรภาพทางศก. ◦ ผู้นาในประเทศเริ่มมองว่า อาจปรับใช้ระบอบการปกครองแบบอื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การนาระบบฟาสซิสต์มาใช้ในอาร์เจนตินา โบลิเวีย และบราซิล
  • 15.  เหตุใด “เม็กซิโก” จึงเป็นกรณียกเว้น (แม้ว่าจะไม่เป็นปชต.เสรีนิยมอย่าง เต็มที่) ◦ ชาวนา แรงงาน และคนชั้นกลาง รวมตัวกันได้ ◦ เนื่องจากทนไม่ไหวกับการกดขี่ขูดรีดภายใต้การปกครองของดิแอซ (ที่เน้นการส่งออก สินค้าปฐมภูมิ) ◦ แม้ว่าการรวมตัวคัดค้านรัฐบาลจะเผชิญกับการปราบปรามอย่างหนัก และการลอบ สังหารผู้นาฝ่ายต่อต้าน ◦ แต่คณาธิปไตยก็เริ่มสั่นคลอน และนาสู่การเกิดพรรคการเมืองใหม่ (ปลายทศวรรษ 1920s) โดยพรรคนี้ สามารถรวมแรงสนับสนุนทั้งจากชาวนาและแรงงาน โดยมีวาระ เริ่มแรกคือ nationalisation บริษัทน้ามันต่างชาติ
  • 16. การเปลี่ยนแปลงสู่ปชต. (1980-1995)  เปลี่ยนแปลงสู่ปชต.เสรีนิยม หรือ ระบอบกึ่งปชต. เช่น Allende (1970-1973) - Pinochet (1973-1990) – พรรคการเมืองฝ่าย สังคมนิยม (จนถึงปัจจุบัน) + http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2004q4/ar ticle2004nov25p1.htm
  • 17. The Third Wave of Democratization - คลื่นลูกที่สามประชาธิปไตย  การเกิดของการปกครองระบอบปชต.โลก แบ่งได้เป็น 3 ช่วง โดยใช้คาว่า "คลื่น” ◦ คลื่นลูกที่ 1 (1828-1926) เป็นช่วงเวลาที่มีการขยายสิทธิเลือกตั้งสู่คนผิวขาวซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ในอเมริกา ปีที่เริ่มต้นของการสิ้นสุดของคลื่นลูกที่หนึ่งคือปีที่มุสโสลินีขึ้นครองอานาจในอิตาลี (ฟาสซิสต์) จวบจนปี 1942 ซึ่งจานวนประเทศปชต.ในโลกลดลงจาก 29 ประเทศเป็น 12 ประเทศ (อย่างไรก็ตาม สวิตเซอร์แลนด์ที่อยู่ ในช่วงคลื่นลูกแรกนี้ ไม่ได้ให้สิทธิเลือกตั้งแก่ผู้หญิงจวบจนปี 1971) ◦ คลื่นลูกที่ 2 (1943-1962) เป็นช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งมีจานวนประเทศปชต.ถึง 36 ประเทศ โดยลดลงเหลือ 30 ประเทศในกลางทศวรรษ 1970 ◦ คลื่นลูกที่ 3 นับจากการปฏิวัติดอกคาร์เนชั่นในโปรตุเกสในปี 1974 การเปลี่ยนเป็นปชต.ในละตินอเมริกา (1980s) และในเอเชียแปซิฟิก เช่น ฟิลิบปินส์ เกาหลีใต้ และไต้หวัน (1986-1988) รวมถึงยุโรปตะวันออก ภายหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต  แนวคิด “คลื่นลูกที่สามประชาธิปไตย” มองว่า ระบอบปชต.ในประเทศต่างๆมีเกิดมีดับ ในขณะที่ ระบอบปชต.บางประเทศอาจอยู่ยงคงกระพัน สถาปนาขึ้นแล้วดารงอยู่ได้ต่อเนื่อง  ฮันติงตันถือว่า ระบอบการเมืองจะเป็นประชาธิปไตยได้ก็ต่อเมื่อผู้มีอานาจสูงสุดในการตัดสินใจเพื่อ ส่วนรวม ถูกเลือกขึ้นมาโดยกระบวนการเลือกตั้งที่สามารถไว้วางใจได้ว่ายุติธรรม และจะต้องมีการ เลือกตั้งตามกาหนดเวลา
  • 18. ใช้ คลื่นลูกที่สาม อธิบายการเปลี่ยนแปลงสู่ปชต.ในละติน อเมริกา (1980-1995)  ระหว่างปี 1980-1995 ลักษณะที่เกี่ยวข้องกับ democratisation ใน ละตินอเมริกา มี 3 ลักษณะ คือ ◦ การกลับมาสู่กระบวนการเป็นประชาธิปไตย (อาร์เจนตินา เคยเป็นประชาธิปไตยในช่วง ทศวรรษ 1960s และอุรุกวัย ในช่วงทศวรรษ 1970s) ◦ การเปิดเสรี (บราซิลก้าวเข้าสู่การเมืองเสรีนิยม และการเปิดกว้างในการเลือกตั้ง (หลังปี 1995)) ◦ การทาให้ประชาธิปไตยหยั่งราก (เม็กซิโก – รัฐบาลคลายการควบคุมการสั่งการจาก ส่วนกลางในปี 1995)
  • 19. ใช้ คลื่นลูกที่สาม อธิบายการเปลี่ยนแปลงสู่ปชต.ในละติน อเมริกา (1980-1995)  Mainwaring (1986) Huntington (1991) O’Donnell (1989) เสนอรูปแบบ การเปลี่ยนผ่านในละตินอเมริกา 4 รูปแบบ ◦ การยอมอ่อนข้อ – รัฐบาลที่ครองอานาจอยู่มองว่า การปรับเข้าสู่ปชต.เป็นประโยชน์สาหรับ ตนเอง โดยเปลี่ยนสู่ระบอบกึ่งปชต. (เม็กซิโก บราซิล กัวเตมาลา ฮอนดูรัส) ◦ การเจรจาต่อรอง – รัฐบาลที่ครองอานาจอยู่ตัดสินใจลาออก โดยรัฐบาลเหล่านี้ มีข้อผูกมัด/ สัญญาที่จะต้องฟังเสียงประชาชน เพื่อประกอบการตัดสินใจทางการเมือง (อุรุกวัย เปรู ชิลี และ เอล ซัลวาดอร์) ◦ การล่าถอย – รัฐบาลอานาจนิยมถูกโค่นอานาจโดยฝ่ายค้าน/ฝ่ายอื่นๆที่แตกแยกกันภายในขั้น รัฐบาล (อาร์เจนตินา เอกวาดอร์ โบลิเวีย) ◦ การแทรกแซง – อานาจภายนอกสนับสนุนให้เกิดระบอบปชต. เช่น สหรัฐแทรกแซงทางทหาร ในปานามา และเฮติ
  • 20. ใช้ คลื่นลูกที่สาม อธิบายการเปลี่ยนแปลงสู่ปชต.ในละติน อเมริกา (1980-1995)  เงื่อนไขที่ทาให้การเปลี่ยนผ่านสู่ปชต.รูปแบบต่างๆเกิดขึ้นมาได้ ◦ การที่กลุ่มสายปฏิรูปขึ้นมามีอานาจนาในรัฐบาล และพวกสายกลางขึ้นมามีอานาจใน ฝ่ายต่อต้าน ◦ การตกลงกันได้ว่า นโยบายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตต้องมาจากความเห็นชอบของทั้งสอง ฝ่าย ◦ การรับประกันว่า สถาบันที่กุมอานาจดั้งเดิม คือ สถาบันทหาร จะไม่ถูกละเมิดไม่ว่าใน กรณีใดๆ
  • 21. กรอบแนวคิดท.บ.การเปลี่ยนผ่าน และพลวัตปชต.ในละตินอเมริกา (1980-1995)  เงื่อนไขฯ ที่ทาให้มีการเปลี่ยนสู่ปชต. ได้แก่ 1) การที่ระบอบอานาจนิยมทหาร เดิมพยายามรักษาระเบียบทางการเมือง และความ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเชิงสถาบัน โดยทั่วไปผู้นาอานาจนิยมอยู่ได้ภายใต้ความชอบธรรม โดยเฉพาะ ความชอบธรรมที่ว่าพวกเขาเข้ามาแทรกแซงเพื่อป้ องกันภัยคอมมิวนิสต์ (อาร์เจนตินา อุรุกวัย ชิลี) แต่ความชอบธรรมนั้น จะถูกสั่นคลอนเมื่ออยู่ใน อานาจนานๆ และการที่สถาบันทหารเข้าไปพัวพันกับการเมือง (การจัดการ ทรัพยากรและประโยชน์)
  • 22. กรอบแนวคิดท.บ.การเปลี่ยนผ่าน และพลวัตปชต.ในละตินอเมริกา (1980-1995)  เงื่อนไขฯ ที่ทาให้มีการเปลี่ยนสู่ปชต. ได้แก่ 2) การที่รัฐบาลทหารไร้ความสามารถในการจัดการทางศก. ความชอบธรรมในการ ปกครองจึงลดลง ซึ่งมีผลโดยตรงต่อความร่วมมือของกลุ่มทุนเก่าและกลุ่มทุนใหม่ (ตามแนวคิดนี้ การ เดินขบวนเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลของประชาชน ไม่ได้ทาให้เกิดการเปลี่ยนผ่านระบอบ การปกครอง มันแค่ทาให้รัฐบาลทางานได้ยากลาบาก)
  • 23. กรอบแนวคิดท.บ.การเปลี่ยนผ่าน และพลวัตปชต.ในละตินอเมริกา (1980-1995)  เงื่อนไขฯ ที่ทาให้มีการเปลี่ยนสู่ปชต. ได้แก่ 3) แรงกดดันจากนานาชาติ ที่สนับสนุนปชต. โดยเฉพาะสหรัฐฯ ในกรณีของปานามา ฮอนดูรัส และกัวเตมาลา แรงกดดันทางทหารและเศรษฐกิจจาก สหรัฐอเมริกามีผลอย่างสาคัญต่อการเปลี่ยนผ่านสู่ปชต. (โดยเฉพาะในประเทศเล็กๆ)
  • 24. ปัญหาในการพัฒนาปชต.ในละตินอเมริกา  การพยายามลดบทบาทของฝ่ายทหาร ◦ เช่น การพิจารณาคดีที่ทหารละเมิดสิทธิมนุษยนชน (บางประเทศเช่น บราซิลในสมัย ของปธน.ลูลา ซึ่งใช้วิธีการนิรโทษกรรม แต่อาร์เจนตินาในสมัยของเคิร์ชเนอร์ ให้เข้าสู่ กระบวนการรับผิด) การเพิ่มหรือลดงบฯด้านการทหาร การยกเลิกเอกสิทธิคุ้มครอง ตามรธน. การยกเลิกอิสระในการจัดการบริหารองค์กร (เช่น การเลื่อนตาแหน่ง การ รายงานการปฏิบัติต่อรัฐสภา การจัดการงานด้านการข่าว-ความมั่นคง บทบาทของผบ. เหล่าทัพ-กรมกอง) ◦ ในกรณีของอาร์เจนตินา (1983-19989) ทหารก่อการปฏิวัติหลายครั้ง เพื่อลดทอน อานาจของรัฐบาลในการขยายวงการสอบสวนผู้นาในกองทัพที่พัวพันกับ “สงคราม สกปรก” (2519-2526) กดดันให้รัฐบาลเลิกล้มแผนปฏิรูปกองทัพ
  • 25. กลุ่มแม่แห่งพลาซา เดอ มาโย (the Mother of Plaza de Mayo) ใน ระหว่างการเดินขบวนรอบพลาซา เดอ มาโย ณ เมืองบัวโนส ไอเรส เมื่อเดือนธันวาคมปี 2009 (ภาพโดย แอนโทนิโอ คาสทิโย)
  • 26.  กองทัพในละตินอเมริกาอยู่ในสถานะที่พร้อมจะกลับมาสู่ศูนย์กลางอานาจทางการเมืองอีกครั้ง (หาก สภาพการณ์ยังเป็นอยู่อย่างเดิม คือ การเพิกเฉยต่อการนาทหารเข้าสู่กระบวนการไต่สวน การไม่ปรับ ลดงบประมาณทหารอย่างจริงจัง การที่รัฐสภาไม่มีอานาจตรวจสอบกองทัพ การเปิดให้อิสระกับ กองทัพเต็มที่ในการบริหาร รวมถึงการอนุญาตให้มีการระงับสิทธิพลเรือน-ประกาศกฎอัยการศึกใน บางกรณี โดยอ้างเอกสิทธิตามรธน.)
  • 27. ปัญหาในการพัฒนาปชต.ในละตินอเมริกา  ระบบพรรคการเมืองและการเมืองแบบตัวแทน ◦ โดยทั่วไปใช้ระบบปธน. โดยการสนับสนุนจากพรรคร่วมรัฐบาล หรือโดยหลักเสียงข้าง มากในการลงคะแนนเสียงรอบสอง ◦ ในประเทศละตินอเมริกาส่วนใหญ่ จวบจนถึงปี 1997 พรรคการเมืองยังไม่ได้มีบทบาท โดดเด่น เนื่องจาก  พรรคที่ครองอานาจในประเทศเหล่านั้น บางพรรคเกิดจากการก่อตั้งโดยรัฐ (จึงมีลักษณะรวม ศูนย์ เป็นบรรษัทนิยม คอรัปชั่น ไม่เป็นปชต.)  พรรคฯไม่ผูกพันกับอุดมการณ์ตายตัว เพียงแต่หยิบยืมภาษาและชุดความคิดมาใช้  การรับบุคคลเข้าร่วมพรรคการเมืองมักไม่ได้ทาในนามพรรค ตาแหน่งผู้นาพรรคตกเป็นของ นายพลปลดเกษียณ ผู้นาทางปัญญา และนักธุรกิจที่มีความทะเยอทะยาน
  • 28.  กรณีของเวเนซูเอลา ก่อนที่ชาเวซจะขึ้นครองอานาจ... ◦ พรรคการเมืองหลักสองพรรค “แพแตก” ◦ ผู้ลงคะแนนเสียงผิดหวังในพรรคการเมือง ที่ไม่ทาตามสัญญาที่ให้กับผู้เลือกตั้ง – ไม่ผลักดัน นโยบาย-แผนงาน ที่ให้ผลประโยชน์แก่พวกเขา ◦ สภาและปธน.ไม่สามารถประนีประนอมทางความเห็น ◦ พรรคการเมืองไม่สามารถสะท้อนความต้องการของผู้เลือกตั้งผ่านนโยบายได้ ◦ พรรคการเมืองฝ่ายซ้ายไร้อานาจ ◦ http://en.wikipedia.org/wiki/Bolivarianism
  • 29. ปัญหาในการพัฒนาปชต.ในละตินอเมริกา  การทุจริตคอรรัปชั่นในวงการเมือง ◦ ผู้นาหลายประเทศถูกกล่าวหาว่าพัวพันกับการคอรัปชั่น ในทศวรรษที่ 1990 ส่งผลให้ เกิดวิกฤตศรัทธาของประชาชนต่อระบอบการปกครองแบบปชต. และกีดขวางการพัฒนา ปชต.ของประเทศ ◦ กรณีคอรัปชั่นในละตินอเมริกาอยู่ในระดับน่าตกใจ ทั้งแง่จานวนคดี และแง่ที่มันพัวพัน กับสถาบันหลักของรัฐ
  • 30. บทบาทของอเมริกาต่อ ประชาธิปไตย ในละตินอเมริกา  ในเอกสารระดับสูงชิ้นแล้วชิ้นเล่า นักวางแผนของสหรัฐอเมริกา แสดงทัศนะว่า ภัยคุกคามอันดับแรกต่อ ระเบียบโลกใหม่ คือ ลัทธิชาตินิยมของประเทศโลกที่สาม ที่ตอบสนองต่อ “ข้อเรียกร้องของประชาชนให้มีการ ปรับปรุงมาตรฐานชีวิตที่ต่าของมวลชนส่วนใหญ่ในทันที” รวมทั้งการผลิตเพื่อสนองความจาเป็น ภายในประเทศ  สหรัฐฯ จับมือกับกองทัพ ซึ่งเป็น “กลุ่มทางการเมืองในละตินอเมริกาที่ต่อต้านอเมริกันน้อยที่สุด” (ตามที่นัก วางแผนของจอห์น เอฟ เคนเนดี้ว่าไว้) เพื่อใช้กองทัพบดขยี้กลุ่มมวลชนพื้นเมืองที่หลุดรอดจากการควบคุม  สหรัฐฯ เต็มใจยินยอมให้เกิดการปฏิรูปทางการเมือง ต่อเมื่อสิทธิของชนชั้นแรงงานถูกกดไว้ และยังรักษา บรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุนจากต่างชาติ (ตัวอย่างเช่น ในคอสตาริกา)  รัฐบาลในระบอบรัฐสภาถูกกีดกันหรือล้มล้างด้วยการหนุนหลังของสหรัฐอเมริกา และบางครั้งก็ใช้การ แทรกแซงโดยตรง (ในกัวเตมาลา (1954) ในโดมินิกัน (1963) ในบราซิล (1964) ในชิลี (1973) เป็นต้น  http://www.youtube.com/watch?feature=player_embedded&v=7a9Syi12RJo#!
  • 31. เอกสารหลัก  Cammack, Paul. 1997. "Democracy and Dictatorship in Latin America, 1930-80." In Democratization, eds. David Potter, David Goldblatt, Margaret Kiloh and Paul Lewis. Cambridge: Polity Press.  Little, Walter. 1997. "Democratization in Latin America, 1980-95." In Democratization, eds. David Potter, David Goldblatt, Margaret Kiloh and Paul Lewis. Cambridge: Polity Press.  ภัควดี วีระภาสพงษ์ (แปล) Noam Chomsky (เขียน). 2544. อเมริกาอเมริกาอเมริกา วิพากษ์นโยบาย ต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (What Uncle Sam Really Wants). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีม ทอง.