SlideShare a Scribd company logo
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
     พุทธศักราช 2554 – 2557




           โรงเรียนบ้านกาเนะ
สานักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
             ้
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
         กระทรวงศึกษาธิการ
2




                                 ประกาศโรงเรียนบ้านกาเนะ
              เรื่อง การให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 4 ปี
                                   ของโรงเรียนบ้านกาเนะ



        เพื่อให้การจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านกาเนะ สอดคล้องกับมาตรฐานและการประกัน
คุณภาพการศึกษา แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่
2) พ.ศ. 2545
         ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 38 มาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านกาเนะ
จึงได้มีมติเห็นชอบให้สถานศึกษาดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 4 ปี ของ
โรงเรียนบ้านกาเนะได้
        ทั้งนี้แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 4 ปี ของโรงเรียนบ้านกาเนะได้รับความเห็นชอบ
จากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานครั้งที่ 5/2554 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน
พุทธศักราช 2554

                              ประกาศ ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2554



                 สุชาติ หลงโซ๊ะ                            มนตรี จรียานุวัฒน์
               (นายสุชาติ หลงโซ๊ะ)                       (นายมนตรี จรียานุวัฒน์)
         ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น           ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านกาเนะ
                     พื้นฐาน
3

                                            คานา

         ตามบทบัญญัติในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546 กาหนดว่า การบริหารราชการจะต้องวางแผนโดยกาหนดระยะเวลา ขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน งบประมาณ เป้าหมาย และตัวชี้วัด จัดให้มีการประเมินและตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่
ให้มีการพัฒนา องค์ความรู้ภายในองค์กรอย่างสม่าเสมอและให้ทุกส่วนราชการปฏิบัติตามแผนที่
กาหนด ซึ่งโรงเรีย นเป็ นส่วนราชการตามบทบัญญัติใ นพระราชบัญญัติระเบีย บบริหารราชการ
กระทรวงศึ ก ษาธิก าร พ.ศ.2546 และมีรายละเอียดภารกิ จที่ต้องปฏิบัติก าหนดไว้ใ นประกาศ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การกระจายอานาจการบริหารและการจัด
การศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปยังคณะกรรมการ สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2550 พร้อม
ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ก ารจั ด ท าและการบริ ห ารแผนพั ฒ นาการศึ ก ษาประกอบกั บ กฎกระทรวง
ศึกษาธิการ ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ได้กาหนดให้โรงเรียน
จั ด ท าแผนพั ฒ นาการจั ด การศึ ก ษาที่ มุ่ ง คุ ณ ภาพตามมาตรฐานการศึ ก ษา พร้ อ มทั้ ง ก าหนด
องค์ประกอบของแผนพัฒนาการจัดการศึกษาไว้ในข้อ 16 โรงเรียนบ้านกาเนะ จึงจัดทาแผนพัฒนา
การจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี คือ ปีการศึกษา 2554-2557 นี้ขึ้น เพื่อเป็นกรอบทิศทางการพัฒนา
คุณภาพการศึก ษาตามภารกิ จและตามต้องการของผู้ปกครองและชุมชนกาหนด โดยผ่านความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
         ขอขอบคุ ณคณะผู้จัดท า คณะครู นักเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ ยวข้องทุกฝ่ายที่อานวยความ
สะดวกในการจัดทา และร่วมดาเนินการจนแผนพัฒนาการจัดการศึกษาฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี


                                                                         คณะผู้จัดทา
4

                                           สารบัญ
             เรื่อง                                                  หน้า
ประกาศของสถานศึกษา
คานา
ส่วนที่ 1 บทนา                                              5
ส่วนที่ 2 ทิศทางของสถานศึกษา                                    12
ส่วนที่ 3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งการเรียนรู้                        24
ส่วนที่ 4 บทบาทของผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง              28
ส่วนที่ 5 แนวทางการติดตาม วัดและประเมินผล                              43
ภาคผนวก
การวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอก
คณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
5

                                            ส่วนที่ 1
                                             บทนา

สภาพทั่วไป
                   โรงเรียนบ้านกาเนะ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 1 ตาบลบ้านควน อาเภอเมือง จังหวัดสตูล
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านกาเนะ สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 1
มกราคม พ.ศ. 2484 โดยคณะผู้ปกครอง นักเรียน และราษฎรในหมู่บ้านช่วยกันสร้าง และให้
ชื่อว่าโรงเรียนบ้านกาเนะ ซึงแปลว่า ต้นชะมวง ในปีแรกใช้อาคารเรียนชั่วคราวเป็นที่ทาการสอน
                              ่
มีนักเรียนทั้งหมด 41 คน ชาย 21 คน หญิง 20 คน ผู้บริหารคนแรกชื่อ นายวิสุทธิ์ สนหละ
                   ที่ดินของโรงเรียนเดิมมี 4 ไร่เศษ ต่อมาทางแขวงการทางสตูล โดยอธิบดีกรม
ทางหลวงได้อนุญาตและมอบที่ดิน ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือของโรงเรียนจานวนเกือบ 3 ไร่ ปัจจุบัน
โรงเรียนมีที่ดินทั้งสิ้น 6 ไร่ 3 งาน 14.20 ตารางวา

อาคารเรียนอาคารประกอบ
             1. อาคารเรียนแบบ สปช. 2 / 28 จานวน 1 หลัง 18 ห้องเรียน ได้มาโดย
งบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อ พ.ศ. 2549 ( สร้าง 2549 – 2551 )
             2. อาคารเรียนชั่วคราว จานวน 2 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2548
             3. อาคารโรงฝึกงาน 312 จานวน 1 หลัง
             ส้วมแบบ สปช 601/26 จานวน 1 หลัง 4 ที่นั่ง
             อาคารคอมพิวเตอร์และห้องสมุด จานวน 1 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2548
             จานวนนักเรียนทั้งหมด 193 คน จานวน 8 ห้องเรียน ครู 10 คน พนักงาน
ราชการ 1 คน พนักงานบริการ 1 คน เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สภาพทั่วไปของชุมชน
                    ชื่อตาบลบ้านควน มาจากภาษามาลายู ที่แปลว่า เนิน หรือ ควน คือคาว่ากวัะ
คือพื้นที่หมู่ที่ 5 ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นหมู่บ้านเดียวที่อยู่บนเนินสูง แต่เนื่องจากตาแหน่งกานันซึ่งอยู่
ในพื้นที่หมู่ที่ 5 เมื่อมีการจัดตั้งตาบล กานันซึ่งเอาชื่อพื้นที่หมู่ที่ 5 เป็นหลักและได้แปลภาษา
มาลายูจากคาว่า กาปงกวัะ เป็นบ้านควน ปัจจุบันมีทั้งหมด 7 หมู่บ้าน ซึ่งโรงเรียนบ้านกาเนะ
6

ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ของตาบลบ้านควน มีเขตบริการของโรงเรียน คือ หมู่ที่ 1 บ้านลูโบ๊ะบาตู หมู่ที่ 4
และหมู่ที่ 2 ตาบลเกตรี สภาพทั่วไป พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม มีลักษณะดินร่วนปนทราย ประชากร
ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร มีอาชีพหลักคือ ทาสวนทาไร่ ทานา อาชีพเสริมคือรับจ้างและ
ค้าขาย มีฐานะยากจน

ด้านคมนาคมและสาธารณูปโภค

                ตั้งอยู่บนเส้นทางระหว่างหาดใหญ่ – สตูล       ก่อนเข้าอาเภอเมืองสตูล   8
กิโลเมตร เขตบริการของโรงเรียนมี 3 จุด คือหมู่ที่ 1 บ้านลูโบ๊ะบาตู ถนนลูกรังประมาณ 1 - 3
กิโลเมตร หมู่ที่ 2 บ้านหัวหยอ ถนนลาดยางประมาณ 1 กิโลเมตร ต่อด้วยถนนลูกรังประมาณ
2 - 3 กิโลเมตร หมู่ที่ 4 บ้านบอกอเลาะ ถนนลาดยางประมาณ 500 เมตร ต่อด้วยถนนลูกรัง
500 เมตร ถึง 1 กิโลเมตร ระบบสาธารณูปโภค มีไฟฟ้าใช้ประมาณร้อยละ 95 ครัวเรือน
ลักษณะภูมิอากาศ
                สภาพภูมิประเทศของจังหวัดติดกับฝังทะเล ซึ่งมีอุณหภูมิพอเหมาะ โดยทั่วไป
ความชื้นฝนตกชุกมีเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูฝนอยู่ในช่วงเดือนมิถุนายน – มกราคมและฤดูร้อนอยู่
ในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม อุณหภูมิเฉลี่ย 28.0 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์
เฉลี่ย 80 % ปริมาณน้าฝนตกเฉลี่ย 2215.4 มิลลิเมตร เฉลี่ยวันละ 6.5 มิลลิเมตร

ผลงานที่ประสบความสาเร็จ

                1. โรงเรียนจัดการเรียนการสอนโดยใช้ห้องสมุดเป็นฐาน และบริหารจัดการ /
พัฒนาห้องสมุดให้มีชีวิต ส่งผลให้รับรางวัลห้องสมุดยอดเยี่ยมระดับเขตพื้นที่การศึกษาสตูล และ
ห้องสมุดยอดเยี่ยมระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2549 – 2551 )
                2. บริหารจัดการให้มีระบบประกันคุณภาพภายในและรองรับการประเมิน
                    คุณภาพ
ภายนอก ผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง ปี 2550 มีคุณภาพและมาตรฐาน ของ สมศ.
ระดับยอดเยี่ยม
                3. โรงเรียนดาเนินการจัดระบบการเงิน บัญชี และพัฒนาได้อย่างเป็นระบบ
ประจาปี 2550
                4. โรงเรียนดีเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรม ระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสตูล
ประจาปี 2551
7

                5. ครูบรรณารักษ์ยอดเยี่ยม ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประจาปี 2551
                6. โรงเรียนดาเนินการจัดระบบการเงิน บัญชี และพัฒนาได้อย่างเป็นระบบ
ประจาปี 2550
                7.โรงเรียนที่ดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนระดับดีมากประจาปี
การศึกษา 2551
                8. ผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นขนาดกลาง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประจาปีการศึกษา
2551
                9. ข้าราชการดีเด่นระดับประเทศ ประจาปี 2552
                10. ครูดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ที่ 1 ระดับกลุ่มเครือข่ายเมืองสตูล 1
                11. ครูดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ที่ 2 ระดับกลุ่มเครือข่ายเมือง
สตูล 1
                 12.บริหารจัดการการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนและบุคลากรผลได้รับการ
ประเมินจากสาธารณสุขจังหวัดสตูล รับรางวัลส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง
                 13. จัดการเรียนการสอนให้นักเรียนทุกคนได้เรียนคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ชั้นอนุบาล-
ป. 6 สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง ผลการบริหารจัดการ นักเรียนมีความรู้ทักษะทางคอมพิวเตอร์ตาม
ระดับชั้น
                 14. พัฒนา/ปรับภูมิทัศน์ โรงเรียน สวยงาม สะอาด ร่มรื่น
                 15. นักเรียนมีคุณธรรม และ สะสมความดี โดยฝากไว้กับธนาคารความดี
                 16. โรงเรียนจัดกิจกรรมเขตปลอดขยะ ผลการดาเนินงาน นักเรียนไม่ทิ้งขยะ
โรงเรียนไม่มีขยะ และนักเรียนทุกคนเฝ้าระวังขยะเขตของตนเอง
                 17. การวัดผลประเมินผลใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการคิดคานวณคะแนน โดย
จัดทาโปรแกรม ปพ.1 ,ปพ. 4 , ปพ. 5 , ปพ. 6 และ ปพ. 7 ทุกชั้นเรียน เมื่อจบชั้นเรียนสามารถส่ง
ข้อมูลให้ครูประจาชั้นถัดไป ส่งผลให้ครูมีข้อมูลนักเรียนในแบบ ปพ. ต่าง ๆ โดยไม่ต้องกรอกซ้า
อีก และง่ายต่อการออกเอกสารให้กับนักเรียนเป็นรายบุคคล
                 18. ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วนในการระดมทุนเพื่อใช้ในการบริหาร
จัดการ เช่นระดมทุนค่าไฟฟ้าปีละ 40,000 บาท (ไม่ใช้งบทางราชการ)
                 19. โรงเรียนส่งนักกีฬา ปิงปอง แข่งขันระดับเครือข่ายเมืองสตูล 1 ได้รับรางวัล
เหรียญเงิน
                 20. โรงเรียนส่งนักกรีฑา อายุไม่เกิน 10 ปี แข่งขันระดับเครือข่ายเมืองสตูล 1
ได้รับรางวัลเหรียญทอง 2 เหรียญ
8

                21. เด็กหญิงรัศมีจันทร์ เสาวคนธ์ ได้รับรางวัลที่ 3ในการประกวดเรียงความตาม
นโยบาย 3ดี
                 22. เด็กหญิงสุดา สาลีหมีน ได้รับรางวัลชมเชย ในการประกวดการแข่งขันเขียน
เรื่องจากภาพ ช่วงชั้นที่ 2
                 23. โรงเรียนดีเด่น/ผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นปี 2552 ระดับเขตพื้นที่การศึกษาสตูล

                                     ข้อมูลนักเรียน
                                    ปีการศึกษา 2553

                                         เพศ
         ระดับชั้น                                               รวม                 ร้อยละ
                                  ชาย            หญิง
       อนุบาล 1                   11              15              26
       อนุบาล 2                    9               6              15
         รวม                      20              21              41                  21.24
    ประถมศึกษาปีที่ 1             12              15              27
    ประถมศึกษาปีที่ 2             16              16              32
    ประถมศึกษาปีที่ 3             14              11              25
    ประถมศึกษาปีที่ 4             10              16              26
    ประถมศึกษาปีที่ 5             13               7              20
    ประถมศึกษาปีที่ 6             12              10                   22

        รวม                        77             75                   152            78.26
รวมจานวนนักเรียนทั้งหมด            97             96                   193             100
9

                                  ข้อมูลบุคลากรโรงเรียนบ้านกาเนะ
                                                                              ประสบการณ์
 ที่         ชื่อ - ชื่อสกุล       อายุ/ปี   ตาแหน่ง      วุฒิ     วิชาเอก                      สอนชั้น/วิชา
                                                                                การสอน
1.     นายมนตรี จรียานุวัฒน์         43      ผู้บริหาร   ศศ.ม.   ประถมศึกษา       19       บริหาร
2.     นางมาเรียม แหล่ทองคา          56          ครู      คบ.      ปฐมวัย         29       อนุบาล 1
3.     นางอัมภณรัตน์ ปะลาวัน         52          ครู      คบ.    ประถมศึกษา       31       อนุบาล 2
4.     นางชุมาพร หาโส๊ะ              46          ครู     ศษ.บ.   ประถมศึกษา       24       ประจาชั้นประถมศึกษาปี
                                                                                           ที่ 1
5.     นางศุภวรรณ ตั้งวรางกูร        51         ครู      คบ.      สุขศึกษา        28       ประจาชั้นประถมศึกษาปี
                                                                                           ที่ 2
6.     นางเพ็ญนภา ปานรงค์            55         ครู      คบ.     ประถมศึกษา       37       ประจาชั้นประถมศึกษาปี
                                                                                           ที่ 3
7.     นางวลัยพร เจริญผล             56         ครู      คบ.     ประถมศึกษา       33       ประจาชั้นประถมศึกษาปี
                                                                                           ที่ 4
8.     นางเจียมจิตร อนุวัฒนวงศ์      52         ครู      คบ.      ภาษาไทย         33       ประจาชั้นประถมศึกษาปี
                                                                                           ที่ 5
9.     นายสุรพล มาศภูมิ              47         ครู      วท.บ.   เกษตรศึกษา       20       ประจาชั้นประถมศึกษาปี
                                                                                           ที่ 6
10.    นางบุญตา ยากะจิ               43         ครู      คบ.     ภาษาอังกฤษ       19       ป.1 – 6 ภาษาอังกฤษ
11.    นางยุวนิตย์ ช่างสาน           47         ครู      กศ.ม.    การบริหาร       24       ป.1 – 6 คอมพิวเตอร์
                                                                   การศึกษา
12.    นางสาวสุชาดา เหล่             48      พนักงาน     คบ.     ประถมศึกษา       27       ป.1 – 6 ศาสนา
       ทองคา                                  ราชการ
13.    นายสะอาด อาดา                 56      พนักงาน      ป.4         -                    บริการทั่วไป
                                              บริการ
10

                   คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านกาเนะ


      ที่              ชื่อ - สกุล                  ตาแหน่ง                     หมายเหตุ
      1.        นายสุชาติ หลงโซ๊ะ                   ประธาน               ผู้ทรงคุณวุฒิ
                                                    กรรมการ
      2.        นายรอหีม กาสา                       กรรมการ               ผู้ทรงคุณวุฒิ
      3.        นายกูมาแอ สตอหลง                    กรรมการ               ผู้แทนผู้ปกครอง
      4.        นายอับดุลมานับ หลงหัน                                     ผู้แทนองค์กร
                                                    กรรมการ
                                                                          ปกครองส่วนท้องถิ่น
      5.        นายดอล๊ะ กาสา                                             ผู้แทนศิษย์เก่าผู้แทน
                                                    กรรมการ
                                                                          องค์กรศาสนา
      6.        นายอัสนหลี อุเส็น                   กรรมการ               ผู้แทนองค์กรศาสนา
      7.        นางสาวมานิจ บัวดวง                  กรรมการ               ผู้แทนองค์กรชุมชน
      8.        นางมาเรียม แหล่ทองคา                กรรมการ               ตัวแทนครู
      9.        นายมนตรี จรียานุวัฒน์             กรรมการและ              ผู้บริหารโรงเรียน
                                                   เลขานุการ

สภาพปัญหาปัจจุบัน
          ภาพโดยทั่วไป ครอบครัวทางบ้านยากจน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการทานา
รับจ้างทั่วไป วิถีชีวิตของผู้คนในชุมชน ส่วนใหญ่ขาดประสบการณ์ ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
ชีวิต ขาดความหวังที่ได้รับสิ่งตอบแทนจากการศึกษา เด็กส่วนใหญ่ถูกเลี้ยงดูตามยถากรรม ไม่มีการ
วางแผนชีวิต มีปัญหายาเสพติด การใช้แรงงานเด็ก การละเมิดสิทธิเด็กและสตรี สภาพทั่วไป ไม่
เอื้ออานวยให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียน ทิศทางของการศึกษาจึงมุ่งให้นักเรียน
สามารถประกอบอาชีพได้ และสร้างภูมิคุ้มกันปัญหาสังคม
11

                           การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก


                      โอกาส                                        อุปสรรค
1.   ประชาชนยึดมั่นในหลักธรรมคาสอนของ         1.   ผู้ปกครองมีฐานะยากจน ทางานหาเช้ากิน
     ศาสนาอย่างเคร่งครัด                           ค่า ไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่บุตรหลาน
2.   ประชาชนสามัคคีช่วยเหลือซึ่งกันและกัน     2.   ผู้ปกครองมีการย้ายถิ่นฐาน ครอบครัว
     และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข                  แตกแยกหย่าร้างทาให้ส่งผลกระทบต่อการ
3.   มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับสังคม        จัดการศึกษา
     และวัฒนธรรมหลากหลายสามารถใช้เป็น         3.   สื่อเทคโนโลยีที่ส่งเสริมในการจัด
     แหล่งเรียนรู้ได้                              การศึกษามีน้อย
4.   รัฐบาลมีพระราชบัญญัติการศึกษา และ        4.   มีบุคคลในชุมชนที่สามารถเป็นแบบอย่าง
     นโยบายที่ส่งเสริมการจัดการศึกษาอย่าง          และแรงจูงใจในการศึกษาต่อในระดับสูง
     ชัดเจนและเป็นรูปธรรม เช่น มีนโยบาย            ขึ้นน้อย
     เรียนฟรี 15 ปี                           5.   ชุมชนมีความเสี่ยงในด้านยาเสพติดและ
5.   องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การ                การพนัน
     สนับสนุนในการจัดการศึกษา                 6.   กฎหมาย/ระเบียบ ว่าด้วยการลงโทษ
6.   คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความร่วมมือ             นักเรียนไม่เอื้อให้โรงเรียนลงโทษนักเรียน
     ในการจัดการศึกษา                              ได้อย่างเต็มที่
                                              7.   มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลบ่อยทาให้การจัด
                                                   การศึกษาไม่ต่อเนื่องและไม่เป็นไปใน
                                                   ทิศทางเดียวกัน
12

                            การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน


                      จุดแข็ง                                        จุดอ่อน
1.    โรงเรียนมีโครงสร้างการบริหารชัดเจนเป็น   1.    ครูขาดทักษะในการใช้สื่อและเทคโนโลยี
      ระบบ                                     2.    ครูมีภาระงานนอกเหนือจากการเรียนการ
2.    โรงเรียนมีการบริหารจัดการเน้นการมีส่วน         สอนมาก
      ร่วมของชุมชนผู้ปกครอง นักเรียน และครู    3.    มีการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.    โรงเรียนมีแผนปฏิบัติงาน ในการ                  มาใช้เพื่อการเรียนการสอนน้อย
      ดาเนินงานอย่างชัดเจน                     4.    การเบิกจ่ายเงินไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติ
4.    โรงเรียนมีหลักสูตรที่สอดคล้องกับความ           งาน
      ต้องการของผู้เรียนและสภาพชุมชน           5.    ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ชารุด ใช้การไม่ได้
5.    มีการมอบหมายงาน ตรงตามความรู้และ         6.    แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ไม่ได้นามาใช้เกิด
      ความสามารถของครู                               ประโยชน์อย่างคุ้มค่า
6.    ครูมีความรัก สามัคคี ทางานเป็นทีม        7.    นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่า
7.    ครูมีความรู้ความสามารถตรงตามสาขา         8.    นักเรียนขาดเรียน
      วิชาเอกและความถนัด                       9.    นักเรียนไม่มีสุขนิสัยในการดูแลตนเอง
8.    ครูมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง         10.   นักเรียนไม่มีนิสัย ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
9.    สื่อและวัสดุ อุปกรณ์การเรียนการสอนมี           ขาดทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
      เพียงพอ                                  11.   นักเรียนขาดทักษะการคิดวิเคราะห์
10.   โรงเรียนมีงบประมาณเพียงพอในการ           12.   นักเรียนไม่หวงแหนทรัพย์สมบัติของ
      ดาเนินงานเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน              ส่วนรวม
11.   โรงเรียนมีสื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
12.   การบริหารด้านงบประมาณโปร่งใสและ
      สามารถตรวจสอบได้
13.   นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับ
      วัย
14.   ผู้บริหารมีความรู้ความสามารถ คุณธรรม
      จริยธรรม และมีภาวะความเป็นผู้นา
13

                                      ส่วนที่ 2
                                ทิศทางของสถานศึกษา

                สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา         ได้รับ
สถานภาพเป็นนิติบุคล โดยบทบัญญัติในมาตรา 35 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 คือ
                สถานศึกษาสามารถจัดกิจการต่าง ๆได้ด้วยตนเองภายในขอบเขตวัตถุประสงค์ มี
สิทธิและหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์และกฎหมายอื่น ซึ่งกาหนดสิทธิและหน้าที่ของสถานศึกษาไว้เป็นการ
เฉพาะ
                ความเป็นนิติบุคคลของสถานศึกษา นอกจากจะต้องดาเนินการตามวัตถุประสงค์
ของการจัดตั้งสถานศึกษา ยังมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายกาหนด ทั้งกฎหมายว่าด้วยการศึกษา
แห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายว่าด้วยระเบียบ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและกฎหมายอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง
                ดังนั้นสถานศึกษาจะดาเนินการต่างๆได้ ต้องอยู่ในกรอบของอานาจและหน้าที่
ตามกฎหมายและวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษาเท่านั้น ซึ่งเป็นอานาจหน้าที่ของส่วนราชการ
นั้น โดยได้กาหนดให้มีผู้อานวยการสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการ และมีอานาจ
หน้าที่ในการบริหารกิจการของสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของ
ทางราชการ รวมทั้งนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
                ในการดาเนินกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก มาตรา 39 แห่งกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดให้ผู้อานวยการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น
ผู้แทนของสถานศึกษาในกิจการทั่วไป รวมทั้งการจัดทานิติกรรมสัญญาในนามของสถานศึกษา
ตามวงเงินงบประมาณที่สถานศึกษาได้รับมอบหมาย            หรือตามระเบียบการบริหารการเงินของ
สถานศึกษา เป็นต้น ฉะนันผู้อานวยการสถานศึกษาซึ่งมีฐานะเป็นผู้แทนนิติบุคคล เช่นเดียวกับ
                           ้
มหาวิทยาลัยที่กาหนดอานาจหน้าที่อธิการบดี ให้เป็นผู้แทนของมหาวิทยาลัยในกิจการทั่วไป ซึ่ง
มีฐานะเป็นผู้แทนนิติบุคคล ตามสภาพที่กฎหมายกาหนด
                อานาจหน้าที่ของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้วางระเบียบให้
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นนิติบุคคล ถือปฏิบัติ และมีอานาจหน้าที่ดังนี้
                1. ให้สถานศึกษามีวัตถุประสงค์และอานาจหน้าที่เพื่อจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม
กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
14

                 2. กิจการทั่วไปของสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้อานวยการ
สถานศึกษาเป็นผู้แทนของนิติบุคคลสถานศึกษา
                 3. ให้สถานศึกษามีอานาจปกครอง ดูแล บารุง รักษา ใช้และจัดทาประโยชน์
จากทรัพย์สินที่มีอยู่อุทิศให้แก่สถานศึกษาเว้นแต่การจาหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่มีผู้อุทิศให้แก่
สถานศึกษา ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อจาหน่าย
อสังหาริมทรัพย์แล้ว           ให้สถานศึกษารายงานให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทราบ
โดยเร็ว
                 4. ในกรณีที่จะต้องจดทะเบียนสิทธิขึ้นทะเบียน หรือดาเนินการทางทะเบียนใด
ๆเกี่ยวกับทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้แก่สถานศึกษา    ให้สถานศึกษาสามารถดาเนินการตามทะเบียน
ดังกล่าวได้ ในนามนิติบุคคลสถานศึกษา
                 5. ในกรณีสถานศึกษาถูกฟ้องคดี ให้สถานศึกษารายงานให้สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษา เพื่อแจ้งให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทราบ เพื่อดาเนินการแต่งตั้ง
ผู้รับผิดชอบดาเนินคดีโดยเร็ว
                 6. สถานศึกษาจะมีอิสระในการบริหารงบประมาณ ในส่วนของที่ตั้งไว้สาหรับ
สถานศึกษาตามที่ได้กาหนดวงเงินและได้รับมอบอานาจจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน และผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามหลักเกณฑ์ที่เลขาธิการคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด ยกเว้นงบประมาณในหมวดเงินเดือน
                 7. สถานศึกษามีอิสระในการบริหารจัดการเกี่ยวกับพัสดุ ในส่วนที่อยู่ในความ
ดูแลรับผิดชอบ หรืออยู่ในวงเงินงบประมาณที่ได้รับมอบตามหลักเกณฑ์ในข้อ 6 ตามหลักเกณฑ์
ที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                 8. การรับเงินบริจาคหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้สถานศึกษา รับบริจาคตาม
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ทางราชการ และตาม
หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนด
                 9. การบริหารจัดการเกี่ยวกับการเงินและบัญชีของสถานศึกษา ให้เป็นไปตาม
ระเบียบที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศกาหนด
                 10. ให้สถานศึกษาจัดทาบัญชี แสดงรายรับ จ่ายเงินและทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้
ตามข้อ 3 โดยเป็นหลักฐานและสรุปรายการบัญชีทรัพย์สินดังกล่าว รายงานให้ผู้อานวยการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่สถานศึกษาสังกัดทราบทุกสิ้นปีงบประมาณ
                 11. การบริหารบุคคลของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดใน
กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
15

นโยบายการศึกษา ( รัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ )

                  1. ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริหารจัดการ ปรับปรุง
กฎหมายให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ และระดมทรัพยากรเพื่อการปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษา
ตั้งแต่ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา พัฒนาครู พัฒนาระบบการคัดเลือกเข้าสู่
มหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตร รวมทั้งปรับหลักสูตรวิชาแกนหลักรวมถึงวิชาประวัติศาสตร์
ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ ปรับบทบาทการศึกษานอกโรงเรียน
เป็นสานักงานการศึกษาตลอดชีวิต และจัดให้มีศูนย์การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสม
ในแต่ละ พื้นที่ ตลอดจนส่งเสริมการกระจายอานาจให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
เพื่อ นาไปสู่เป้าหมายคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นคุณธรรมนาความรู้ อย่างแท้จริง
                  2. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ โดยมุ่งเน้น
ในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อให้สนองตอบความต้องการด้านบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ
                  3. พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรม
มีคุณภาพ และมีวิทยฐานะสูงขึ้น ลดภาระงานครูที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนตามโครงการคืนครู
ให้นักเรียน มีการดูแลคุณภาพชีวิตของครูด้วยการปรับโครงสร้างหนี้และจัดตั้งกองทุนพัฒนา
คุณภาพชีวิตครู ควบคู่ไปกับการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เน้นการพัฒนาเนื้อหาสาระและ
บุคลากรให้พร้อมรองรับและใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างคุ้ม ค่า
                  4. จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึง
มัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและ
ความเป็น ธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรในกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทั้งผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือ
ทุพพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากลาบาก ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติปัญญา และชนต่างวัฒนธรรม
รวมทั้งยกระดับการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน
                  5. ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่
ความเป็นเลิศ โดยการจัดกลุ่มสถาบันการศึกษาตามศักยภาพ ปรับเงินเดือนค่าตอบแทนของผู้สาเร็จ
การศึกษาระดับอาชีวศึกษาให้สูงขึ้น โดยภาครัฐเป็นผู้นาและเป็นแบบอย่างของการใช้ทักษะ
อาชีวศึกษาเป็นเกณฑ์กาหนด ค่าตอบแทนและความก้าวหน้าในงาน ควบคู่กับการพัฒนาองค์
ความรู้และนวัตกรรมด้วยการเพิ่มขีดความสามารถด้านการ วิจัยและพัฒนา
                  6. ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ให้มีการ
ประนอมและไกล่เกลี่ยหนี้ รวมทั้งขยายกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเพิ่มขึ้นเพื่อให้ประชาชนมี
โอกาสใน การเข้าถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและปริญญาตรีเพิ่มขึ้น
16

                 7. ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
เชิงสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้
                 8. เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้อย่างบูรณาการในทุกระดับ
การศึกษา และในชุมชน โดยใช้พื้นที่และโรงเรียนเป็นฐานในการบูรณาการทุกมิติ และยึดเกณฑ์
การประเมินของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เป็นหลักในการยกระดับ
คุณภาพโรงเรียนที่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน และส่งเสริมความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็น
ศูนย์กลางทางการศึกษาและ วิจัยพัฒนาในภูมิภาค รวมทั้งเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิตในชุมชน โดยเชื่อมโยงบทบาทสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และสถาบัน
ทางศาสนา

นโยบายการจัดศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

               1. วิสัยทัศน์
              กระทรวงศึกษาธิการเป็นองค์กรหลักที่มุ่งจัดและส่งเสริมการศึกษาให้ประชาขนมี
คุณธรรมนาความรู้ มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเสริมสร้าง
สังคม คุณธรรมพัฒนาสังคมฐานความรู้และยืนหยัดในเวทีโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย
               2. พันธกิจ
              เร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาเพื่อเสริมสร้างโอกาสในการศึกษาให้แก่ประชาชน โดย
ยึดหลักธรรมนาความรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและ
พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
               3. เป้าประสงค์

                3.1 ปีการศึกษาเฉลี่ยของประชาชนสูงขึ้น ประชาชนวัยแรงงานมีความรู้และ
ทักษะที่จาเป็นในการประกอบอาชีพละเพิ่มผลผลิต
                3.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา
                3.3 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีศักยภาพในการขับเคลื่อนการ
ปฏิรูปการศึกษา
                3.4 ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา สถานศึกษามีความ
แข็งแรง มีอิสระ มีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ
17

               3.5 การศึกษาช่วยสร้างสมานฉันท์ ความสามัคคีและใช้สันติวิธีในการแก้ปัญหา

   4. ยุทธศาสตร์

                4.1 สร้างกระบวนการเรียนรู้ ปลูกฝังจิตสานึก ค่านิยม คุณธรรม วัฒนธรรม ตาม
หลักเศรษฐกิจพอเพียง วิถีประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลแก่เยาวชนและประชาชนทุกระดับ โดย
เชื่อมโยงความร่วมมือทุกภาคส่วนในสังคม
                4.2 สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
                4.3 เร่งปรับกระบวนการเรียนการสอนเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
                4.4 สนับสนุนการผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อตอบสนองต่อความต้องการในการ
พัฒนาประเทศ
                4.5 เร่งรัดผลักดันการกระจายอานาจและสร้างความเข็มแข็งให้สานักงานเขตพื้นที่
และสถานศึกษา
                4.6 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดและสนับสนุนการศึกษาใน
รูปแบบที่หลากหลาย
                4.7 จัดการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้สอดคล้อง
กับสภาพเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมให้เกิดสันติสุข

      นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2554

                                        วิสัยทัศน์

              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษาขั้น
พื้นฐานของประเทศไทยให้เป็นผู้นาหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ภายในปี
การศึกษา 2556
18

                                          พันธกิจ

               พัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียนทุก
คนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีความรู้คู่คุณธรรมมี
ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพระดับสากล

                                        เป้าประสงค์

1. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสอง
ของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี อย่างทั่วถึงและได้เรียนรู้
ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ

3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ

4. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีความเข้มแข็งเป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษาขั้น
พื้นฐาน สู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

5. การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการพัฒนาคุณภาพครูและ
บุคลากรมีความปลอดภัยและมั่นคง

                                           กลยุทธ์

1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทาง
เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ

4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอน            ได้อย่างมี
คุณภาพ
19

5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

6. พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้

                                    จุดเน้น สพฐ. ปี 2554

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยละ 4

(Student Achievement)

2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น

(Literacy & Numeracy)

3. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ (EQ: Emotional Quotient)

4. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และ

ด้านเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Excellence)

5. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา

อย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ( Alternative Learning)

6. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการขยายผล

สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ (Sufficiency Economy)

7. นักเรียน ครู และสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้

ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ (Southern Border Provinces)

8. นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

(ASEAN Community)
20

9. สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบการประกันคุณภาพ

ภายในที่เข้มแข็งและผ่านการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools)

10. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของ

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา (Efficient Service Areas)

      ทิศทางของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูลประจาปีงบประมาณ 2554
                                   **************

       สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล จึงได้กาหนดทิศทางการดาเนินงาน

                    ตามแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2554 มีดังนี้

                                         วิสัยทัศน์

      สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล จัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาภาค
บังคับ ให้ทั่วถึง พัฒนาคุณภาพให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน บริหารจัดการโดยหลัก
ธรรมาภิบาล และสอดคล้องกับวิถีชีวิตตามอัตลักษณ์ท้องถิ่น

                                          พันธกิจ

 1. จัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาภาคบังคับให้ทั่วถึง
 2. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่ประชากรวัยเรียนทุกคน
3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. บริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
 5. จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตตามอัตลักษณ์ท้องถิ่น

                                        เป้าประสงค์

1. ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามหลักสูตร และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
พัฒนาสู่ความเป็นเลิศ
21

2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาภาคบังคับตามสิทธิอย่างเท่าเทียม ทั่วถึง และ
ตรงตามศักยภาพ

3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ

4. ผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ

5. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสถานศึกษา มีการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยหลักธรรมาภิบาล และเป็นไปตามมาตรฐาน

                                          กลยุทธ์

1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทาง
เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ

4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ

5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทางการศึกษาหลัก
ธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการการศึกษา

6. พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้

7. พัฒนาความร่วมมือทางการศึกษาระหว่างไทยกับมาเลเซีย

                                           จุดเน้น

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 4
22

2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออกเขียนได้

3. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยีเพื่อ
พัฒนาสู่ความเป็นสากล

4. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ

5. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่าง
ทั่วถึง

6. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการขยายผลสถานศึกษา
พอเพียงต้นแบบ

7. นักเรียน ครูและสถานศึกษาในสังกัด ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ

8. นักเรียน ครูและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

9. สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง
และผ่านการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก

10. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                              เป้าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จ

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ได้กาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จจาแนก
ตามกลยุทธ์ ดังนี้
23

กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม
ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

  ที่              เป้าหมายความสาเร็จ                      ตัวชี้วัดความสาเร็จ
  1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชา ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่ม
      หลักเพิ่มขึ้นร้อยละ 4 ต่อปี             สาระวิชาหลักเพิ่มขึ้น
  2 ผู้เรียนที่มีปัญหาการอ่าน การเขียนภาษาไทย ร้อยละของผู้เรียนที่มีปัญหาการอ่าน
      ต่ากว่าเกณฑ์ลดลงร้อยละ 2
                                              การเขียนภาษาไทยต่ากว่าเกณฑ์ลดลง
  3 นักเรียนมีความสามารถด้านเทคโนโลยี         ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถ

      เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ไม่น้อยกว่า ด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

    ร้อยละ 85
  4 นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะ              ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะ
    กระบวนการคิดตามมาตรฐานการเรียนรู้             กระบวนการคิดตามมาตรฐานการเรียนรู้
  5 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 ทุกคน       ร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
    อ่านออกเขียนได้ และนักเรียน
                                                  ที่อ่านออกเขียนได้ และร้อยละนักเรียน
      ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทุกคน
                                                  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่อ่านคล่องเขียนคล่อง
      อ่านคล่องเขียนคล่อง

มาตรการ

1. เร่งพัฒนาความสามารถนักเรียนด้านการอ่านออกเขียนได้และการคิดวิเคราะห์

2. พัฒนาการสอนแบบหน่วยและสอนแบบบูรณาการ

3. พัฒนาสื่อการเรียนการสอน แบบฝึกทักษะในกลุ่มสาระหลัก

4. จัดทาข้อมูลนักเรียนรายบุคคลเพื่อเฝ้าระวังทางวิชาการ

5. ส่งเสริมความสามารถการสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศ เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
24

6.เร่งพัฒนาความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ โดยเพิ่มศักยภาพของ
เครื่องมือ สื่อเทคโนโลยี บุคลากรในสถานศึกษา และการกากับติดตามส่งเสริมการใช้สื่อ ICT
ตลอดถึงการประสานกับภาคีเครือข่าย องค์กรท้องถิ่น ในการจัดหาเครื่องมือและสื่อเทคโนโลยีที่มี
คุณภาพ

กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา
ของ เศรษฐกิจพอเพียง

 ที่            เป้าหมายความสาเร็จ                       ตัวชี้วัดความสาเร็จ
 1 ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม จานวนนักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม
     จิตสานึกความเป็นไทย                   และมีจิตสานึกความเป็นไทย ยึดมั่นในสถาบัน
                                           ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครอง
                                           ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
                                           ทรงเป็นประมุข
 2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม     ร้อยละผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตาม
     หลักสูตรการศึกษาภาคบังคับไม่น้อยกว่า หลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ
     ร้อยละ 80
 3 โรงเรียนทุกโรงจัดกิจกรรมเสริมสร้าง      - จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรมเสริมสร้าง
     คุณธรรมจริยธรรม ความสานึกในความเป็น คุณธรรมความสานึกในความเป็นชาติไทย
     ชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา
     เศรษฐกิจพอเพียง                       และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

                                              - จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรมตามหลัก
                                              ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นศูนย์การ
                                              เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง 20 โรงเรียน
  4 ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะการ       จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะ
    ดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญา
    เศรษฐกิจพอเพียง                       การดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญา
                                          เศรษฐกิจพอเพียง
  5 ทุกโรงเรียนเน้นคุณธรรมนาความรู้น้อมนา ร้อยละโรงเรียนที่เป็นโรงเรียนคุณธรรม
    ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
                                          ชั้นนาและโรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง
25

  ที่          เป้าหมายความสาเร็จ                         ตัวชี้วัดความสาเร็จ
    คัดเลือกโรงเรียนคุณธรรมชั้นนา/ต้นแบบ
    เศรษฐกิจพอเพียง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65
  6 โรงเรียนทุกโรงพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ ร้อยละโรงเรียนต้นแบบระบบดูแลช่วยเหลือ
    นักเรียนและได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียน นักเรียน
    ต้นแบบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65
  7 นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ได้รับการ ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับการยกย่องเป็น
                                             นักเรียนตัวอย่างด้านคุณธรรม จริยธรรม
    ยกย่องเป็นตัวอย่างด้านคุณธรรม จริยธรรม

มาตรการ

1. พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษาอย่างจริงจัง

2. จัดทาคู่มือการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์

3. ปรับปรุงพฤติกรรมนักเรียน

4. ส่งเสริมนักเรียนให้ใช้เทคโนโลยีในทางบวกโดยมุ่งเพื่อการเรียนรู้และศึกษาค้นคว้า มากกว่าการ
เล่นเกมคอมพิวเตอร์

5. ส่งเสริมการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษา ประชาธิปไตย

6. พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียน บ้าน วัด/มัสยิด

7. บริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
26

กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนา

เต็มตามศักยภาพ

 ที่           เป้าหมายความสาเร็จ                           ตัวชี้วัดความสาเร็จ
 1 ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้น ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
     พื้นฐาน
 2 ผู้เรียนได้เรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร้อยละของผู้เรียนที่จบการศึกษาภายในเวลาที่
     ภายในกาหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 90           หลักสูตรกาหนด
 3 ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ          ร้อยละของผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ
 4 ผู้เรียนทุกคนได้รับการสนับสนุนการศึกษา จานวนผู้เรียนที่ได้รับการสนับสนุนการศึกษา
     โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับรายการค่าเล่า โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับรายการค่าเล่าเรียน
     เรียน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน       หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบ
     เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนา นักเรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
     คุณภาพผู้เรียน
 5 ลดอัตราการออกกลางคันของนักเรียน ร้อยละนักเรียนที่ออกกลางคันทุกสาเหตุและ
                                              จาแนกตามสาเหตุ
     ทุกระดับ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1
 6 เด็กตกหล่นทุกคนได้เข้าเรียนต่อในระบบ ร้อยละนักเรียนตกหล่นที่ได้เข้ารับการศึกษา
     และนอกระบบโรงเรียน ไม่น้อยกว่า
                                              ในระบบและนอกระบบ
     ร้อยละ 40
 7 เด็กกลุ่มอายุ 4 – 6 ปีทุกคนได้รับการเตรียม ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 4 – 6 ปี ที่ได้รับการ
     ความพร้อมก่อนเข้าเรียน ป. 1              เตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียน ป.1

    อย่างน้อย 1 ปี
  8 เด็กพิเศษเรียนร่วมและเด็กด้อยโอกาส       ร้อยละของเด็กพิเศษเรียนร่วมและเด็กด้อยโอกาส
                                             ที่ได้รับบริการจัดการศึกษา
     ทุกคน ได้รับสิทธิโอกาสทางการศึกษา
     อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ
1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ

More Related Content

What's hot

ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
paifahnutya
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
Watcharapon Donpakdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
Katewaree Yosyingyong
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
พัน พัน
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
Benjapron Seesukong
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
Padvee Academy
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
naleesaetor
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
ใบสมัคร นักเรียน
ใบสมัคร นักเรียนใบสมัคร นักเรียน
ใบสมัคร นักเรียน
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 

Similar to 1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ

แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
Sriwijit Kerdwan
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
นายไพโรจน์ พันธุศิลป์
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
Watcharasak Chantong
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
สงคราม รื่นรมย์
 
Sar2554
Sar2554Sar2554
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
ผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638soawaphat
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อkitsada
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Mk Mankong
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60
kroodarunee samerpak
 
แผนพัฒนา
แผนพัฒนาแผนพัฒนา
แผนพัฒนา
Laila Sama-ae
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
SophinyaDara
 

Similar to 1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ (20)

แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
Sar2554
Sar2554Sar2554
Sar2554
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
 
5.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน605.คู่มือนักเรียน60
5.คู่มือนักเรียน60
 
แผนพัฒนา
แผนพัฒนาแผนพัฒนา
แผนพัฒนา
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 

More from Montree Jareeyanuwat

รางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่นรางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่นMontree Jareeyanuwat
 
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพป
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพปรางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพป
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพปMontree Jareeyanuwat
 
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นรางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นMontree Jareeyanuwat
 
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551Montree Jareeyanuwat
 
โรงเรียนดีเด่น
โรงเรียนดีเด่นโรงเรียนดีเด่น
โรงเรียนดีเด่นMontree Jareeyanuwat
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54Montree Jareeyanuwat
 
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตารายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตาMontree Jareeyanuwat
 
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุดสรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุดMontree Jareeyanuwat
 
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปีการจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปีMontree Jareeyanuwat
 
กิจกรรมสภานักเรียน
กิจกรรมสภานักเรียนกิจกรรมสภานักเรียน
กิจกรรมสภานักเรียนMontree Jareeyanuwat
 
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียนภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียนMontree Jareeyanuwat
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองMontree Jareeyanuwat
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองMontree Jareeyanuwat
 
รูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรีรูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรีMontree Jareeyanuwat
 
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพMontree Jareeyanuwat
 
พัฒนาบุคลากร
พัฒนาบุคลากรพัฒนาบุคลากร
พัฒนาบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
รูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรีรูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรีMontree Jareeyanuwat
 
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพMontree Jareeyanuwat
 

More from Montree Jareeyanuwat (20)

รางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่นรางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่น
 
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพป
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพปรางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพป
รางวัลนักการดีเด่น ระดับ สพป
 
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นรางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
 
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551
รางวัลกรรมการสถานศึกษาฯดีเด่น ประจำปี 2551
 
โรงเรียนดีเด่น
โรงเรียนดีเด่นโรงเรียนดีเด่น
โรงเรียนดีเด่น
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
 
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตารายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
 
Sar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตรSar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตร
 
O net
O netO net
O net
 
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุดสรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด
สรุปโครงการ 54 ส่วน 1 3 ฉบับสมบูรณ์ล่าสุด
 
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปีการจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
 
กิจกรรมสภานักเรียน
กิจกรรมสภานักเรียนกิจกรรมสภานักเรียน
กิจกรรมสภานักเรียน
 
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียนภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครอง
 
ประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครองประชุมผู้ปกครอง
ประชุมผู้ปกครอง
 
รูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรีรูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรี
 
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
 
พัฒนาบุคลากร
พัฒนาบุคลากรพัฒนาบุคลากร
พัฒนาบุคลากร
 
รูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรีรูปภาพเรียนฟรี
รูปภาพเรียนฟรี
 
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
 

1 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไขรับสมศกาเนะ

  • 1. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พุทธศักราช 2554 – 2557 โรงเรียนบ้านกาเนะ สานักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 2 ประกาศโรงเรียนบ้านกาเนะ เรื่อง การให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 4 ปี ของโรงเรียนบ้านกาเนะ เพื่อให้การจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านกาเนะ สอดคล้องกับมาตรฐานและการประกัน คุณภาพการศึกษา แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 38 มาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านกาเนะ จึงได้มีมติเห็นชอบให้สถานศึกษาดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 4 ปี ของ โรงเรียนบ้านกาเนะได้ ทั้งนี้แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 4 ปี ของโรงเรียนบ้านกาเนะได้รับความเห็นชอบ จากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานครั้งที่ 5/2554 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2554 ประกาศ ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2554 สุชาติ หลงโซ๊ะ มนตรี จรียานุวัฒน์ (นายสุชาติ หลงโซ๊ะ) (นายมนตรี จรียานุวัฒน์) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านกาเนะ พื้นฐาน
  • 3. 3 คานา ตามบทบัญญัติในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กาหนดว่า การบริหารราชการจะต้องวางแผนโดยกาหนดระยะเวลา ขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน งบประมาณ เป้าหมาย และตัวชี้วัด จัดให้มีการประเมินและตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ ให้มีการพัฒนา องค์ความรู้ภายในองค์กรอย่างสม่าเสมอและให้ทุกส่วนราชการปฏิบัติตามแผนที่ กาหนด ซึ่งโรงเรีย นเป็ นส่วนราชการตามบทบัญญัติใ นพระราชบัญญัติระเบีย บบริหารราชการ กระทรวงศึ ก ษาธิก าร พ.ศ.2546 และมีรายละเอียดภารกิ จที่ต้องปฏิบัติก าหนดไว้ใ นประกาศ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การกระจายอานาจการบริหารและการจัด การศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปยังคณะกรรมการ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2550 พร้อม ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ก ารจั ด ท าและการบริ ห ารแผนพั ฒ นาการศึ ก ษาประกอบกั บ กฎกระทรวง ศึกษาธิการ ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ได้กาหนดให้โรงเรียน จั ด ท าแผนพั ฒ นาการจั ด การศึ ก ษาที่ มุ่ ง คุ ณ ภาพตามมาตรฐานการศึ ก ษา พร้ อ มทั้ ง ก าหนด องค์ประกอบของแผนพัฒนาการจัดการศึกษาไว้ในข้อ 16 โรงเรียนบ้านกาเนะ จึงจัดทาแผนพัฒนา การจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี คือ ปีการศึกษา 2554-2557 นี้ขึ้น เพื่อเป็นกรอบทิศทางการพัฒนา คุณภาพการศึก ษาตามภารกิ จและตามต้องการของผู้ปกครองและชุมชนกาหนด โดยผ่านความ เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว ขอขอบคุ ณคณะผู้จัดท า คณะครู นักเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ ยวข้องทุกฝ่ายที่อานวยความ สะดวกในการจัดทา และร่วมดาเนินการจนแผนพัฒนาการจัดการศึกษาฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จัดทา
  • 4. 4 สารบัญ เรื่อง หน้า ประกาศของสถานศึกษา คานา ส่วนที่ 1 บทนา 5 ส่วนที่ 2 ทิศทางของสถานศึกษา 12 ส่วนที่ 3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งการเรียนรู้ 24 ส่วนที่ 4 บทบาทของผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง 28 ส่วนที่ 5 แนวทางการติดตาม วัดและประเมินผล 43 ภาคผนวก การวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอก คณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
  • 5. 5 ส่วนที่ 1 บทนา สภาพทั่วไป โรงเรียนบ้านกาเนะ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 1 ตาบลบ้านควน อาเภอเมือง จังหวัดสตูล สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านกาเนะ สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2484 โดยคณะผู้ปกครอง นักเรียน และราษฎรในหมู่บ้านช่วยกันสร้าง และให้ ชื่อว่าโรงเรียนบ้านกาเนะ ซึงแปลว่า ต้นชะมวง ในปีแรกใช้อาคารเรียนชั่วคราวเป็นที่ทาการสอน ่ มีนักเรียนทั้งหมด 41 คน ชาย 21 คน หญิง 20 คน ผู้บริหารคนแรกชื่อ นายวิสุทธิ์ สนหละ ที่ดินของโรงเรียนเดิมมี 4 ไร่เศษ ต่อมาทางแขวงการทางสตูล โดยอธิบดีกรม ทางหลวงได้อนุญาตและมอบที่ดิน ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือของโรงเรียนจานวนเกือบ 3 ไร่ ปัจจุบัน โรงเรียนมีที่ดินทั้งสิ้น 6 ไร่ 3 งาน 14.20 ตารางวา อาคารเรียนอาคารประกอบ 1. อาคารเรียนแบบ สปช. 2 / 28 จานวน 1 หลัง 18 ห้องเรียน ได้มาโดย งบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อ พ.ศ. 2549 ( สร้าง 2549 – 2551 ) 2. อาคารเรียนชั่วคราว จานวน 2 หลัง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2548 3. อาคารโรงฝึกงาน 312 จานวน 1 หลัง ส้วมแบบ สปช 601/26 จานวน 1 หลัง 4 ที่นั่ง อาคารคอมพิวเตอร์และห้องสมุด จานวน 1 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2548 จานวนนักเรียนทั้งหมด 193 คน จานวน 8 ห้องเรียน ครู 10 คน พนักงาน ราชการ 1 คน พนักงานบริการ 1 คน เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สภาพทั่วไปของชุมชน ชื่อตาบลบ้านควน มาจากภาษามาลายู ที่แปลว่า เนิน หรือ ควน คือคาว่ากวัะ คือพื้นที่หมู่ที่ 5 ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นหมู่บ้านเดียวที่อยู่บนเนินสูง แต่เนื่องจากตาแหน่งกานันซึ่งอยู่ ในพื้นที่หมู่ที่ 5 เมื่อมีการจัดตั้งตาบล กานันซึ่งเอาชื่อพื้นที่หมู่ที่ 5 เป็นหลักและได้แปลภาษา มาลายูจากคาว่า กาปงกวัะ เป็นบ้านควน ปัจจุบันมีทั้งหมด 7 หมู่บ้าน ซึ่งโรงเรียนบ้านกาเนะ
  • 6. 6 ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ของตาบลบ้านควน มีเขตบริการของโรงเรียน คือ หมู่ที่ 1 บ้านลูโบ๊ะบาตู หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 2 ตาบลเกตรี สภาพทั่วไป พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม มีลักษณะดินร่วนปนทราย ประชากร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร มีอาชีพหลักคือ ทาสวนทาไร่ ทานา อาชีพเสริมคือรับจ้างและ ค้าขาย มีฐานะยากจน ด้านคมนาคมและสาธารณูปโภค ตั้งอยู่บนเส้นทางระหว่างหาดใหญ่ – สตูล ก่อนเข้าอาเภอเมืองสตูล 8 กิโลเมตร เขตบริการของโรงเรียนมี 3 จุด คือหมู่ที่ 1 บ้านลูโบ๊ะบาตู ถนนลูกรังประมาณ 1 - 3 กิโลเมตร หมู่ที่ 2 บ้านหัวหยอ ถนนลาดยางประมาณ 1 กิโลเมตร ต่อด้วยถนนลูกรังประมาณ 2 - 3 กิโลเมตร หมู่ที่ 4 บ้านบอกอเลาะ ถนนลาดยางประมาณ 500 เมตร ต่อด้วยถนนลูกรัง 500 เมตร ถึง 1 กิโลเมตร ระบบสาธารณูปโภค มีไฟฟ้าใช้ประมาณร้อยละ 95 ครัวเรือน ลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศของจังหวัดติดกับฝังทะเล ซึ่งมีอุณหภูมิพอเหมาะ โดยทั่วไป ความชื้นฝนตกชุกมีเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูฝนอยู่ในช่วงเดือนมิถุนายน – มกราคมและฤดูร้อนอยู่ ในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม อุณหภูมิเฉลี่ย 28.0 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ เฉลี่ย 80 % ปริมาณน้าฝนตกเฉลี่ย 2215.4 มิลลิเมตร เฉลี่ยวันละ 6.5 มิลลิเมตร ผลงานที่ประสบความสาเร็จ 1. โรงเรียนจัดการเรียนการสอนโดยใช้ห้องสมุดเป็นฐาน และบริหารจัดการ / พัฒนาห้องสมุดให้มีชีวิต ส่งผลให้รับรางวัลห้องสมุดยอดเยี่ยมระดับเขตพื้นที่การศึกษาสตูล และ ห้องสมุดยอดเยี่ยมระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2549 – 2551 ) 2. บริหารจัดการให้มีระบบประกันคุณภาพภายในและรองรับการประเมิน คุณภาพ ภายนอก ผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง ปี 2550 มีคุณภาพและมาตรฐาน ของ สมศ. ระดับยอดเยี่ยม 3. โรงเรียนดาเนินการจัดระบบการเงิน บัญชี และพัฒนาได้อย่างเป็นระบบ ประจาปี 2550 4. โรงเรียนดีเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรม ระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสตูล ประจาปี 2551
  • 7. 7 5. ครูบรรณารักษ์ยอดเยี่ยม ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประจาปี 2551 6. โรงเรียนดาเนินการจัดระบบการเงิน บัญชี และพัฒนาได้อย่างเป็นระบบ ประจาปี 2550 7.โรงเรียนที่ดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนระดับดีมากประจาปี การศึกษา 2551 8. ผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นขนาดกลาง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประจาปีการศึกษา 2551 9. ข้าราชการดีเด่นระดับประเทศ ประจาปี 2552 10. ครูดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ที่ 1 ระดับกลุ่มเครือข่ายเมืองสตูล 1 11. ครูดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ที่ 2 ระดับกลุ่มเครือข่ายเมือง สตูล 1 12.บริหารจัดการการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนและบุคลากรผลได้รับการ ประเมินจากสาธารณสุขจังหวัดสตูล รับรางวัลส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง 13. จัดการเรียนการสอนให้นักเรียนทุกคนได้เรียนคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ชั้นอนุบาล- ป. 6 สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง ผลการบริหารจัดการ นักเรียนมีความรู้ทักษะทางคอมพิวเตอร์ตาม ระดับชั้น 14. พัฒนา/ปรับภูมิทัศน์ โรงเรียน สวยงาม สะอาด ร่มรื่น 15. นักเรียนมีคุณธรรม และ สะสมความดี โดยฝากไว้กับธนาคารความดี 16. โรงเรียนจัดกิจกรรมเขตปลอดขยะ ผลการดาเนินงาน นักเรียนไม่ทิ้งขยะ โรงเรียนไม่มีขยะ และนักเรียนทุกคนเฝ้าระวังขยะเขตของตนเอง 17. การวัดผลประเมินผลใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการคิดคานวณคะแนน โดย จัดทาโปรแกรม ปพ.1 ,ปพ. 4 , ปพ. 5 , ปพ. 6 และ ปพ. 7 ทุกชั้นเรียน เมื่อจบชั้นเรียนสามารถส่ง ข้อมูลให้ครูประจาชั้นถัดไป ส่งผลให้ครูมีข้อมูลนักเรียนในแบบ ปพ. ต่าง ๆ โดยไม่ต้องกรอกซ้า อีก และง่ายต่อการออกเอกสารให้กับนักเรียนเป็นรายบุคคล 18. ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วนในการระดมทุนเพื่อใช้ในการบริหาร จัดการ เช่นระดมทุนค่าไฟฟ้าปีละ 40,000 บาท (ไม่ใช้งบทางราชการ) 19. โรงเรียนส่งนักกีฬา ปิงปอง แข่งขันระดับเครือข่ายเมืองสตูล 1 ได้รับรางวัล เหรียญเงิน 20. โรงเรียนส่งนักกรีฑา อายุไม่เกิน 10 ปี แข่งขันระดับเครือข่ายเมืองสตูล 1 ได้รับรางวัลเหรียญทอง 2 เหรียญ
  • 8. 8 21. เด็กหญิงรัศมีจันทร์ เสาวคนธ์ ได้รับรางวัลที่ 3ในการประกวดเรียงความตาม นโยบาย 3ดี 22. เด็กหญิงสุดา สาลีหมีน ได้รับรางวัลชมเชย ในการประกวดการแข่งขันเขียน เรื่องจากภาพ ช่วงชั้นที่ 2 23. โรงเรียนดีเด่น/ผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นปี 2552 ระดับเขตพื้นที่การศึกษาสตูล ข้อมูลนักเรียน ปีการศึกษา 2553 เพศ ระดับชั้น รวม ร้อยละ ชาย หญิง อนุบาล 1 11 15 26 อนุบาล 2 9 6 15 รวม 20 21 41 21.24 ประถมศึกษาปีที่ 1 12 15 27 ประถมศึกษาปีที่ 2 16 16 32 ประถมศึกษาปีที่ 3 14 11 25 ประถมศึกษาปีที่ 4 10 16 26 ประถมศึกษาปีที่ 5 13 7 20 ประถมศึกษาปีที่ 6 12 10 22 รวม 77 75 152 78.26 รวมจานวนนักเรียนทั้งหมด 97 96 193 100
  • 9. 9 ข้อมูลบุคลากรโรงเรียนบ้านกาเนะ ประสบการณ์ ที่ ชื่อ - ชื่อสกุล อายุ/ปี ตาแหน่ง วุฒิ วิชาเอก สอนชั้น/วิชา การสอน 1. นายมนตรี จรียานุวัฒน์ 43 ผู้บริหาร ศศ.ม. ประถมศึกษา 19 บริหาร 2. นางมาเรียม แหล่ทองคา 56 ครู คบ. ปฐมวัย 29 อนุบาล 1 3. นางอัมภณรัตน์ ปะลาวัน 52 ครู คบ. ประถมศึกษา 31 อนุบาล 2 4. นางชุมาพร หาโส๊ะ 46 ครู ศษ.บ. ประถมศึกษา 24 ประจาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 5. นางศุภวรรณ ตั้งวรางกูร 51 ครู คบ. สุขศึกษา 28 ประจาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 6. นางเพ็ญนภา ปานรงค์ 55 ครู คบ. ประถมศึกษา 37 ประจาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 7. นางวลัยพร เจริญผล 56 ครู คบ. ประถมศึกษา 33 ประจาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 8. นางเจียมจิตร อนุวัฒนวงศ์ 52 ครู คบ. ภาษาไทย 33 ประจาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 9. นายสุรพล มาศภูมิ 47 ครู วท.บ. เกษตรศึกษา 20 ประจาชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 10. นางบุญตา ยากะจิ 43 ครู คบ. ภาษาอังกฤษ 19 ป.1 – 6 ภาษาอังกฤษ 11. นางยุวนิตย์ ช่างสาน 47 ครู กศ.ม. การบริหาร 24 ป.1 – 6 คอมพิวเตอร์ การศึกษา 12. นางสาวสุชาดา เหล่ 48 พนักงาน คบ. ประถมศึกษา 27 ป.1 – 6 ศาสนา ทองคา ราชการ 13. นายสะอาด อาดา 56 พนักงาน ป.4 - บริการทั่วไป บริการ
  • 10. 10 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านกาเนะ ที่ ชื่อ - สกุล ตาแหน่ง หมายเหตุ 1. นายสุชาติ หลงโซ๊ะ ประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 2. นายรอหีม กาสา กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ 3. นายกูมาแอ สตอหลง กรรมการ ผู้แทนผู้ปกครอง 4. นายอับดุลมานับ หลงหัน ผู้แทนองค์กร กรรมการ ปกครองส่วนท้องถิ่น 5. นายดอล๊ะ กาสา ผู้แทนศิษย์เก่าผู้แทน กรรมการ องค์กรศาสนา 6. นายอัสนหลี อุเส็น กรรมการ ผู้แทนองค์กรศาสนา 7. นางสาวมานิจ บัวดวง กรรมการ ผู้แทนองค์กรชุมชน 8. นางมาเรียม แหล่ทองคา กรรมการ ตัวแทนครู 9. นายมนตรี จรียานุวัฒน์ กรรมการและ ผู้บริหารโรงเรียน เลขานุการ สภาพปัญหาปัจจุบัน ภาพโดยทั่วไป ครอบครัวทางบ้านยากจน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการทานา รับจ้างทั่วไป วิถีชีวิตของผู้คนในชุมชน ส่วนใหญ่ขาดประสบการณ์ ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ขาดความหวังที่ได้รับสิ่งตอบแทนจากการศึกษา เด็กส่วนใหญ่ถูกเลี้ยงดูตามยถากรรม ไม่มีการ วางแผนชีวิต มีปัญหายาเสพติด การใช้แรงงานเด็ก การละเมิดสิทธิเด็กและสตรี สภาพทั่วไป ไม่ เอื้ออานวยให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียน ทิศทางของการศึกษาจึงมุ่งให้นักเรียน สามารถประกอบอาชีพได้ และสร้างภูมิคุ้มกันปัญหาสังคม
  • 11. 11 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส อุปสรรค 1. ประชาชนยึดมั่นในหลักธรรมคาสอนของ 1. ผู้ปกครองมีฐานะยากจน ทางานหาเช้ากิน ศาสนาอย่างเคร่งครัด ค่า ไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่บุตรหลาน 2. ประชาชนสามัคคีช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 2. ผู้ปกครองมีการย้ายถิ่นฐาน ครอบครัว และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข แตกแยกหย่าร้างทาให้ส่งผลกระทบต่อการ 3. มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับสังคม จัดการศึกษา และวัฒนธรรมหลากหลายสามารถใช้เป็น 3. สื่อเทคโนโลยีที่ส่งเสริมในการจัด แหล่งเรียนรู้ได้ การศึกษามีน้อย 4. รัฐบาลมีพระราชบัญญัติการศึกษา และ 4. มีบุคคลในชุมชนที่สามารถเป็นแบบอย่าง นโยบายที่ส่งเสริมการจัดการศึกษาอย่าง และแรงจูงใจในการศึกษาต่อในระดับสูง ชัดเจนและเป็นรูปธรรม เช่น มีนโยบาย ขึ้นน้อย เรียนฟรี 15 ปี 5. ชุมชนมีความเสี่ยงในด้านยาเสพติดและ 5. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การ การพนัน สนับสนุนในการจัดการศึกษา 6. กฎหมาย/ระเบียบ ว่าด้วยการลงโทษ 6. คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความร่วมมือ นักเรียนไม่เอื้อให้โรงเรียนลงโทษนักเรียน ในการจัดการศึกษา ได้อย่างเต็มที่ 7. มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลบ่อยทาให้การจัด การศึกษาไม่ต่อเนื่องและไม่เป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน
  • 12. 12 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน จุดแข็ง จุดอ่อน 1. โรงเรียนมีโครงสร้างการบริหารชัดเจนเป็น 1. ครูขาดทักษะในการใช้สื่อและเทคโนโลยี ระบบ 2. ครูมีภาระงานนอกเหนือจากการเรียนการ 2. โรงเรียนมีการบริหารจัดการเน้นการมีส่วน สอนมาก ร่วมของชุมชนผู้ปกครอง นักเรียน และครู 3. มีการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. โรงเรียนมีแผนปฏิบัติงาน ในการ มาใช้เพื่อการเรียนการสอนน้อย ดาเนินงานอย่างชัดเจน 4. การเบิกจ่ายเงินไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติ 4. โรงเรียนมีหลักสูตรที่สอดคล้องกับความ งาน ต้องการของผู้เรียนและสภาพชุมชน 5. ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ชารุด ใช้การไม่ได้ 5. มีการมอบหมายงาน ตรงตามความรู้และ 6. แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ไม่ได้นามาใช้เกิด ความสามารถของครู ประโยชน์อย่างคุ้มค่า 6. ครูมีความรัก สามัคคี ทางานเป็นทีม 7. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่า 7. ครูมีความรู้ความสามารถตรงตามสาขา 8. นักเรียนขาดเรียน วิชาเอกและความถนัด 9. นักเรียนไม่มีสุขนิสัยในการดูแลตนเอง 8. ครูมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 10. นักเรียนไม่มีนิสัย ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 9. สื่อและวัสดุ อุปกรณ์การเรียนการสอนมี ขาดทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เพียงพอ 11. นักเรียนขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ 10. โรงเรียนมีงบประมาณเพียงพอในการ 12. นักเรียนไม่หวงแหนทรัพย์สมบัติของ ดาเนินงานเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ส่วนรวม 11. โรงเรียนมีสื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัย 12. การบริหารด้านงบประมาณโปร่งใสและ สามารถตรวจสอบได้ 13. นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับ วัย 14. ผู้บริหารมีความรู้ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม และมีภาวะความเป็นผู้นา
  • 13. 13 ส่วนที่ 2 ทิศทางของสถานศึกษา สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ได้รับ สถานภาพเป็นนิติบุคล โดยบทบัญญัติในมาตรา 35 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 คือ สถานศึกษาสามารถจัดกิจการต่าง ๆได้ด้วยตนเองภายในขอบเขตวัตถุประสงค์ มี สิทธิและหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์และกฎหมายอื่น ซึ่งกาหนดสิทธิและหน้าที่ของสถานศึกษาไว้เป็นการ เฉพาะ ความเป็นนิติบุคคลของสถานศึกษา นอกจากจะต้องดาเนินการตามวัตถุประสงค์ ของการจัดตั้งสถานศึกษา ยังมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายกาหนด ทั้งกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายว่าด้วยระเบียบ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและกฎหมายอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นสถานศึกษาจะดาเนินการต่างๆได้ ต้องอยู่ในกรอบของอานาจและหน้าที่ ตามกฎหมายและวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษาเท่านั้น ซึ่งเป็นอานาจหน้าที่ของส่วนราชการ นั้น โดยได้กาหนดให้มีผู้อานวยการสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการ และมีอานาจ หน้าที่ในการบริหารกิจการของสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของ ทางราชการ รวมทั้งนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา ในการดาเนินกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก มาตรา 39 แห่งกฎหมายว่าด้วย ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดให้ผู้อานวยการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น ผู้แทนของสถานศึกษาในกิจการทั่วไป รวมทั้งการจัดทานิติกรรมสัญญาในนามของสถานศึกษา ตามวงเงินงบประมาณที่สถานศึกษาได้รับมอบหมาย หรือตามระเบียบการบริหารการเงินของ สถานศึกษา เป็นต้น ฉะนันผู้อานวยการสถานศึกษาซึ่งมีฐานะเป็นผู้แทนนิติบุคคล เช่นเดียวกับ ้ มหาวิทยาลัยที่กาหนดอานาจหน้าที่อธิการบดี ให้เป็นผู้แทนของมหาวิทยาลัยในกิจการทั่วไป ซึ่ง มีฐานะเป็นผู้แทนนิติบุคคล ตามสภาพที่กฎหมายกาหนด อานาจหน้าที่ของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้วางระเบียบให้ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นนิติบุคคล ถือปฏิบัติ และมีอานาจหน้าที่ดังนี้ 1. ให้สถานศึกษามีวัตถุประสงค์และอานาจหน้าที่เพื่อจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
  • 14. 14 2. กิจการทั่วไปของสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้อานวยการ สถานศึกษาเป็นผู้แทนของนิติบุคคลสถานศึกษา 3. ให้สถานศึกษามีอานาจปกครอง ดูแล บารุง รักษา ใช้และจัดทาประโยชน์ จากทรัพย์สินที่มีอยู่อุทิศให้แก่สถานศึกษาเว้นแต่การจาหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่มีผู้อุทิศให้แก่ สถานศึกษา ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อจาหน่าย อสังหาริมทรัพย์แล้ว ให้สถานศึกษารายงานให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทราบ โดยเร็ว 4. ในกรณีที่จะต้องจดทะเบียนสิทธิขึ้นทะเบียน หรือดาเนินการทางทะเบียนใด ๆเกี่ยวกับทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้แก่สถานศึกษา ให้สถานศึกษาสามารถดาเนินการตามทะเบียน ดังกล่าวได้ ในนามนิติบุคคลสถานศึกษา 5. ในกรณีสถานศึกษาถูกฟ้องคดี ให้สถานศึกษารายงานให้สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา เพื่อแจ้งให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทราบ เพื่อดาเนินการแต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบดาเนินคดีโดยเร็ว 6. สถานศึกษาจะมีอิสระในการบริหารงบประมาณ ในส่วนของที่ตั้งไว้สาหรับ สถานศึกษาตามที่ได้กาหนดวงเงินและได้รับมอบอานาจจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน และผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตามหลักเกณฑ์ที่เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด ยกเว้นงบประมาณในหมวดเงินเดือน 7. สถานศึกษามีอิสระในการบริหารจัดการเกี่ยวกับพัสดุ ในส่วนที่อยู่ในความ ดูแลรับผิดชอบ หรืออยู่ในวงเงินงบประมาณที่ได้รับมอบตามหลักเกณฑ์ในข้อ 6 ตามหลักเกณฑ์ ที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 8. การรับเงินบริจาคหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้สถานศึกษา รับบริจาคตาม ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ทางราชการ และตาม หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนด 9. การบริหารจัดการเกี่ยวกับการเงินและบัญชีของสถานศึกษา ให้เป็นไปตาม ระเบียบที่เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกาศกาหนด 10. ให้สถานศึกษาจัดทาบัญชี แสดงรายรับ จ่ายเงินและทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ ตามข้อ 3 โดยเป็นหลักฐานและสรุปรายการบัญชีทรัพย์สินดังกล่าว รายงานให้ผู้อานวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่สถานศึกษาสังกัดทราบทุกสิ้นปีงบประมาณ 11. การบริหารบุคคลของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดใน กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
  • 15. 15 นโยบายการศึกษา ( รัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ) 1. ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริหารจัดการ ปรับปรุง กฎหมายให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ และระดมทรัพยากรเพื่อการปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา พัฒนาครู พัฒนาระบบการคัดเลือกเข้าสู่ มหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตร รวมทั้งปรับหลักสูตรวิชาแกนหลักรวมถึงวิชาประวัติศาสตร์ ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ ปรับบทบาทการศึกษานอกโรงเรียน เป็นสานักงานการศึกษาตลอดชีวิต และจัดให้มีศูนย์การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสม ในแต่ละ พื้นที่ ตลอดจนส่งเสริมการกระจายอานาจให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อ นาไปสู่เป้าหมายคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นคุณธรรมนาความรู้ อย่างแท้จริง 2. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ โดยมุ่งเน้น ในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อให้สนองตอบความต้องการด้านบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ 3. พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรม มีคุณภาพ และมีวิทยฐานะสูงขึ้น ลดภาระงานครูที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนตามโครงการคืนครู ให้นักเรียน มีการดูแลคุณภาพชีวิตของครูด้วยการปรับโครงสร้างหนี้และจัดตั้งกองทุนพัฒนา คุณภาพชีวิตครู ควบคู่ไปกับการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เน้นการพัฒนาเนื้อหาสาระและ บุคลากรให้พร้อมรองรับและใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างคุ้ม ค่า 4. จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึง มัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและ ความเป็น ธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรในกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทั้งผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากลาบาก ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติปัญญา และชนต่างวัฒนธรรม รวมทั้งยกระดับการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน 5. ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ ความเป็นเลิศ โดยการจัดกลุ่มสถาบันการศึกษาตามศักยภาพ ปรับเงินเดือนค่าตอบแทนของผู้สาเร็จ การศึกษาระดับอาชีวศึกษาให้สูงขึ้น โดยภาครัฐเป็นผู้นาและเป็นแบบอย่างของการใช้ทักษะ อาชีวศึกษาเป็นเกณฑ์กาหนด ค่าตอบแทนและความก้าวหน้าในงาน ควบคู่กับการพัฒนาองค์ ความรู้และนวัตกรรมด้วยการเพิ่มขีดความสามารถด้านการ วิจัยและพัฒนา 6. ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ให้มีการ ประนอมและไกล่เกลี่ยหนี้ รวมทั้งขยายกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเพิ่มขึ้นเพื่อให้ประชาชนมี โอกาสใน การเข้าถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและปริญญาตรีเพิ่มขึ้น
  • 16. 16 7. ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชนใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ เชิงสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ 8. เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้อย่างบูรณาการในทุกระดับ การศึกษา และในชุมชน โดยใช้พื้นที่และโรงเรียนเป็นฐานในการบูรณาการทุกมิติ และยึดเกณฑ์ การประเมินของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เป็นหลักในการยกระดับ คุณภาพโรงเรียนที่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน และส่งเสริมความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็น ศูนย์กลางทางการศึกษาและ วิจัยพัฒนาในภูมิภาค รวมทั้งเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิตในชุมชน โดยเชื่อมโยงบทบาทสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และสถาบัน ทางศาสนา นโยบายการจัดศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ 1. วิสัยทัศน์ กระทรวงศึกษาธิการเป็นองค์กรหลักที่มุ่งจัดและส่งเสริมการศึกษาให้ประชาขนมี คุณธรรมนาความรู้ มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเสริมสร้าง สังคม คุณธรรมพัฒนาสังคมฐานความรู้และยืนหยัดในเวทีโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย 2. พันธกิจ เร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาเพื่อเสริมสร้างโอกาสในการศึกษาให้แก่ประชาชน โดย ยึดหลักธรรมนาความรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและ พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ 3. เป้าประสงค์ 3.1 ปีการศึกษาเฉลี่ยของประชาชนสูงขึ้น ประชาชนวัยแรงงานมีความรู้และ ทักษะที่จาเป็นในการประกอบอาชีพละเพิ่มผลผลิต 3.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา 3.3 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีศักยภาพในการขับเคลื่อนการ ปฏิรูปการศึกษา 3.4 ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา สถานศึกษามีความ แข็งแรง มีอิสระ มีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ
  • 17. 17 3.5 การศึกษาช่วยสร้างสมานฉันท์ ความสามัคคีและใช้สันติวิธีในการแก้ปัญหา 4. ยุทธศาสตร์ 4.1 สร้างกระบวนการเรียนรู้ ปลูกฝังจิตสานึก ค่านิยม คุณธรรม วัฒนธรรม ตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง วิถีประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลแก่เยาวชนและประชาชนทุกระดับ โดย เชื่อมโยงความร่วมมือทุกภาคส่วนในสังคม 4.2 สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 4.3 เร่งปรับกระบวนการเรียนการสอนเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษา 4.4 สนับสนุนการผลิตและพัฒนากาลังคนเพื่อตอบสนองต่อความต้องการในการ พัฒนาประเทศ 4.5 เร่งรัดผลักดันการกระจายอานาจและสร้างความเข็มแข็งให้สานักงานเขตพื้นที่ และสถานศึกษา 4.6 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดและสนับสนุนการศึกษาใน รูปแบบที่หลากหลาย 4.7 จัดการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้สอดคล้อง กับสภาพเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมให้เกิดสันติสุข นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2554 วิสัยทัศน์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษาขั้น พื้นฐานของประเทศไทยให้เป็นผู้นาหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ภายในปี การศึกษา 2556
  • 18. 18 พันธกิจ พัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียนทุก คนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีความรู้คู่คุณธรรมมี ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพระดับสากล เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสอง ของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี อย่างทั่วถึงและได้เรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ 4. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีความเข้มแข็งเป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 5. การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการพัฒนาคุณภาพครูและ บุคลากรมีความปลอดภัยและมั่นคง กลยุทธ์ 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทาง เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ 2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอน ได้อย่างมี คุณภาพ
  • 19. 19 5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 6. พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ จุดเน้น สพฐ. ปี 2554 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยละ 4 (Student Achievement) 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น (Literacy & Numeracy) 3. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ (EQ: Emotional Quotient) 4. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และ ด้านเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Excellence) 5. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา อย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ( Alternative Learning) 6. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการขยายผล สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ (Sufficiency Economy) 7. นักเรียน ครู และสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ (Southern Border Provinces) 8. นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
  • 20. 20 9. สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบการประกันคุณภาพ ภายในที่เข้มแข็งและผ่านการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools) 10. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา (Efficient Service Areas) ทิศทางของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูลประจาปีงบประมาณ 2554 ************** สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล จึงได้กาหนดทิศทางการดาเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2554 มีดังนี้ วิสัยทัศน์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล จัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาภาค บังคับ ให้ทั่วถึง พัฒนาคุณภาพให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน บริหารจัดการโดยหลัก ธรรมาภิบาล และสอดคล้องกับวิถีชีวิตตามอัตลักษณ์ท้องถิ่น พันธกิจ 1. จัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาภาคบังคับให้ทั่วถึง 2. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่ประชากรวัยเรียนทุกคน 3. ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4. บริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล 5. จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตตามอัตลักษณ์ท้องถิ่น เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามหลักสูตร และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ พัฒนาสู่ความเป็นเลิศ
  • 21. 21 2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาภาคบังคับตามสิทธิอย่างเท่าเทียม ทั่วถึง และ ตรงตามศักยภาพ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ 4. ผู้เรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ 5. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสถานศึกษา มีการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ โดยหลักธรรมาภิบาล และเป็นไปตามมาตรฐาน กลยุทธ์ 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทาง เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ 2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ 5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทางการศึกษาหลัก ธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการการศึกษา 6. พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 7. พัฒนาความร่วมมือทางการศึกษาระหว่างไทยกับมาเลเซีย จุดเน้น 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 4
  • 22. 22 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออกเขียนได้ 3. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยีเพื่อ พัฒนาสู่ความเป็นสากล 4. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ 5. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่าง ทั่วถึง 6. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการขยายผลสถานศึกษา พอเพียงต้นแบบ 7. นักเรียน ครูและสถานศึกษาในสังกัด ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ 8. นักเรียน ครูและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 9. สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง และผ่านการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก 10. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป้าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ได้กาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จจาแนก ตามกลยุทธ์ ดังนี้
  • 23. 23 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ที่ เป้าหมายความสาเร็จ ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชา ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่ม หลักเพิ่มขึ้นร้อยละ 4 ต่อปี สาระวิชาหลักเพิ่มขึ้น 2 ผู้เรียนที่มีปัญหาการอ่าน การเขียนภาษาไทย ร้อยละของผู้เรียนที่มีปัญหาการอ่าน ต่ากว่าเกณฑ์ลดลงร้อยละ 2 การเขียนภาษาไทยต่ากว่าเกณฑ์ลดลง 3 นักเรียนมีความสามารถด้านเทคโนโลยี ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถ เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ไม่น้อยกว่า ด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ร้อยละ 85 4 นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะ ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดตามมาตรฐานการเรียนรู้ กระบวนการคิดตามมาตรฐานการเรียนรู้ 5 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 ทุกคน ร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 อ่านออกเขียนได้ และนักเรียน ที่อ่านออกเขียนได้ และร้อยละนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทุกคน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่อ่านคล่องเขียนคล่อง อ่านคล่องเขียนคล่อง มาตรการ 1. เร่งพัฒนาความสามารถนักเรียนด้านการอ่านออกเขียนได้และการคิดวิเคราะห์ 2. พัฒนาการสอนแบบหน่วยและสอนแบบบูรณาการ 3. พัฒนาสื่อการเรียนการสอน แบบฝึกทักษะในกลุ่มสาระหลัก 4. จัดทาข้อมูลนักเรียนรายบุคคลเพื่อเฝ้าระวังทางวิชาการ 5. ส่งเสริมความสามารถการสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศ เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
  • 24. 24 6.เร่งพัฒนาความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ โดยเพิ่มศักยภาพของ เครื่องมือ สื่อเทคโนโลยี บุคลากรในสถานศึกษา และการกากับติดตามส่งเสริมการใช้สื่อ ICT ตลอดถึงการประสานกับภาคีเครือข่าย องค์กรท้องถิ่น ในการจัดหาเครื่องมือและสื่อเทคโนโลยีที่มี คุณภาพ กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง ที่ เป้าหมายความสาเร็จ ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1 ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม จานวนนักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม จิตสานึกความเป็นไทย และมีจิตสานึกความเป็นไทย ยึดมั่นในสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข 2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม ร้อยละผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตาม หลักสูตรการศึกษาภาคบังคับไม่น้อยกว่า หลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ ร้อยละ 80 3 โรงเรียนทุกโรงจัดกิจกรรมเสริมสร้าง - จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรมเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรม ความสานึกในความเป็น คุณธรรมความสานึกในความเป็นชาติไทย ชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรมตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นศูนย์การ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง 20 โรงเรียน 4 ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะการ จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะ ดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง การดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 5 ทุกโรงเรียนเน้นคุณธรรมนาความรู้น้อมนา ร้อยละโรงเรียนที่เป็นโรงเรียนคุณธรรม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ชั้นนาและโรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง
  • 25. 25 ที่ เป้าหมายความสาเร็จ ตัวชี้วัดความสาเร็จ คัดเลือกโรงเรียนคุณธรรมชั้นนา/ต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 6 โรงเรียนทุกโรงพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ ร้อยละโรงเรียนต้นแบบระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนและได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียน นักเรียน ต้นแบบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 7 นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ได้รับการ ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับการยกย่องเป็น นักเรียนตัวอย่างด้านคุณธรรม จริยธรรม ยกย่องเป็นตัวอย่างด้านคุณธรรม จริยธรรม มาตรการ 1. พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษาอย่างจริงจัง 2. จัดทาคู่มือการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3. ปรับปรุงพฤติกรรมนักเรียน 4. ส่งเสริมนักเรียนให้ใช้เทคโนโลยีในทางบวกโดยมุ่งเพื่อการเรียนรู้และศึกษาค้นคว้า มากกว่าการ เล่นเกมคอมพิวเตอร์ 5. ส่งเสริมการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษา ประชาธิปไตย 6. พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียน บ้าน วัด/มัสยิด 7. บริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
  • 26. 26 กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนา เต็มตามศักยภาพ ที่ เป้าหมายความสาเร็จ ตัวชี้วัดความสาเร็จ 1 ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขั้น ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พื้นฐาน 2 ผู้เรียนได้เรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร้อยละของผู้เรียนที่จบการศึกษาภายในเวลาที่ ภายในกาหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 หลักสูตรกาหนด 3 ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ ร้อยละของผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ 4 ผู้เรียนทุกคนได้รับการสนับสนุนการศึกษา จานวนผู้เรียนที่ได้รับการสนับสนุนการศึกษา โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับรายการค่าเล่า โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับรายการค่าเล่าเรียน เรียน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบ เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนา นักเรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพผู้เรียน 5 ลดอัตราการออกกลางคันของนักเรียน ร้อยละนักเรียนที่ออกกลางคันทุกสาเหตุและ จาแนกตามสาเหตุ ทุกระดับ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 6 เด็กตกหล่นทุกคนได้เข้าเรียนต่อในระบบ ร้อยละนักเรียนตกหล่นที่ได้เข้ารับการศึกษา และนอกระบบโรงเรียน ไม่น้อยกว่า ในระบบและนอกระบบ ร้อยละ 40 7 เด็กกลุ่มอายุ 4 – 6 ปีทุกคนได้รับการเตรียม ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 4 – 6 ปี ที่ได้รับการ ความพร้อมก่อนเข้าเรียน ป. 1 เตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียน ป.1 อย่างน้อย 1 ปี 8 เด็กพิเศษเรียนร่วมและเด็กด้อยโอกาส ร้อยละของเด็กพิเศษเรียนร่วมและเด็กด้อยโอกาส ที่ได้รับบริการจัดการศึกษา ทุกคน ได้รับสิทธิโอกาสทางการศึกษา อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง