SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน อาณาจักรมอเนอรา Monera
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวศิรินทิพย์ ใจจ้อย เลขที่ 23 ชั้นม.6ห้อง3
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม ครูพันธ์นิดา ด่านไพบูลย์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)อาณาจักรมอเนอรา
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Monera
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวศิรินทิพย์ ใจจ้อย
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม คุณครูพันธ์นิดา ด่านไพบูลย์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2558
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องากในการเรียนวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) มีการศึกษาในเรื่องของอาณาจักรต่างๆของ
สิ่งมีชีวิต ซึ่งในการเรียนการสอนนั้นได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหา และความสาคัญของทุก
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต เพื่อที่จะนาไปศึกษาและเรียนรู้ต่อไปในระดับที่สูงขึ้น
การทาโครงงานเรื่อง อาณาจักรมอเนอรานี้เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตที่ได้เรียน
มาในห้องเรียน ดิฉันคิดว่าเป็นสิ่งที่ทาให้ตัวดิฉันและผู้ที่สนใจในอาณาจักรมอเนอราได้รับรายละเอียด
และเนื้อหาเพิ่มเติมจากการเรียนในห้องเรียนเพิ่มขึ้น และสามารถนาไปใช้เพื่อการอ่านในการสอบหรือ
เพื่อเพิ่มความเข้าใจของตนเองในเรื่องนี้ด้วย
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในเรื่องอาณาจักรมอเนอรา
2.เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องอาณาจักรมอเนอราเพิ่มมากขึ้น
3.เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์
4.เพื่อให้ทราบรายละเอียดของอาณาจักรมอเนอรา
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ในการค้นคว้าเรื่องอาณาจักรมอเนอราประกอบไปด้วย
1.โครงสร้าง 2.ประเภท 3.ลักษณะ4.การจาแนก 5.ประโชน์และโทษ
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
อาณาจักรมอเนอรา
โครงสร้างของแบคทีเรีย
1. เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีขนาดเล็กประมาณ 1- 5 ไมโครเมตร โครงสร้างเซลล์แบบโพรคาริโอต
(prokaryotic cell) มีผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคน
2. ภายในเซลล์ไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรมและโครงสร้างอื่นหลายชนิด เช่น ร่างแหเอนโดพลาสซึม
กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอโรพลาสต์มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม คือ ไรโบโซม
3. แบคทีเรียที่พบส่วนใหญ่ เซลล์เดียวหรืออาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นสาย เช่น
3.1 ทรงกลม
4
3.1 ทรงท่อน
3.3 ทรงเกลียว
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้มีความสาคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ กล่าวคือ
1. "กลุ่มแบคทีเรีย" ทาหน้าที่เป็นผู้ย่อยอินทรีย์สารก่อให้เกิดการหมุนเวียนสารอนินทรีย์และ
อินทรีย์สารต่างๆ
2. "สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน" ทาหน้าที่เป็นผู้ผลิตในระบบนิเวศ
สิ่งมีชีวิต 2 กลุ่มนี้ยังมีความสาคัญในแง่เทคโนโลยีชีวภาพซึ่งได้มีการศึกษาวิจัยเพิ่มมากขึ้น เพื่อ
นาไปใช้ประโยชน์ในด้านการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์และการศึกษาพันธุ
ศาสตร์ซึ่งช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดียิ่งขึ้น
กลุ่มอาณาจักรมอเนอรา
เป็นออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria) และ
อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria)
5
1. อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria)
เป็นแบคทีเรียที่ผนังเซลล์ไม่มีสารเพปทิโดไกลแคน สามารถดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่
สิ่งมีชีวิตกลุ่มอื่นอาจไม่สามารถดารงอยู่ได้เช่น ในแหล่งน้าพุร้อน ทะเลที่มีน้าเค็มจัด ในบริเวณที่มี
ความเป็นกรดสูงและบริเวณทะเลลึกเป็นต้น
แบ่งได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1.2 กลุ่มครีนาร์เคียโอตา ซึ่งชอบอุณหภูมิสูงและกรดจัด
กลุ่มครีนาร์เคียโอตา
2.อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria)
ยูแบคทีเรียเป็นแบคทีเรียที่สามารถพบได้ทั้งในดิน น้า อากาศ อาหาร นม และในร่างกายของ
สิ่งมีชีวิตอื่น สามารถพบได้ทั้ง ในน้าเค็ม น้าจืด น้ากร่อย ในธารน้าแข็ง หรือแม้กระทั่งแหล่งน้าพุร้อน
เป็นต้น นอกจากนี้ยูแบคทีเรียมีกระบวนการเมแทบอลิซึมในการดารงชีวิตที่หลากหลาย จึงอาจกล่าว
ได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทสาคัญต่อระบบนิเวศ ยูแบคทีเรียแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆดังนี้
6
2.1 กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดและมีกระบวนการเมแทบอลิซึมที่หลากหลายบางกลุ่ม
สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้คล้ายพืชบางกลุ่มสามารถดารงชีวืตโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และให้
ซัลเฟอร์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย (purple sulfur
bacteria) บางกลุ่มมีบทบาทช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนใน
ดิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น Rhizobium sp. ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว เป็น
ต้น
2.2 กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในเซลล์และทาให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรค
โกโนเรียหรือหนองใน เป็นต้น
7
2.3 กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่มีรูปทรงเกลียว มีความยาวประมาณ 0.25 มิลลิเมตร ยูแบคทีเรียในกลุ่ม
นี้มีทั้งดารงชีวิตแบบอิสระและบางสปีชีส์เป็นสาเหตุของ โรคซิฟิลิส โรคฉี่หนู เป็นต้น
2.4 แบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
เป็นยูแบคทีเรียที่พบแพร่กระจายทั่วไปในดิน อากาศ บางสปีชีส์สามารถผลิตกรดแลกติกได้เช่น
Lactobacillus sp. จึงนามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารหลายชนิด เช่น การทาเนย ผักดอง และโยเกิร์ต
เป็นต้น บางสปีชีส์ เช่น Streptomyces sp. ใช้ยาทาปฏิชีวนะ เช่น ยาสเตร็บ โตมัยซิน ยาเตตราไซคลิน
เป็นต้น ยูแบคทีเรียกลุ่มนี้บางสปีชีส์ เช่น Bacillus sp. สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ทาให้
ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดีและบางชนิดเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคแอนแทรกซ์
ยูแบคทีเรียแกรมบวกอีกกลุ่มหนึ่ง เป็นกลุ่มที่ไม่มีผนังเซลล์มีเพียงเยื่อหุ้มเซลล์ที่ประกอบด้วยชั้น
ของไขมันได้แก่ ไมโคพลาสมา (mycoplasms) เป็นเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดประมาณ 0.2-
0.3 ไมโครเมตร สามารถเจริญและสืบพันธุ์ได้นอกเซลล์โฮสต์ ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ
สิ่งมีชีวิตอื่น แต่มีบางสปีชีส์ที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว
8
2.5 ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
เป็นยูแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้มีสารสีเช่น คลอโรฟิลล์เอ แคโรทีนอยด์ และโฟ
โคบิลินอยู่ภายในถุงแบนๆที่มีเยื่อหุ้มเซลล์พบแพร่กระจายในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายทั้งในแหล่ง
น้าจืด น้าเค็ม บางสปีชีส์พบในบ่อน้าพุร้อน และภายใต้น้าแข็งของมหาสมุทร เป็นต้น จากหลักฐาน
ซากดึกดาบรรพ์ทาให้นักวิทยาศาสตร์คาดคะเนได้ว่าไซยาโนแบคทีเรียทาให้ออกซิเจนในบรรยากาศ
เพิ่มขึ้น มากขึ้นในโลกยุคนั้นและก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนใน
ปัจจุบัน
ไซยาโนแบคทีเรียเป็นผู้ผลิตที่สาคัญในระบบนิเวศและบางชนิดสามารถตรึงแก๊สไนโตรเจนใน
อากาศให้เป็นสารประกอบไนเตรต เช่น แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และออสซิลลาทอ
เรีย (Oscillatoria)
Anabaena
9
Nostoc
Oscillatoria
แบคทีเรียมีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งในระบบนิเวศ เนื่องจากมีการดารงชีวิตแบบภาวะย่อยสลายจึง
ทาให้เกิดการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ มีการนาแบคทีเรียมาใช้กาจัดขยะที่มีมากในเมืองใหญ่ ใช้
สลายคราบน้ามันบริเวณชายฝั่งและบริเวณทะเล รวมทั้งกาจัดสารเคมีที่ตกค้างจากการเกษตรอีกด้วย
นอกจากนี้อาร์เคียแบคทีเรียบางกลุ่มสามารถสลายกากของแข็งจากขยะให้เป็นปุ๋ ยซึ่งสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ต่อไป ในด้านการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศพบว่าแบคทีเรียหลายกลุ่มที่สามารถตรึง
ไนโตรเจน เช่น แบคทีเรียในกลุ่มไรโซเบียม อะโซโตแบคเตอร์และไซยาโนแบคทีเรียทางด้าน
อุตสาหกรรมได้นายูแบคทีเรียมาใช้ในการผลิตสารเคมี เช่น แอซีโตน กรดแลคติก ยาปฏิชีวนะหลาย
ชนิดและผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น น้าส้มสายชู ปลาร้า ผักดอง ปลาส้ม นมเปรี้ยวและเนยแข็งเป็นต้น
ยูแบคทีเรียเป็นสาเหตุของโรคหลายชนิดที่พบในคนและสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น โรคปอดบวม วัณโรค
อหิวาตกโรค โรคฉี่หนู และ โรคแอนแทรกซ์ เป็นต้น
10
ไฟลัมในอาณาจักรมอเนอราแบ่งได้เป็น 2 ไฟลัม คือ
-ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta)
-ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta)
1.ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta)
ได้แก่ สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน (Blue-green algae) ปัจจุบันเรียกชื่อใหม่ว่า Cyanobacteria
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมไซยาโนไฟตา คือ
1. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เป็นเซลล์พวกโปรคารีโอต ไม่มี flagella
2. มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจายในเซลล์แต่ไม่ได้รวมเป็น chloroplast
3. ผนังเซลล์เป็น cellulose และ pectin
4. มีขนาดเล็ก อาจอยู่ในลักษณะ
4.1 เซลล์เดี่ยว หรือเซลล์กลุ่ม
4.2 เซลล์ที่จัดเรียงเป็นสาย
การสืบพันธุ์
1. การแบ่งตัว Binary fission.
2. การหักเป็นท่อน (fragmentation) พบในพวกที่เป็นสาย
3. สร้างสปอร์หรือสร้างเซลล์พิเศษ เช่น akinete
ประโยชน์
- เป็นผู้ผลิตอาหาร และ O2
- Spirulina หรือเกลียวทอง มี protein สูง ใช้ทาอาหารเสริมคนและสัตว์
- Nostoc Anabaena Oscillatori สามารถเพิ่มความตรึง N ทาเป็นปุ๋ ยในดิน เช่น แหนแดง
(Azolla) ซึ่ง Anabaena อยู่ช่องว่างกลางใบ
2.ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta)
สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมนี้ได้แก่ แบคทีเรีย
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมซิโซไฟดา คือ
1. มีเซลล์ขนาดเล็ก
2. ลักษณะรูปร่าง มี 3 ลักษณะคือ
2.1 รูปร่างกลม เรียกว่า coccus (coccus = เอกพจน์ cocci = พหูพจน์)
2.2 รูปร่างแบบแท่งยาว เรียกว่า bacillus (bacillus = เอกพจน์ bacilli = พหูพจน์)
2.3 รูปร่าง เกลียว เรียกว่า spirillum (spirillum = เอกพจน์ spirillum = พหูพจน์)
11
3. เซลล์รูปร่างต่าง ๆ มีการเรียงตัวทาให้เกิดลักษณะเฉพาะ เช่น แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกลมมีการ
เรียงตัวหลายแบบ
- เซลล์ทรงกลม 2 เซลล์เรียงต่อกันเรียก diplococci
- เซลล์หลายเซลล์เรียงต่อกันเป็นลูกโซ่เรียก streptococci
- เซลล์หลายเซลล์เรียงกันเป็นกลุ่มก้อนคล้ายพวงองุ่น เรียก staphylococci
- เซลล์8 เซลล์เรียงเป็นลูกบาศก์เรียก sarcina
แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกระบอก ไม่ค่อยมีแบบแผนการเรียงตัวที่เด่นชัดเท่าทรงกลม แต่อาจมี
การเรียงตัวของเซลล์เนื่องมาจากระยะการเจริญเติบโตหรือขึ้นกับสภาพของการเพาะเลี้ยงใน
อาหาร แบคทีเรียที่มีรูปร่างแบบเกลียว มักอยู่เป็นเซลล์เดี่ยว ๆ แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันทั้ง
ทางด้านความยาว จานวนเกลียว ความโค้ง
4. แหล่งที่พบแทบทุกแห่งในดินในน้า ในอากาศ แหล่งที่เป็นน้าพุร้อน เขตหิมะ ทะเลลึก
5. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการสารอาหาร
5.1 Photoautotroph
5.2 Photoheterotroph
5.3 Chemoautotroph
5.4 Chemoheterotroph
6. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการอากาศ
6.1 Aerobic bacteria
6.2 Facultative bacteria
6.3 microaerophilic bacteria
6.4Anaerobibacteria
7. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการอุณหภูมิ
7.1 Psychrophile
7.2 Mesophile
7.3 Thermophile
โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่น ๆ
1. แบคทีเรียมี ribosome ชนิด 70 s และสารพันธุกรรมเป็น DNA โดย (single circular DNA)
2. ผนังเซลล์(cell wall) ทาหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์ป้องกันเซลล์แตก
ประกอบด้วย peptidoglycan ซึ่งประกอบด้วยน้าตาล 2 ชนิด คือN-actyl glucosamine (NAG) และN-
acytyl muramic acid (NAM) และ มี amino acid หลายชนิด และlipoprotein lipopolysac teichoic acid
12
3. Capsule เป็นส่วนที่อยู่นอกผนังเซลล์สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม และทนต่อการ
ทาลายของเม็ดเลือดขาว พบแคปซูลในแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้น แบคทีเรียที่มีแคปซูลมักก่อโรค
รุนแรง
4. pilil มีลักษณะเป็นขนคล้ายแฟลกเจลลา แต่มีขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นท่อกลวง ไม่มีหน้าที่ในการ
เคลื่อนที่แต่ช่วยให้เกาะยึดติดกับผิววัสดุ และ Sex pilli ช่วยในการถ่ายทอด DNA ใน Conjugation
5. mesosome เป็นส่วนที่เยื่อหุ้มเซลล์บางส่วนยื่นเว้าเข้าไปในcytoplasm จะพบบริเวณ ที่จะมี การ
แบ่งเซลล์
6. Flagella เป็นโครงสร้างใช้ในการเคลื่อนที่ แบคทีเรียส่วนใหญ่เป็นพวกที่เคลื่อนที่ได้แฟลกเจลลา
ประกอบด้วยเส้นใยเส้นเดี่ยว ๆ ซึ่งต่างจากแฟลกเจลลาของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ แบคทีเรียอาจมีแฟลกเจล
ลา 1 เส้นจนถึงหลายร้อยเส้น และอยู่ได้หลายตาแหน่ง ส่วนของแฟลกเจลลา ประกอบด้วย 3 ส่วน
คือ basal body , hook และ filament
7. Plasmid เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซมของแบคทีเรีย ลักษณะของพลาสมิดเป็น DNA วงแหวน
และเป็นเกลียวคู่ สามารถจาลองตัวเองได้และสามารถถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได้พลาสมิดมี
หลายชนิด บางชนิดควบคุมการสืบพันธุ์แบบมีเพศของเซลล์บางชนิดควบคุมการดื้อต่อยาปฏิชีวนะ
ต่าง ๆ
8. endospore เป็นโครงสร้างที่พบในแบคทีเรียบางชนิด เป็นโครงสร้างที่ทาให้แบคทีเรียมีความ
ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้เอนโดสปอร์เกิดขึ้นภายในเซลล์และสร้างได้1 สปอร์
ต่อ 1 เซลล์จะไม่ถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ แต่ถือว่าเป็นการดารงชีพ
การสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย
ส่วนใหญ่แบคทีเรียสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เรียกว่า Transverse Binary Fission
บางชนิดมีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมได้3 รูปแบบคือ
1. Conjugation คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งด้วยการจับคู่สัมผัสกัน
โดยตรง
2. Transformation คือ การถ่ายทอด DNA ตัวเปล่า (naked DNA) หรือ DNA อิสระจากแบคทีเรีย
เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง
3. Transduction คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งโดยอาศัยไวรัส
หรือ Bacteriophage
การจาแนก Bacteria ลักษณะดังนี้
1. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปร่าง
2. ตามอาหารที่ได้รับ แบ่งเป็น
13
2.1 พวก Autotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองได้
2.2 พวก Heterotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองไม่ได้
3. การติดสีของผนังเซลล์ [ Gram stain ] แบ่งเป็น
3.1 Gram positive เป็นพวกที่ติดสีย้อมคริสตัลไวโอเลต
3.2 Gram negative เป็นพวกที่ติดสีย้อมซาฟานิน
4. การหายใจ ความต้องการใช้อากาศหรือ O2
5. ลักษณะการเลี้ยงเชื้อ : อาหาร สภาพแวดล้อม
6. ลักษณะทางแอนติเจน
ประโยชน์ของแบคทีเรีย
1. ด้านอุตสาหกรรม เช่นการผลิตอาหารหมัก ใช้ฟอกหนัง
2. ด้านการเกษตร เช่นใช้เป็นปุ๋ ย
3. การทดสอบคุณภาพน้า
4. ทางด้านการแพทย์เช่นการผลิตยาปฏิชีวนะ
5. ใช้ในเทคโนโลยีชีวภาพ โดยใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้างแบคทีเรียที่มีลักษณะต่าง ๆ
6. ช่วยย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นอาหารของพืช
โทษของแบคทีเรีย
1. ผลิตสารพิษที่เป็นอันตราย
2. ทาให้เกิดโรคต่างๆ ใน คน เช่น ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ปอดบวม วัณโรค คอตีบ สัตว์เช่น แอน
แทรกซ์ บาดทะยัก และพืช เช่น โรครากเน่า โรคใบไม้ของสาลี่
14
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-กาหนดและศึกษารายละเอียดของหัวข้อของโครงงาน
-ตัดสินใจเลือกหัวข้อโครงงาน
-ค้นคว้าหาข้อมูลที่ใช้ในการทาโครงงาน
-หาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
-สรุปและจัดทาโครงงาน
-หาข้อผิดพลาดและแก้ไข
-นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-คอมพิวเตอร์/หนังสือ
-กระดาษ
-ดินสอ/ปากกา
งบประมาณ
-100บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ♥ ศิรินทิพย์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ♥ ศิรินทิพย์
3 จัดทาโครงร่างงาน ♥ ศิรินทิพย์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ♥ ศิรินทิพย์
5 ปรับปรุงทดสอบ ♥ ศิรินทิพย์
6 การทาเอกสารรายงาน ♥ ศิรินทิพย์
7 ประเมินผลงาน ♥ ศิรินทิพย์
8 นาเสนอโครงงาน ♥ ศิรินทิพย์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.มีความรู้และความเข้าใจทั้งในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์
และเนื้อหาในเรื่องอาณาจักรมอเนอรา
2.มีทักษะการใช้คอมพิสเตอร์ในการทาโครงงานและค้นหาข้อมูล
3.ได้ความรู้พิ่มเติม และเป็นแหล่งเรียนรู้ในอินเตอร์เน็ต
15
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
การงานอาชีพและเทคโนโลยี(การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์)
วิทยาศาสตร์(ชีววิทยา)
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://sites.google.com/site/ruethairat2537/home/content2
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%
AD%E0%B8%A3%E0%B8%B2

More Related Content

What's hot

ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
Phichai Na Bhuket
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gitniphat Prom
 
2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]
Rutnapa Chonnatee
 
ความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวSupichaya Tamaneewan
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ข้อสอบโอเน็ตงานช่าง
ข้อสอบโอเน็ตงานช่างข้อสอบโอเน็ตงานช่าง
ข้อสอบโอเน็ตงานช่างAutcharapun Kanya
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
Popeye Kotchakorn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41Sirin Amornsrisatja
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสPreeyaporn Wannamanee
 
Is2
Is2Is2
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
nareudol niramarn
 
Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58
Channarong_13383
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
PornnapatYawira
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
Orawan Meekhun
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
Orawan Meekhun
 

What's hot (17)

Mosquitoes
MosquitoesMosquitoes
Mosquitoes
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]2560 project พิชญา[1]
2560 project พิชญา[1]
 
ความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าวความลับของน้ำซาวข้าว
ความลับของน้ำซาวข้าว
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
ข้อสอบโอเน็ตงานช่าง
ข้อสอบโอเน็ตงานช่างข้อสอบโอเน็ตงานช่าง
ข้อสอบโอเน็ตงานช่าง
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
 
Thai socialmedia
Thai socialmediaThai socialmedia
Thai socialmedia
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
Is2
Is2Is2
Is2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษ...
 
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์  ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
การสำรวจการใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องบนโลกออนไลน์ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียน...
 

Viewers also liked

Quantifying social selling 2015 linked in sales data
Quantifying social selling  2015 linked in sales dataQuantifying social selling  2015 linked in sales data
Quantifying social selling 2015 linked in sales data
Jill Sida
 
Remedios Para Los Que Sienten Temor
Remedios Para Los Que Sienten TemorRemedios Para Los Que Sienten Temor
Remedios Para Los Que Sienten TemorHLopezc
 
AV technology presentation v3
AV technology presentation v3AV technology presentation v3
AV technology presentation v3
John Dalgarno MBA BA DMS
 
Applicatie homepage
Applicatie homepageApplicatie homepage
Applicatie homepage
Paula90-23
 
Home and My Family p.6+189+54eng p06 f12-4page
Home and My Family p.6+189+54eng p06 f12-4pageHome and My Family p.6+189+54eng p06 f12-4page
Home and My Family p.6+189+54eng p06 f12-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
Grafico semanal del s&p 500 para el 06 04 2012
Grafico semanal del s&p 500 para el 06 04 2012Grafico semanal del s&p 500 para el 06 04 2012
Grafico semanal del s&p 500 para el 06 04 2012Experiencia Trading
 
Homework may 7
Homework may 7Homework may 7
Homework may 7hh1neke
 
Solowheel presentation seminar 1
Solowheel presentation seminar 1Solowheel presentation seminar 1
Solowheel presentation seminar 1
KateJayesh
 
Chapter 16 advertising, sales promotion & public relations
Chapter 16   advertising, sales promotion & public relationsChapter 16   advertising, sales promotion & public relations
Chapter 16 advertising, sales promotion & public relations
Mohammed Manamba
 
fotos trabajos
fotos trabajosfotos trabajos
fotos trabajoselena26
 
Dart Frog Terrarium Build
Dart Frog Terrarium BuildDart Frog Terrarium Build
Dart Frog Terrarium Build
Rami Lazarus
 
Potenze e loro proprietà
Potenze e loro proprietàPotenze e loro proprietà
Potenze e loro proprietà
Redooc
 
La Retta nel piano cartesiano
La Retta nel piano cartesianoLa Retta nel piano cartesiano
La Retta nel piano cartesiano
Rosangela Mapelli
 
Compilation History Notes (All Chapter)
Compilation History Notes (All Chapter)Compilation History Notes (All Chapter)
Compilation History Notes (All Chapter)
Fatin Nazihah Aziz
 
Presentation on tourism industry
Presentation on tourism industryPresentation on tourism industry
Presentation on tourism industryMd Tanweerul Islam
 

Viewers also liked (17)

Quantifying social selling 2015 linked in sales data
Quantifying social selling  2015 linked in sales dataQuantifying social selling  2015 linked in sales data
Quantifying social selling 2015 linked in sales data
 
Remedios Para Los Que Sienten Temor
Remedios Para Los Que Sienten TemorRemedios Para Los Que Sienten Temor
Remedios Para Los Que Sienten Temor
 
AV technology presentation v3
AV technology presentation v3AV technology presentation v3
AV technology presentation v3
 
Syed_CV_final
Syed_CV_finalSyed_CV_final
Syed_CV_final
 
Applicatie homepage
Applicatie homepageApplicatie homepage
Applicatie homepage
 
Home and My Family p.6+189+54eng p06 f12-4page
Home and My Family p.6+189+54eng p06 f12-4pageHome and My Family p.6+189+54eng p06 f12-4page
Home and My Family p.6+189+54eng p06 f12-4page
 
Grafico semanal del s&p 500 para el 06 04 2012
Grafico semanal del s&p 500 para el 06 04 2012Grafico semanal del s&p 500 para el 06 04 2012
Grafico semanal del s&p 500 para el 06 04 2012
 
Homework may 7
Homework may 7Homework may 7
Homework may 7
 
Solowheel presentation seminar 1
Solowheel presentation seminar 1Solowheel presentation seminar 1
Solowheel presentation seminar 1
 
Chapter 16 advertising, sales promotion & public relations
Chapter 16   advertising, sales promotion & public relationsChapter 16   advertising, sales promotion & public relations
Chapter 16 advertising, sales promotion & public relations
 
fotos trabajos
fotos trabajosfotos trabajos
fotos trabajos
 
Dart Frog Terrarium Build
Dart Frog Terrarium BuildDart Frog Terrarium Build
Dart Frog Terrarium Build
 
Potenze e loro proprietà
Potenze e loro proprietàPotenze e loro proprietà
Potenze e loro proprietà
 
La Retta nel piano cartesiano
La Retta nel piano cartesianoLa Retta nel piano cartesiano
La Retta nel piano cartesiano
 
Compilation History Notes (All Chapter)
Compilation History Notes (All Chapter)Compilation History Notes (All Chapter)
Compilation History Notes (All Chapter)
 
Presentation on tourism industry
Presentation on tourism industryPresentation on tourism industry
Presentation on tourism industry
 
FOTO ESCOLAR
FOTO ESCOLARFOTO ESCOLAR
FOTO ESCOLAR
 

Similar to 2558 project

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
KamolchanokPhanlek
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
thunnattapat
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
Tanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
Tanutkit Kinruean
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
Yuthtachai Chaijaroen
 
2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok 2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok
KamolchanokPhanlek
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
iamauummm
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
tangkwakamonwan
 
605 43projectcom
605 43projectcom605 43projectcom
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรดแบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด
chayanon Atoon
 
งานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอมงานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอม
0866589628
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
Jah Jadeite
 
Comnmmn
ComnmmnComnmmn
Comnmmn
Yannakorn
 
Work1
Work1Work1
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
ysmhcnboice
 
Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
SornApasorn
 
Aaaaaaaaaaa
AaaaaaaaaaaAaaaaaaaaaa
Aaaaaaaaaaa
moswin123456
 
โรค
โรคโรค
โรค
Oatty_CMU
 

Similar to 2558 project (20)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
Achi
AchiAchi
Achi
 
2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok 2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
605 43projectcom
605 43projectcom605 43projectcom
605 43projectcom
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรดแบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ฝนกรด
 
งานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอมงานเดี่ยวคอม
งานเดี่ยวคอม
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
 
Comnmmn
ComnmmnComnmmn
Comnmmn
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 
Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
 
Aaaaaaaaaaa
AaaaaaaaaaaAaaaaaaaaaa
Aaaaaaaaaaa
 
โรค
โรคโรค
โรค
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

2558 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน อาณาจักรมอเนอรา Monera ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวศิรินทิพย์ ใจจ้อย เลขที่ 23 ชั้นม.6ห้อง3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม ครูพันธ์นิดา ด่านไพบูลย์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)อาณาจักรมอเนอรา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Monera ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวศิรินทิพย์ ใจจ้อย ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม คุณครูพันธ์นิดา ด่านไพบูลย์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2558 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องากในการเรียนวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) มีการศึกษาในเรื่องของอาณาจักรต่างๆของ สิ่งมีชีวิต ซึ่งในการเรียนการสอนนั้นได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหา และความสาคัญของทุก อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต เพื่อที่จะนาไปศึกษาและเรียนรู้ต่อไปในระดับที่สูงขึ้น การทาโครงงานเรื่อง อาณาจักรมอเนอรานี้เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตที่ได้เรียน มาในห้องเรียน ดิฉันคิดว่าเป็นสิ่งที่ทาให้ตัวดิฉันและผู้ที่สนใจในอาณาจักรมอเนอราได้รับรายละเอียด และเนื้อหาเพิ่มเติมจากการเรียนในห้องเรียนเพิ่มขึ้น และสามารถนาไปใช้เพื่อการอ่านในการสอบหรือ เพื่อเพิ่มความเข้าใจของตนเองในเรื่องนี้ด้วย วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในเรื่องอาณาจักรมอเนอรา 2.เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องอาณาจักรมอเนอราเพิ่มมากขึ้น 3.เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ 4.เพื่อให้ทราบรายละเอียดของอาณาจักรมอเนอรา ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ในการค้นคว้าเรื่องอาณาจักรมอเนอราประกอบไปด้วย 1.โครงสร้าง 2.ประเภท 3.ลักษณะ4.การจาแนก 5.ประโชน์และโทษ
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) อาณาจักรมอเนอรา โครงสร้างของแบคทีเรีย 1. เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีขนาดเล็กประมาณ 1- 5 ไมโครเมตร โครงสร้างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell) มีผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคน 2. ภายในเซลล์ไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรมและโครงสร้างอื่นหลายชนิด เช่น ร่างแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอโรพลาสต์มีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม คือ ไรโบโซม 3. แบคทีเรียที่พบส่วนใหญ่ เซลล์เดียวหรืออาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นสาย เช่น 3.1 ทรงกลม
  • 4. 4 3.1 ทรงท่อน 3.3 ทรงเกลียว สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้มีความสาคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ กล่าวคือ 1. "กลุ่มแบคทีเรีย" ทาหน้าที่เป็นผู้ย่อยอินทรีย์สารก่อให้เกิดการหมุนเวียนสารอนินทรีย์และ อินทรีย์สารต่างๆ 2. "สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน" ทาหน้าที่เป็นผู้ผลิตในระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิต 2 กลุ่มนี้ยังมีความสาคัญในแง่เทคโนโลยีชีวภาพซึ่งได้มีการศึกษาวิจัยเพิ่มมากขึ้น เพื่อ นาไปใช้ประโยชน์ในด้านการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์และการศึกษาพันธุ ศาสตร์ซึ่งช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดียิ่งขึ้น กลุ่มอาณาจักรมอเนอรา เป็นออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria) และ อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria)
  • 5. 5 1. อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย (Subkingdom Archaebacteria) เป็นแบคทีเรียที่ผนังเซลล์ไม่มีสารเพปทิโดไกลแคน สามารถดารงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่ สิ่งมีชีวิตกลุ่มอื่นอาจไม่สามารถดารงอยู่ได้เช่น ในแหล่งน้าพุร้อน ทะเลที่มีน้าเค็มจัด ในบริเวณที่มี ความเป็นกรดสูงและบริเวณทะเลลึกเป็นต้น แบ่งได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1.2 กลุ่มครีนาร์เคียโอตา ซึ่งชอบอุณหภูมิสูงและกรดจัด กลุ่มครีนาร์เคียโอตา 2.อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria) ยูแบคทีเรียเป็นแบคทีเรียที่สามารถพบได้ทั้งในดิน น้า อากาศ อาหาร นม และในร่างกายของ สิ่งมีชีวิตอื่น สามารถพบได้ทั้ง ในน้าเค็ม น้าจืด น้ากร่อย ในธารน้าแข็ง หรือแม้กระทั่งแหล่งน้าพุร้อน เป็นต้น นอกจากนี้ยูแบคทีเรียมีกระบวนการเมแทบอลิซึมในการดารงชีวิตที่หลากหลาย จึงอาจกล่าว ได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทสาคัญต่อระบบนิเวศ ยูแบคทีเรียแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆดังนี้
  • 6. 6 2.1 กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดและมีกระบวนการเมแทบอลิซึมที่หลากหลายบางกลุ่ม สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้คล้ายพืชบางกลุ่มสามารถดารงชีวืตโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และให้ ซัลเฟอร์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย (purple sulfur bacteria) บางกลุ่มมีบทบาทช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนใน ดิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น Rhizobium sp. ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว เป็น ต้น 2.2 กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias) เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นปรสิตในเซลล์และทาให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรค โกโนเรียหรือหนองใน เป็นต้น
  • 7. 7 2.3 กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes) เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่มีรูปทรงเกลียว มีความยาวประมาณ 0.25 มิลลิเมตร ยูแบคทีเรียในกลุ่ม นี้มีทั้งดารงชีวิตแบบอิสระและบางสปีชีส์เป็นสาเหตุของ โรคซิฟิลิส โรคฉี่หนู เป็นต้น 2.4 แบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria) เป็นยูแบคทีเรียที่พบแพร่กระจายทั่วไปในดิน อากาศ บางสปีชีส์สามารถผลิตกรดแลกติกได้เช่น Lactobacillus sp. จึงนามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารหลายชนิด เช่น การทาเนย ผักดอง และโยเกิร์ต เป็นต้น บางสปีชีส์ เช่น Streptomyces sp. ใช้ยาทาปฏิชีวนะ เช่น ยาสเตร็บ โตมัยซิน ยาเตตราไซคลิน เป็นต้น ยูแบคทีเรียกลุ่มนี้บางสปีชีส์ เช่น Bacillus sp. สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ทาให้ ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดีและบางชนิดเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคแอนแทรกซ์ ยูแบคทีเรียแกรมบวกอีกกลุ่มหนึ่ง เป็นกลุ่มที่ไม่มีผนังเซลล์มีเพียงเยื่อหุ้มเซลล์ที่ประกอบด้วยชั้น ของไขมันได้แก่ ไมโคพลาสมา (mycoplasms) เป็นเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดประมาณ 0.2- 0.3 ไมโครเมตร สามารถเจริญและสืบพันธุ์ได้นอกเซลล์โฮสต์ ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ สิ่งมีชีวิตอื่น แต่มีบางสปีชีส์ที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว
  • 8. 8 2.5 ไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria) เป็นยูแบคทีเรียที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้มีสารสีเช่น คลอโรฟิลล์เอ แคโรทีนอยด์ และโฟ โคบิลินอยู่ภายในถุงแบนๆที่มีเยื่อหุ้มเซลล์พบแพร่กระจายในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายทั้งในแหล่ง น้าจืด น้าเค็ม บางสปีชีส์พบในบ่อน้าพุร้อน และภายใต้น้าแข็งของมหาสมุทร เป็นต้น จากหลักฐาน ซากดึกดาบรรพ์ทาให้นักวิทยาศาสตร์คาดคะเนได้ว่าไซยาโนแบคทีเรียทาให้ออกซิเจนในบรรยากาศ เพิ่มขึ้น มากขึ้นในโลกยุคนั้นและก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนใน ปัจจุบัน ไซยาโนแบคทีเรียเป็นผู้ผลิตที่สาคัญในระบบนิเวศและบางชนิดสามารถตรึงแก๊สไนโตรเจนใน อากาศให้เป็นสารประกอบไนเตรต เช่น แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และออสซิลลาทอ เรีย (Oscillatoria) Anabaena
  • 9. 9 Nostoc Oscillatoria แบคทีเรียมีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งในระบบนิเวศ เนื่องจากมีการดารงชีวิตแบบภาวะย่อยสลายจึง ทาให้เกิดการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ มีการนาแบคทีเรียมาใช้กาจัดขยะที่มีมากในเมืองใหญ่ ใช้ สลายคราบน้ามันบริเวณชายฝั่งและบริเวณทะเล รวมทั้งกาจัดสารเคมีที่ตกค้างจากการเกษตรอีกด้วย นอกจากนี้อาร์เคียแบคทีเรียบางกลุ่มสามารถสลายกากของแข็งจากขยะให้เป็นปุ๋ ยซึ่งสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ต่อไป ในด้านการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศพบว่าแบคทีเรียหลายกลุ่มที่สามารถตรึง ไนโตรเจน เช่น แบคทีเรียในกลุ่มไรโซเบียม อะโซโตแบคเตอร์และไซยาโนแบคทีเรียทางด้าน อุตสาหกรรมได้นายูแบคทีเรียมาใช้ในการผลิตสารเคมี เช่น แอซีโตน กรดแลคติก ยาปฏิชีวนะหลาย ชนิดและผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น น้าส้มสายชู ปลาร้า ผักดอง ปลาส้ม นมเปรี้ยวและเนยแข็งเป็นต้น ยูแบคทีเรียเป็นสาเหตุของโรคหลายชนิดที่พบในคนและสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น โรคปอดบวม วัณโรค อหิวาตกโรค โรคฉี่หนู และ โรคแอนแทรกซ์ เป็นต้น
  • 10. 10 ไฟลัมในอาณาจักรมอเนอราแบ่งได้เป็น 2 ไฟลัม คือ -ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta) -ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) 1.ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) ได้แก่ สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน (Blue-green algae) ปัจจุบันเรียกชื่อใหม่ว่า Cyanobacteria ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมไซยาโนไฟตา คือ 1. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เป็นเซลล์พวกโปรคารีโอต ไม่มี flagella 2. มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจายในเซลล์แต่ไม่ได้รวมเป็น chloroplast 3. ผนังเซลล์เป็น cellulose และ pectin 4. มีขนาดเล็ก อาจอยู่ในลักษณะ 4.1 เซลล์เดี่ยว หรือเซลล์กลุ่ม 4.2 เซลล์ที่จัดเรียงเป็นสาย การสืบพันธุ์ 1. การแบ่งตัว Binary fission. 2. การหักเป็นท่อน (fragmentation) พบในพวกที่เป็นสาย 3. สร้างสปอร์หรือสร้างเซลล์พิเศษ เช่น akinete ประโยชน์ - เป็นผู้ผลิตอาหาร และ O2 - Spirulina หรือเกลียวทอง มี protein สูง ใช้ทาอาหารเสริมคนและสัตว์ - Nostoc Anabaena Oscillatori สามารถเพิ่มความตรึง N ทาเป็นปุ๋ ยในดิน เช่น แหนแดง (Azolla) ซึ่ง Anabaena อยู่ช่องว่างกลางใบ 2.ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta) สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมนี้ได้แก่ แบคทีเรีย ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมซิโซไฟดา คือ 1. มีเซลล์ขนาดเล็ก 2. ลักษณะรูปร่าง มี 3 ลักษณะคือ 2.1 รูปร่างกลม เรียกว่า coccus (coccus = เอกพจน์ cocci = พหูพจน์) 2.2 รูปร่างแบบแท่งยาว เรียกว่า bacillus (bacillus = เอกพจน์ bacilli = พหูพจน์) 2.3 รูปร่าง เกลียว เรียกว่า spirillum (spirillum = เอกพจน์ spirillum = พหูพจน์)
  • 11. 11 3. เซลล์รูปร่างต่าง ๆ มีการเรียงตัวทาให้เกิดลักษณะเฉพาะ เช่น แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกลมมีการ เรียงตัวหลายแบบ - เซลล์ทรงกลม 2 เซลล์เรียงต่อกันเรียก diplococci - เซลล์หลายเซลล์เรียงต่อกันเป็นลูกโซ่เรียก streptococci - เซลล์หลายเซลล์เรียงกันเป็นกลุ่มก้อนคล้ายพวงองุ่น เรียก staphylococci - เซลล์8 เซลล์เรียงเป็นลูกบาศก์เรียก sarcina แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกระบอก ไม่ค่อยมีแบบแผนการเรียงตัวที่เด่นชัดเท่าทรงกลม แต่อาจมี การเรียงตัวของเซลล์เนื่องมาจากระยะการเจริญเติบโตหรือขึ้นกับสภาพของการเพาะเลี้ยงใน อาหาร แบคทีเรียที่มีรูปร่างแบบเกลียว มักอยู่เป็นเซลล์เดี่ยว ๆ แต่ละชนิดมีความแตกต่างกันทั้ง ทางด้านความยาว จานวนเกลียว ความโค้ง 4. แหล่งที่พบแทบทุกแห่งในดินในน้า ในอากาศ แหล่งที่เป็นน้าพุร้อน เขตหิมะ ทะเลลึก 5. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการสารอาหาร 5.1 Photoautotroph 5.2 Photoheterotroph 5.3 Chemoautotroph 5.4 Chemoheterotroph 6. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการอากาศ 6.1 Aerobic bacteria 6.2 Facultative bacteria 6.3 microaerophilic bacteria 6.4Anaerobibacteria 7. การแบ่งแบคทีเรียตามความต้องการอุณหภูมิ 7.1 Psychrophile 7.2 Mesophile 7.3 Thermophile โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่น ๆ 1. แบคทีเรียมี ribosome ชนิด 70 s และสารพันธุกรรมเป็น DNA โดย (single circular DNA) 2. ผนังเซลล์(cell wall) ทาหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์ป้องกันเซลล์แตก ประกอบด้วย peptidoglycan ซึ่งประกอบด้วยน้าตาล 2 ชนิด คือN-actyl glucosamine (NAG) และN- acytyl muramic acid (NAM) และ มี amino acid หลายชนิด และlipoprotein lipopolysac teichoic acid
  • 12. 12 3. Capsule เป็นส่วนที่อยู่นอกผนังเซลล์สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม และทนต่อการ ทาลายของเม็ดเลือดขาว พบแคปซูลในแบคทีเรียบางชนิดเท่านั้น แบคทีเรียที่มีแคปซูลมักก่อโรค รุนแรง 4. pilil มีลักษณะเป็นขนคล้ายแฟลกเจลลา แต่มีขนาดเล็ก มีลักษณะเป็นท่อกลวง ไม่มีหน้าที่ในการ เคลื่อนที่แต่ช่วยให้เกาะยึดติดกับผิววัสดุ และ Sex pilli ช่วยในการถ่ายทอด DNA ใน Conjugation 5. mesosome เป็นส่วนที่เยื่อหุ้มเซลล์บางส่วนยื่นเว้าเข้าไปในcytoplasm จะพบบริเวณ ที่จะมี การ แบ่งเซลล์ 6. Flagella เป็นโครงสร้างใช้ในการเคลื่อนที่ แบคทีเรียส่วนใหญ่เป็นพวกที่เคลื่อนที่ได้แฟลกเจลลา ประกอบด้วยเส้นใยเส้นเดี่ยว ๆ ซึ่งต่างจากแฟลกเจลลาของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ แบคทีเรียอาจมีแฟลกเจล ลา 1 เส้นจนถึงหลายร้อยเส้น และอยู่ได้หลายตาแหน่ง ส่วนของแฟลกเจลลา ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ basal body , hook และ filament 7. Plasmid เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซมของแบคทีเรีย ลักษณะของพลาสมิดเป็น DNA วงแหวน และเป็นเกลียวคู่ สามารถจาลองตัวเองได้และสามารถถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได้พลาสมิดมี หลายชนิด บางชนิดควบคุมการสืบพันธุ์แบบมีเพศของเซลล์บางชนิดควบคุมการดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ต่าง ๆ 8. endospore เป็นโครงสร้างที่พบในแบคทีเรียบางชนิด เป็นโครงสร้างที่ทาให้แบคทีเรียมีความ ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้เอนโดสปอร์เกิดขึ้นภายในเซลล์และสร้างได้1 สปอร์ ต่อ 1 เซลล์จะไม่ถือว่าเป็นการสืบพันธุ์ แต่ถือว่าเป็นการดารงชีพ การสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย ส่วนใหญ่แบคทีเรียสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เรียกว่า Transverse Binary Fission บางชนิดมีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมได้3 รูปแบบคือ 1. Conjugation คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งด้วยการจับคู่สัมผัสกัน โดยตรง 2. Transformation คือ การถ่ายทอด DNA ตัวเปล่า (naked DNA) หรือ DNA อิสระจากแบคทีเรีย เซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง 3. Transduction คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งโดยอาศัยไวรัส หรือ Bacteriophage การจาแนก Bacteria ลักษณะดังนี้ 1. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปร่าง 2. ตามอาหารที่ได้รับ แบ่งเป็น
  • 13. 13 2.1 พวก Autotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองได้ 2.2 พวก Heterotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองไม่ได้ 3. การติดสีของผนังเซลล์ [ Gram stain ] แบ่งเป็น 3.1 Gram positive เป็นพวกที่ติดสีย้อมคริสตัลไวโอเลต 3.2 Gram negative เป็นพวกที่ติดสีย้อมซาฟานิน 4. การหายใจ ความต้องการใช้อากาศหรือ O2 5. ลักษณะการเลี้ยงเชื้อ : อาหาร สภาพแวดล้อม 6. ลักษณะทางแอนติเจน ประโยชน์ของแบคทีเรีย 1. ด้านอุตสาหกรรม เช่นการผลิตอาหารหมัก ใช้ฟอกหนัง 2. ด้านการเกษตร เช่นใช้เป็นปุ๋ ย 3. การทดสอบคุณภาพน้า 4. ทางด้านการแพทย์เช่นการผลิตยาปฏิชีวนะ 5. ใช้ในเทคโนโลยีชีวภาพ โดยใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมสร้างแบคทีเรียที่มีลักษณะต่าง ๆ 6. ช่วยย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นอาหารของพืช โทษของแบคทีเรีย 1. ผลิตสารพิษที่เป็นอันตราย 2. ทาให้เกิดโรคต่างๆ ใน คน เช่น ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ปอดบวม วัณโรค คอตีบ สัตว์เช่น แอน แทรกซ์ บาดทะยัก และพืช เช่น โรครากเน่า โรคใบไม้ของสาลี่
  • 14. 14 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -กาหนดและศึกษารายละเอียดของหัวข้อของโครงงาน -ตัดสินใจเลือกหัวข้อโครงงาน -ค้นคว้าหาข้อมูลที่ใช้ในการทาโครงงาน -หาข้อมูลเพิ่มเติมจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ -สรุปและจัดทาโครงงาน -หาข้อผิดพลาดและแก้ไข -นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -คอมพิวเตอร์/หนังสือ -กระดาษ -ดินสอ/ปากกา งบประมาณ -100บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ♥ ศิรินทิพย์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ♥ ศิรินทิพย์ 3 จัดทาโครงร่างงาน ♥ ศิรินทิพย์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ♥ ศิรินทิพย์ 5 ปรับปรุงทดสอบ ♥ ศิรินทิพย์ 6 การทาเอกสารรายงาน ♥ ศิรินทิพย์ 7 ประเมินผลงาน ♥ ศิรินทิพย์ 8 นาเสนอโครงงาน ♥ ศิรินทิพย์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.มีความรู้และความเข้าใจทั้งในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ และเนื้อหาในเรื่องอาณาจักรมอเนอรา 2.มีทักษะการใช้คอมพิสเตอร์ในการทาโครงงานและค้นหาข้อมูล 3.ได้ความรู้พิ่มเติม และเป็นแหล่งเรียนรู้ในอินเตอร์เน็ต