SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ประโยชน์ของแบคทีเรีย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นายณัฐภัทร หอมทอง เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 5
2. นางสาวธัญสุดา มหาวงศนันท์ เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายณัฐภัทร หอมทอง เลขที่ 6
2. นางสาวธัญสุดา มหาวงศนันท์ เลขที่ 7
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
แบคทีเรียกับประโยชน์ในด้านต่างๆ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Benefits of Bacteria
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นายณัฐภัทร หอมทอง
2. นางสาวธัญสุดา มหาวงศนันท์
ระยะเวลาดาเนินงาน :
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันนี้ เมื่อเรากล่าวถึงแบคทีเรีย หลายคนมักจะคิดตลอดว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดี หากเข้าไปในร่างกายของ
คนเราจะกลายเป็นเชื้อโรคหรือปรสิตที่สะสมในตัวเรา แต่นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของแบคทีเรีย และหลายคนยังไม่ทราบ
ว่าแบคทีเรียเหล่านั้นยังมีประโยชน์แฝงอยู่ด้วย ตัวอย่างเช่น การนาสาหร่าย spirulina sp. มาทาเป็นผลิตภัณฑ์เสริม
อาหารที่มีโปรตีนมากถึง 60% หรือแม้กระทั่งผลิตภัณฑ์ปรุงรสอาหารที่ใช้ตามบ้านทั่วไป เช่น เต้าเจี๊ยว ซี้อิ้ว เหล่านี้
จัดเป็นผลิตภัณฑ์จากแบคทีเรียทั้งหมด รวมถึงทางการแพทย์ ณ ปัจจุบันก็เริ่มนามาใช้ประโยชน์แล้ว
ทางผู้จัดทาจึงได้คิดริเริ่มทาโครงงานคอมพิวเตอร์ชุดนี้ขึ้นมา เพื่อเป็นสื่อกลางในการให้ความรู้ความเข้าใจที่
ถูกต้องเกี่ยวกับแบคทีเรีย พร้อมทั้งให้ความรู้ความเข้าใจที่ละเอียดขึ้นเพิ่มเติมจากสิ่งที่รู้มาเกี่ยวกับแบคทีเรีย ทาให้
ทางผู้จัดทาต้องมีการลงมือศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆเพิ่มขึ้น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความละเอียดและถูกต้อง เพื่อให้
เพียงพอต่อการสนับสนุนประเด็นและครอบคลุมในหัวข้อโครงงานนี้ เพื่อจะสามารถนาไปใช้ประโยชน์และนาไปเป็น
แบบอย่างในการจัดทาโครงงานในรุ่นต่อๆไป หรือนาไปเป็นความรู้ต่อยอดสาหรับการทาหัวข้ออื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ด้วย
ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้มาทาในวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีมี
ผลต่อชีวิตประจาวันอย่างมาก นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางของทุกๆคน ในปัจจุบันนี้คนที่ใช้เทคโนโลยีมีเพิ่มมากขึ้นจากเดิม
ในอดีต ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีที่ทางผู้จัดทานามาปรับใช้และศึกษาค้นคว้าในรายวิชานี้ เพราะดังที่กล่าวมาข้างต้นว่าเทคโนโลยี
เป็นศูนย์กลางของทุกๆสิ่งในโลกนี้ การนามาปรับใช้ในวิชานี้ เปรียบเสมือนการใช้ความรู้เรื่องของเทคโนโลยีมาปรับใช้
ในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประสบผลสาเร็จได้รวดเร็วขึ้นด้วย
3
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้ให้กับผู้ที่สนใจศึกษา
2. เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้ประเภทหนึ่ง สามารถนาไปใช้ในการสอนของคณะครูได้
3. เพื่อเป็นวิทยาทานต้นแบบของโครงงาน สามารถนาไปศึกษาและพัฒนาต่อยอดได้
4. เพื่อเป็นตัวอย่างของโครงงานคอมพิวเตอร์ในรุ่นต่อๆไป
ขอบเขตโครงงาน
การทาโครงงานนี้จัดทาขึ้นในลักษณะเป็นโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา กล่าวคือ จัดว่าเป็นโครงงาน
ประเภทให้ความรู้ด้วย ในลักษณะของโครงงานนี้จะนาเสนอเกี่ยวกับเรื่องราวของแบคทีเรีย แหล่งที่อยู่ การดารงชีวิต
ของมัน กลุ่มของแบคทีเรีย โดยในโครงงานนี้จะนาเสนอข้อมูลที่ไม่ใช้ภาษาทางวิชาการมากนัก หรือศัพท์ต่างๆ อาทิ
เช่น ศัพท์ทางการแพทย์ ศัพท์ทางชีววิทยา เป็นต้น ทางผู้จัดทาจะพยายามจะละหรือใช้คาอื่นแทน เพื่อให้เกิดการ
อ่านแล้วเข้าใจและไม่สะดุดระหว่างการอ่านด้วย ในส่วนข้อจากัดของโครงงาน คือส่วนความรู้หรือหลักการและทฤษฎี
อาจจะไม่ครอบคลุมในทุกๆเรื่อง หรือบางเรื่องที่เป็นวิชาการ รวมถึงวิจัยทางการแพทย์ที่ซับซ้อนหรือต้องใช้ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ ทางผู้จัดทาจึงทาการตัดออกจากโครงงานนี้ เพียงเพื่อไม่ให้เกิดการสับสนและเข้าใจผิดในประเด็น
หัวข้อของโครงงานนี้
หลักการและทฤษฎี
แบคทีเรีย (Bacteria) เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งซึ่งมีขนาดเล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น (Microorganism)
มีอยู่ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม แบคทีเรียบางชนิดสามารถทาให้เกิดโรคในมนุษย์ได้ ในขณะเดียวกันก็มีแบคทีเรียบางชนิดที่
มีประโยชน์ต่อร่างกายมนุษย์เป็นอย่าง ยิ่ง แบคทีเรียส่วนใหญ่สามารถอยู่เป็นอิสระนอกร่างกายมนุษย์ได้ มีเพียงบาง
ชนิดเท่านั้นที่จาเป็นจะต้องอาศัยอยู่ในเซลล์ของมนุษย์เพื่อการดารงชีวิต
รูปร่างของแบคทีเรีย
 บาซิลลัส (bacillus) มีรูปร่าง เป็นท่อน หรือเป็นแท่งเช่น Bacillus, Clostridium, Pseudomonas,
Salmonella
o สเตรปโทบาซิลลัส (Streptobacillus) เมื่อแบ่งเซลล์แล้วเรียงตัวต่อเป็นสายยาว
o ท่อนโค้ง (curverod) เช่น Vibrio
 ทรงกลมหรือค็อกคัส (cocus) เช่น
o ไมโครค็อกคัส (Micrococcus) เป็นแบคทีเรีย เซลล์เดี่ยวขนาดเล็ก
o ดิโพค็อกคัส (Diplococcus) เมื่อแบ่งเซลล์แล้วติดกันเป็นคู่
o สเตรปโทค็อกคัส (Streptococcus) แบ่งตัว เรียงตัวเป็นสายยาว เหมือนโซ่
o สเตรฟิโลค็อกคัส (Straphylococcus) เป็นลักษณะของ เซลทรงกลมแบ่งตัวหลายระนาบอยู่
ติดกันเป็นกลุ่มคล้ายพวงองุ่น เช่น Straphylococcus aureus
 สไปโรคีท (Spirochete) รูปร่างบิดเป็นเกลียว ผนังเซลล์ยืดหยุ่นได้ เช่น Campylobacter jejuni
การเพิ่มจานวนของแบคทีเรีย
แบคทีเรียขยายพันธุ์โดยการแบ่งตัวแบบทวิภาค (binary fission) คือแบ่งจากหนึ่งเป็นสองเซลเท่าๆกัน
ระยะเวลาแบ่งเซลเรียกว่า generation time ซึ่งแบคทีเรียแต่ละชนิดจะใช้เวลาไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับชนิดของแบคทีเรีย
และ สภาพแวดล้อม
4
โครงสร้างของแบคทีเรีย
แบคทีเรียทุกชนิดมีโครงสร้างที่เป็นองค์ประกอบเซลล์ ได้แก่
 ผนังเซลล์ (cell wall)
 เซลล์เมมเบรน (cell membrane)
 ไซโทพลาสซึม (cytoplasm)
 โครโมโซมเดี่ยว (single chromosome)
 ไรโบโซม (ribosomes)
ในขณะที่แบคทีเรียบางชนิดจะมี
 แคปซูล (capsules)
 ไกโคแคลิกซ์ (glycocalyx)
 พิลไล (pili) หรือฟิมเบรีย (fimbriae)
 มีโซโซม (mesosome)
 แฟลกเจลลา (flagella)
 อินคลูชันแกรนูล (inclusion granule)
 สปอร์ (bacterial spore)
กลุ่มของสิ่งมีชีวิตประเภทแบคทีเรีย
อาณาจักรย่อยอาร์เคีย (Subkingdom Archaea) : สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรย่อยอาร์เคีย เติบโตได้ใน
สิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอื่นอาศัยอยู่ไม่ได้ เช่น อุณหภูมิสูง ความดันสูง ซึ่งสามารถจาแนกได้เป็น 3 พวกคือ
1. พวกยูริอาร์คีโอตา (Euryarchaeota) แบ่งได้ 2 กลุ่มย่อย ได้แก่
- กลุ่มเมทาโนเจน (Metanogen) เป็นพวกที่ผลิตแก๊สมีเทน เติบโตในที่ที่ไม่มีออกซิเจน ในธรรมชาติ
อาจพบได้ตามตะกอนก้นทะเลสาบ แหล่งน้าที่เป็นโคลนตม หรือทางเดินอาหารของสัตว์พวกวัวควาย รวมทั้ง
ภายในทางเดินอาหารของปลวกบางชนิด จึงสามารถนาอาร์เคียกลุ่มนี้ในกระบวนการหมักแก๊สชีวภาพ
เป็นประโยชน์แก่เกษตรกรในการหมักขยะเหลือทิ้งร่วมกับมูลสัตว์ใช้เป็นแก๊สหุงต้มในครัวเรือน
- กลุ่มเอกซ์ทรีม ฮาโลไฟล์ (Extreme halophile) เป็นอาร์เคียที่ชอบความเค็มจัด พบในแหล่งที่มี
เกลือเข้มข้น เช่น ทะเลสาบ Great salt lake หรือทะเล Dead sea หรือตามไหหมักกะปิ ปลาร้า น้าปลา
ปลาเค็ม เป็นต้น อาร์เคียพวกนี้มีสารสีแบคเทอริโอโรดอปซิน (Bacteriorhodopsin) ถ้ามีอยู่มากทาให้เห็น
เป็นสีแดงม่วง สารสีชนิดนี้ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ และมีลักษณะเหมือนกับสารสีที่อยู่ในเรติ
นาของคน
2. พวกครีนาคีโอตา (Crenachaeota)
เป็นอาร์เคียที่อยู่ในที่อุณหภูมิสูง (Extreme thermophile) และยังมีบางชนิดที่ชอบความเป็น
กรดจัด (Acidophile) พบอยู่ตามแหล่งน้าพุร้อน
อาราจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria) เป็นโพรคารีโอตที่มีความหลากหลายมาก
ที่สุดกลุ่มหนึ่ง มีทั้งพวกที่ไม่ต้องการออกซิเจน และต้องการออกซิเจนในการเจริญเติบโต เซลล์มีขนาดเล็ก
ประมาณ 1 - 5 ไมโครเมตรมีผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคนภายในเซลล์ ไม่มีเยื่อหุ้มสาร
พันธุกรรม มีรูปร่าง 3 แบบ ได้แก่ รูปทรงกลม (coccus) รูปทรงท่อน (bacillus) รูปทรงเกลียว (spirillum)
5
การดารงชีวิตสามารถสร้างอาหารเองได้โดยใช้พลังงานจากแสง (photosynthesis) หรือใช้พลังจากปฏิกิริยา
เคมี (chemosynthesis) เช่น ซัลเฟอร์แบคทีเรีย แต่ส่วนใหญ่สร้างอาหารเองไม่ได้ ปัจจุบันมีการจัดพวกโดย
อาศัยเทคนิคทางชีววิทยาระดับโมเลกุลมาช่วย จาแนกได้ 5 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดและมีกระบวนการเมทาบอลิซึมที่หลากหลาย บางกลุ่ม
สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้คล้ายพืช บางกลุ่มสามารถดารงชีวิตได้โดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์H2S) และใช้
ซัลเฟอร์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย (purple sulfer bacteria) บาง
กลุ่มมีบทบาทช่วยตรึงแกสไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนในดิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ
การเจริญเติบโตของพืช เช่น Rhizobium sp. ในปมรากพืชตระกูลถั่ว
กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias)
เป็นพวกปรสิตที่อาศัยอยู่ได้เฉพาะในเซลล์ของสัตว์ โดยอาศัยเซลล์ของผู้ให้อาศัย (Host) เป็นแหล่ง
ของ ATP ผนังเซลล์เป็นแกรมลบของ ซึ่งจะต่างจากพวกอื่นคือ ไม่มีเพปทิโดไกลแคน ตัวอย่างที่สาคัญที่รู้จัก
กันดี คือ Chlamydias trachomatis เป็นเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดตาบอด และเป็นสาเหตุของโรคหนองในเทียม
(nongonococcal uretritis) และ Neisseria gonorrhoea เป็นสาเหตุของโรคหนองในแท้ (Gonorrhoeae)
ซึ่งทั้งหนองในเทียมและหนองในแท้ จัดเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes)
มีรูปทรงเกลียว ดารงชีวิตแบบอิสระ แต่บางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรค เช่น Treponema pallidum
เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส และ Leptospira interrogans เป็นสาเหตุของโรคฉี่หนู
กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria)
แบคทีเรียในกลุ่มนี้จะเป็นแกรมบวกทั้งหมด แต่ก็มีบางพวกที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพวกแกรมลบ
ตัวอย่างที่รู้จักกันดีคือ แอกทิโนไมซิส (Actinomyces sp.) เป็นเซลล์เรียงต่อกันเป็นสายคล้ายเชื้อรา
 แอกทิโนไมซิส 2 ชนิด ก่อให้เกิดโรคที่สาคัญคือ วัณโรคและโรคเรื้อน แต่พวกที่ดารงชีวิตอย่างอิสระ
หลายชนิด จะก่อให้เกิดการเน่าสลายของสารอินทรีย์ในดิน ก่อให้เกิดกลิ่นที่แสดงถึงความอุดม
สมบูรณ์ของดิน
 แบคทีเรียในจีนัส สเตรปโตไมซิส (Streptomyces sp.) ถูกนามาใช้ในการผลิตยาปฏิชีวนะ
โดยเฉพาะยาสเตรปโตมัยซิน (Streptomycin) ยาเตตราไซคลิน
 จีนัสแลกโตบาซิลลัส (Lactobacillus sp.) เป็นพวกผลิตกรดแลกติกได้ จึงนามาใช้ในอุตสาหกรรม
อาหารได้แก่ การทาเนย ผักดองและโยเกิร์ต เป็นต้น
 จีนัสบาซิลลัส (Bacillus sp.) สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ทาให้ทนทานต่อ
สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดี บางชนิดเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคแอนแทรกซ์
กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria)
เป็นแบคทีเรียที่มีทั้งพวกเซลล์เดี่ยวๆ และพวกที่อยู่เป็นกลุ่ม Cyanobacteria จะมีอยู่ทุกหนทุกแห่ง
ในที่ๆมีความชื้น เป็นแหล่งผลิตอาหารที่สาคัญในระบบนิเวศ เพราะสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ มี
คลอโรฟิลล์ เอ แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลิน นักวิทยาศาสตร์คาดว่า ไซยาโนแบคทีเรียเป็นพวกทาให้
ออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้นก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนในปัจจุบัน
6
เช่น แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และออสิลลาทอเรีย (Oscillatoria) และยังสามารถตรึง
แก๊สไนโตเจนในอากาศ ให้เป็นสารประกอบไนเตรต
ประโยชน์ของแบคทีเรีย
1. เนื่องจากมีการดารงชีวิตแบบภาวะย่อยสลาย (Decomposer) จึงทาให้เกิดการหมุนเวียนสารในระบบ
นิเวศ มีการนามาใช้กาจัดขยะที่มีมากในเมืองใหญ่
2. ใช้สลายคราบน้ามันบริเวณชายฝั่งและในทะเล
3. ใช้กาจัดสารเคมีตกค้างจากการเกษตร
4. แบคทีเรียที่สามารถตรึงไนโตรเจน ช่วยเพิ่มไนโตรเจนในดิน
5. ใช้ผลิตสารเคมีเช่น แอซีโตน กรดแลกติก
6. ใช้ผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น น้าส้มสายชู ปลาร้า ผักดอง ปลาส้ม นมเปรี้ยว และเนยแข็ง
7. ใช้ในการโคลนยีน ในกระบวนการพันธุวิศวกรรม
8. ใช้ในการผลิตยาปฏิชีวนะ เช่น สเตรปโตมัยซิน (Streptomyces griseus) คลอแรมฟินิคอล
(Streptomyces venezuelae) ออรีโอมัยซิน (Streptomyces aureofacien)
9. ใช้เป็นปุ๋ย เช่น ไรโซเบียม (Rhizobium sp.) และอะโซแบคเตอร์ (Azobactor sp.) เป็นแบคทีเรียที่ตรึง
ไนโตรเจนในอากาศได้ (เปลี่ยน N2NO3) ไนตริไฟอิงแบคทีเรีย (เปลี่ยนNH3NO3)
10. ใช้ฟอกหนัง โดยแบคทีเรียทาให้ขนร่วง เนื้อเปื่อยยุ่ยออกจากหนัง
11. ใช้ในการศึกษาวิจัยชีววิทยาพื้นฐาน ประยุกต์ และพันธุวิศวกรรม -แบคทีเรียถูกใช้เป็นตัวอย่างเซลล์
สาหรับทดลอง เพราะมีโครงสร้างเซลล์ไม่ซับซ้อน วัฏจักรชีวิตสั้น สืบพันธุ์เร็ว นาDNAอื่นเข้าไปใส่ได้โดย
ใช้พลาสมิด
บทความที่เกี่ยวข้องกับใช้ประโยชน์ของแบคทีเรีย
“แบคทีเรียในดินช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชได้”
แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แบคทีเรียในดินหลายชนิดอาศัยและเจริญเติบโต
ร่วมกับรากพืช แบคทีเรียบริเวณรากพืชบางสายพันธุ์เป็นประโยชน์ต่อพืช นักวิทยาศาสตร์เรียกแบคทีเรียกลุ่มนี้ว่า
“แบคทีเรียในดินที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช” (Plant Growth-Promoting Rhizobacteria: PGPR) แบคทีเรีย
กลุ่มนี้สามารถพบได้ทั่วไปในธรรมชาติโดยอาศัยอยู่ในดินบริเวณรอบรากพืชซึ่งมีสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการเจริญของ
แบคทีเรีย PGPR มักมีความสามารถในการยึดเกาะบนรากได้ดีกว่าแบคทีเรียกลุ่มอื่น สามารถส่งเสริมการเจริญของพืช
ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยมีกลวิธีต่าง ๆ ดังนี้
 เพิ่มการละลายของธาตุอาหารในดินที่มีความจาเป็นต่อพืชทาให้พืชได้รับสารอาหารมากยิ่งขึ้น แบคทีเรีย
กลุ่มนี้สามารถละลายธาตุอาหารเช่น ฟอสฟอรัส สังกะสี และเหล็ก ซึ่งมีความจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของ
พืช ให้อยู่ในรูปที่พืชนาไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีของดิน เช่น ความ
เป็นกรด-ด่างของดิน (pH) โดยการผลิตกรดอินทรีย์ซึ่งส่งผลให้สารอาหารเช่น ฟอสเฟตละลายน้าได้ดีขึ้น
และสามารถถูกดูดซึมเข้าสู่รากได้มากขึ้น นอกจากนี้แบคทีเรียบางชนิดยังผลิตไซเดอโรฟอร์ (siderophores)
ซึ่งช่วยให้พืชดูดซึมธาตุอาหารประเภทโลหะ เช่น เหล็กและสังกะสี ได้ดียิ่งขึ้น
 ตรึงไนโตรเจนจากชั้นบรรยากาศ แบคทีเรียบางกลุ่ม เช่น 1) ไรโซเบียม (Rhizobium) และ แบรดิไรโซเบียม
(Bradyrhizobium) ที่พบในรากพืชตระกูลถั่ว 2) อะโซสไปริลลัม (Azospirillum) พบบริเวณรากหญ้าเขต
7
ร้อน) เบอโคลเดอเรีย (Burkholderia) ที่พบบริเวณรากพืชหลายชนิด สามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนจากชั้น
บรรยากาศและเปลี่ยนให้อยู่ในรูปสารประกอบไนโตรเจน ได้แก่ แอมโมเนียม (NH4+) ไนไตรท์ (NO2-) และ
ไนเตรท (NO3-) ซึ่งพืชสามารถใช้ประโยชน์ได้
 ควบคุมศัตรูพืชโดยกระบวนการชีววิธี จุลินทรีย์หลายชนิดทั้งแบคทีเรียและเชื้อราสามารถควบคุมศัตรูพืชได้
โดยการสร้างสารเคมี เช่น สารปฏิชีวนะ (antibiotics) เพื่อยับยั้งจุลินทรีย์ชนิดอื่นได้
 ผลิตสารควบคุมการเจริญของพืช แบคทีเรียในกลุ่ม บาซิลลัส (Bacillus spp.) และ อะโซสไปริลลัม
(Azospirillum spp.) สามารถผลิตสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือ ฮอร์โมนพืช (เช่น ออกซินและ
ไซโตไคนิน) ได้
“แบคทีเรียก็มีดีสาหรับมนุษย์”
หากพูดถึงคาว่า "แบคทีเรีย" ความคิดแวบแรกคือการติดเชื้อ ตามด้วยเชื้อโรค แต่คุณจะประหลาดใจเมื่อ
ทราบว่า Probiotic (โพรไบโอติก) เป็นแบคทีเรียที่มีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างไรบ้าง มาดูกันเลยดีกว่ามีแบคทีเรีย
ประเภทไหนที่เป็นประโยชน์บ้าง
 lactobacillus acidophilus เป็นโพรไบโอติกชนิดหนึ่งที่มีอยู่มาก พบได้ในผลิตภัณฑ์นมเนย และมี
ประโยชน์ในการย่อยอาหาร นอกจากนั้น การทานอาหารที่มีแบคที่เรียที่มีประโยชน์ จะทาให้
แบคทีเรียที่ดีมีเพิ่มขึ้นในช่องคลอด ทาให้การเจริญเติบโตของเชื้อราลดลงและช่วยลดอาการตกขาว
 บาซิลลัส โคแอกกูแลน มีประโยชน์ในการรักษาโรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหารและลาไส้ อย่างท้องเสีย
และสาไส้แปรปรวน อีกทั้ง Bacillus coagulan ยังอาจมีบทบาทในการรักษาการติดเชื้อที่ระบบ
ทางเดินหายใจ
 บิฟิโดแบกทีเรียม แอนิมาลิส สาหรับผู้ที่มีอาการท้องผูกเรื้อรัง bifidobacterium animalis อาจ
ช่วยได้มาก เพราะมีผลอย่างมากในการป้องกันความผิดปกติของการย่อยอาหาร
 เอสเชอริเชีย โคไล มีอยู่ในลาไส้ของมนุษย์ escherichia coli หรืออีโคไลในลาไส้ มีประโยชน์เพราะ
ช่วยสร้างวิตามินเค วิตามินบีรวม ทั้งยังมีประโยชน์ในการรักษาโรคลาไส้ใหญ่อักเสบ
 แล็กโทคอคคัส แล็กทิส ในแง่คุณค่าทางการแพทย์แล้ว lactococcus lactis อาจไม่ใชตัวเลือกยอด
นิยม แต่เป็นส่วนประกอบที่ค่อนข้างจาเป็นสาหรับเนยทุกชนิดและนมที่ได้รับการหมักโดยใช้เชื้อ
แบคทีเรีย
 แลคโตบาซิลลัส ริวเตริ (Lactobacillus reuteri) พบในน้านมมารดาและช่วยไม่ให้เกิดแก๊สใน
กระเพาะอาหารจากการดื่มนมมารดา
 สเตรปโตคอกคัส ซาลิวาเรียส หากขาด streptococcus salivarius อาจส่งผลให้ลมหายใจไม่สดชื่น
และมีกลิ่นปากได้
 สเตรปโตมัยซิส แบคทีเรียชนิดนี้มีประโยชน์มากในการผลิตยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะสเตรปโตมัยซิน
หรือยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาวัณโรค
 สแตไฟโลค็อกคัส อีพิเดอรมิดิส มักครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของผิวหนังมนุษย์ แบคทีเรียประเภทนี้
ช่วยไม่ให้เชื้อราบางประเภทลุกลามออกไป
 Bifidobacterium breve มีบทบาทในการทางานของลาไส้ใหญ่ โดยหากขาดแบคทีเรียชนิดนี้ไป
อาจส่งผลให้เจ็บป่วย อย่างเกิดอาการแพ้ต่างๆ มีแก๊สในกระเพาะ ท้องเสีย และลาไส้แปรปรวน
8
แบคทีเรียรักษาโรค
นพ.นริศ เจนวิริยะ ศัลยแพทย์
ร่างกายของเราเป็นที่อยู่ของเชื้อโรคจานวนมาก มีข้อมูลว่าจานวนเซลล์แบคทีเรียทั้งหมดในร่างกายมีมากกว่าจานวน
เซลล์ของร่างกายเสียอีก แบคทีเรียเหล่านี้มีชนิดที่ไม่เป็นภัยแต่อยู่ร่วมกับคนเราแบบไร้อันตรายและสร้างสรรค์
แบคทีเรียกลุ่มที่อยู่กับเรานี้เรียกรวม ๆ ได้หลายชื่อในภาษาแพทย์ เช่น microbiota, microflora, microbiome
เชื้อพวกนี้พบได้บนผิวหนัง ในทางเดินหายใจ ในทางเดินอาหาร และในทางเดินปัสสาวะ
แบคทีเรียในทางเดินอาหาร
แบคทีเรียจานวนมากอาศัยอยู่ในทางเดินอาหาร (เช่น อุจจาระ 1 กรัมมีเชื้อแบคทีเรียจานวนมากถึง 10 ยก
กาลัง 14 หรือ 100 ล้าน ๆ ตัว) ปัจจุบันนี้มีงานวิจัยจานวนมากที่กาลังทากันอยู่เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน
ความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อโรคในลาไส้ที่มีต่อสุขภาพของเรา และอะไรที่ทาลายสมดุลนี้ (เช่น การกินยาฆ่าเชื้อ) จะทา
ให้เกิดโรคขึ้น (เช่น ท้องเดิน) ได้
เชื้อจุลินทรีย์ในลาไส้ได้อาศัยอาหารจากลาไส้ ในขณะเดียวกันมันก็สร้างสภาวะแวดล้อมที่ดีและเอื้อต่อ
สุขภาพที่ทาให้เราไม่เจ็บป่วย ทั้งยังช่วยย่อยอาหารด้วย ทางเดินอาหารของเราทางานหนัก มันมีพื้นที่ดูดซึมอาหาร
ขนาดใหญ่รวมกันขนาดประมาณสนามเทนนิส ณ ที่แห่งนี้นี่เองมีเชื้อแบคทีเรียถึง 500 ชนิดที่คอยทาหน้าที่ช่วยการ
ย่อยอาหาร
Microflora ของลาไส้นี้ค่อย ๆ มีวิวัฒนาการขึ้นมาจากแรงกระตุ้นของสิ่งต่าง ๆ เช่น อาหารการกิน การชรา
ภาพ ภูมิประเทศ และปัจจัยสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการติดเชื้อ และการใช้ยาปฏิชีวนะ ในการทางานช่วยย่อยอาหารของ
กลุ่มจุลินทรีย์ มันก็ช่วยผลิตสารมีประโยชน์คือ วิตามินบี (หลายตัว), วิตามินเค, โฟเลต และกรดไขมันบางตัว
นอกจากนี้ผลพลอยได้จากปฏิกริยาระหว่างเชื้อจุลินทรีย์ช่วยสร้างพลังงานให้ร่างกายเราได้ถึง 10% ของพลังงานที่
ร่างกายต้องการต่อวัน และจุลินทรีย์ที่อยู่ในลาไส้ยังมีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาระบบภูมิต้านทานของร่างกาย
ด้วย
โดยทั่วไปการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างเชื้อจุลินทรีย์กับมนุษย์เราอยู่ในสมดุลซึ่งทาให้คนเรามีสุขภาพ
ที่ดี เช่น เชื้อจุลินทรีย์ช่วยควบคุมไม่ให้เกิดการติดเชื้อ อย่างไรก็ตามถ้าเกิดความไม่สมดุลระหว่างระดับของเชื้อ
แบคทีเรียตัวดีและตัวร้ายกับปฏิกริยาของร่างกายอาจจะทาให้เกิดการเจ็บป่วยหรือโรคขึ้นได้ ถ้าคุณเคยกินยา
ปฏิชีวนะแล้วเกิดท้องเดิน ไม่ใช่เรื่องแปลก คุณไม่ใช่คนเดียวที่เกิดปัญหาอย่างนั้น มีคนราว 30% ที่เป็นอย่างนั้น
เนื่องจากยาปฏิชีวนะไปฆ่าเชื้อบางตัวทาให้เกิดความไม่สมดุลของแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ ในลาไส้
โปรไบโอติกส์และพรีไบโอติกส์
คุณคงเคยได้ยินเรื่อง โปรไบโอติกส์ (probiotics) มาบ้างแล้วไม่มากก็น้อย แต่คุณคงอยากจะรู้เพิ่มเติม โปร
ไบโอติกส์เป็นสารเสริมอาหารซึ่งมีส่วนประกอบเป็นแบคทีเรียตัวดีที่ไม่ทาให้เกิดโรคหรือเชื้อยีสต์บางชนิดที่ทาให้
เกิดผลดีต่อสุขภาพ โปรไบโอติกส์สามารถช่วยให้เกิดความสมดุลของเชื้อโรคในลาไส้ เช่น ในคนที่ท้องเดินจากการกิน
ยาปฏิชีวนะ โปรไบโอติกส์ทาให้อาการท้องเดินลดลงได้
9
ส่วนพรีไบโอติกส์ (prebiotics) เป็นสารที่ไม่ถูกย่อย แต่ทาหน้าที่เป็นสารอาหารให้กับโปรไบโอติกส์ เมื่อนา 2
ตัวนี้มาผสมกันก็จะกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่เอื้อต่อกัน (synbiotic) ตัวอย่างเช่น นมเปรี้ยวอย่างโยเกิร์ตและคีเฟอร์
(kefir) มันมีส่วนประกอบเป็นเชื้อแบคทีเรียตัวดีกับสารอาหารของแบคทีเรีย
ศักยภาพของโปรไบโอติกส์ในการสร้างสมดุลของเชื้อแบคทีเรียให้เกิดในทางเดินอาหารเป็นสิ่งที่วงการ
วิทยาศาสตร์กาลังให้ความสนใจกันมาก ความสนใจของผู้บริโภคก็มีมากขึ้น ทาให้มีผลิตภัณฑ์โปรไบโอติกส์วางตลาด
อย่างกว้างขวางในรูปของสารเสริมอาหาร เช่น นมโยเกิร์ต
“แบคทีเรียที่มีประโยชน์” นอกจากส่งผลดีต่อการย่อยอาหาร ยังอาจลดอาการซึมเศร้าได้
การศึกษาชิ้นใหม่จากมหาวิทยาลัย McMaster ในแคนาดาชี้ว่า “แบคทีเรียที่มีประโยชน์” หรือ Probiotics
นอกจากจะส่งผลดีต่อการย่อยอาหาร ช่วยเรื่องระบบขับถ่ายของมนุษย์แล้ว ยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพจิต และอาจลด
อาการซึมเศร้าได้ด้วย
นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย McMaster ในออนตาริโอ ในประเทศแคนาดา พบว่าแบคทีเรียที่มี
ประโยชน์เหล่านี้สามารถส่งผลต่อการสื่อสารของระบบในร่างกายไปสู่สมอง และช่วยให้ผู้ที่มีความสภาพจิตใจที่หดหู่มี
ความรู้สึกที่ดีขึ้นได้
นักวิจัย Presmysl Berick กล่าวว่า ประมาณร้อยละ 40 ถึง 90 ของผู้ที่ระบบย่อยอาหารมีปัญหา ยังป่วย
ด้านอารมณ์ด้วย กล่าวคือบางคนมักรู้สึกกระวนกระวายและหดหู่ เขากล่าวว่า เมื่อผู้ป่วยที่ปวดท้องได้รับยา “โพร
ไบโอติกส์” ระดับความไม่สบายใจและอาการซึมเศร้าลดลงด้วย คณะทางานของเขาศึกษากลุ่มตัวอย่างผู้ป่วย 44 ราย
ที่ระบบการย่อยอาหารมีปัญหา ซึ่งมีอาการกระวนกระวายและหดหู่ในระดับปานกลาง ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้รับ
ยา“โพรไบโอติกส์” ที่ชื่อ “Bifidobacterium longum” และที่เหลือรับยาที่ไม่มีผลต่อร่างกาย หรือยาหลอกจากนั้น
นักวิจัยเก็บศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงเป็นเวลา 10 สัปดาห์
ในตอนต้นนักวิจัยวัดระดับความรู้สึกซึมเศร้าและกระวนกระวายใจของคนไข้ด้วย นอกจากนั้นมีการเก็บ
ข้อมูลภาพปฏิกิริยาของสมองในสภาพจิตใจที่สดใสและตอนที่หดหู่ด้วยผลปรากฏว่าในสัปดาห์ที่ 6 ร้อยละ 64 ของ
คนไข้ที่มีปัญหาปวดท้องและรับยา “Bifidobacterium longum” มีระดับความหดหู่ใจลดลง เทียบกับร้อยละ 32 ใน
กลุ่มที่รับยาหลอกและการศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาในสมองชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในบริเวณ
ของสมอง ที่ทางานด้านควบคุมอารมณ์ในกลุ่มคนไข้ที่รู้สึกดีขึ้น
อาจารย์ Berick กล่าวว่า "การวิจัยเรื่องนี้ควรขยายตัวอย่างการศึกษาเพื่อยืนยันข้อสรุปที่ว่ายา “โพรไบโอ
ติกส์” ช่วยปรับอารมณ์ของผู้ป่วยให้ดีขึ้นจากอาการซึมเศร้าและกระวนกระวายใจ"เขากล่าวว่าผลการศึกษาล่าสุด
ชี้ให้เห็นถึงอนาคตที่สดใส เรื่องการรักษาผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตและความเจ็บป่วยในระบบย่อยอาหาร
สาร “Bifidobacterium longum” ถูกสกัดและทดสอบโดยนักวิทยาศาสตร์ของบริษัท Nestle ซึ่งเป็น
ผู้สนับสนุนด้านการเงินต่อการศึกษาชิ้นนี้ และสารดังกล่าวยังไม่มีจาหน่ายตามท้องตลาดในขณะนี้
10
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อที่ต้องการศึกษา
2. ช่วยกันสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ อาทิเช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือเรียน
3. รวบรวมข้อมูล โดยการนามาจัดให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
4. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มา และตรวจสอบความทุกต้อง
5. นาไปใส่ในแบบเสนอโครงงานฉบับนี้
6. ตรวจทานความถูกต้องเกี่ยวกับแบบเสนอโครงงาน
7. เผยแพร่ข้อมูลโครงร่างโครงงานฉบับนี้ที่บล็อก
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้รับการตอบรับที่ดี ผู้ที่ศึกษาได้รับความรู้มีความเข้าใจเกี่ยวกับแบคทีเรียชนิดต่างๆ จากเดิมที่อาจจะคิดว่า
แบคทีเรียมีแต่โทษเท่านั้น ซึ่งแบคทีเรียดังกล่าวที่ผู้จัดทาได้นาเสนอ ส่วนมากเป็นแบคทีเรียที่นาไปใช้ประโยชน์ในด้าน
ต่างๆ เช่น การแพทย์ การรักษา ซึ่งจัดว่าเป็นประโยชน์อีกด้านหนึ่งของแบคทีเรียด้วย
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขา ชีววิทยา
11
แหล่งอ้างอิง
 นายแพทย์ พนัส เฉลิมแสนยากร (2014) . โรคจากแบคทีเรีย (Bacterial infection) . สืบค้นเมื่อ 27
มกราคม 2560 , จากเว็บไซต์ : http://www.student.chula.ac.th/~59370377/
 พิชชาภา นิ้มวัฒนากุล และ ดร.ปฐมพงษ์ แสงวิไล (2016) . แบคทีเรียในดินช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตและ
ผลผลิตของพืชได้ . สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2560 , จากเว็บไซต์ :
https://www.kehakaset.com/articles_details.php?view_item=316
 ไม่ปรากฏผู้แต่ง (2017) . แบคทีเรียก็มีดีสาหรับมนุษย์ . สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2560 , จากเว็บไซต์ :
https://www.msn.com/th-th/news/other/แบคทีเรียก็มีดีสาหรับมนุษย์/ss-BBifOo3#image=2
 นพ.นริศ เจนวิริยะ (2017) . แบคทีเรียรักษาโรค . สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2560 ,
จากเว็บไซต์ : http://www.healthtodaythailand.net/แบคทีเรียรักษาโรค/

More Related Content

What's hot

Asssssssssssssssssss
AsssssssssssssssssssAsssssssssssssssssss
Asssssssssssssssssss
sunsumm
 

What's hot (20)

บท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอกบท2สืบพันธุ์พืชดอก
บท2สืบพันธุ์พืชดอก
 
Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
 
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62Lesson2 plantrepro wichaitu62
Lesson2 plantrepro wichaitu62
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2553
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
Asssssssssssssssssss
AsssssssssssssssssssAsssssssssssssssssss
Asssssssssssssssssss
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อบท2ต่อมไร้ท่อ
บท2ต่อมไร้ท่อ
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
656 pre3
 
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Biomass energy
Biomass energy Biomass energy
Biomass energy
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์

โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
JorJames Satawat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Bliss_09
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
greatzaza007
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
2793233922
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Jame JameCaeSar
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
Scott Tape
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
 
Mosquitoes
MosquitoesMosquitoes
Mosquitoes
 
สัตว์สงวน
สัตว์สงวนสัตว์สงวน
สัตว์สงวน
 
สัตว์สงวน
สัตว์สงวนสัตว์สงวน
สัตว์สงวน
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
Work1 608_29
Work1 608_29Work1 608_29
Work1 608_29
 
2559 project -3
2559 project -32559 project -3
2559 project -3
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ไบโอมคอม
ไบโอมคอมไบโอมคอม
ไบโอมคอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic food
 
2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 

More from thunnattapat

กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
thunnattapat
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
thunnattapat
 
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
thunnattapat
 

More from thunnattapat (17)

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรม4
กิจกรรม4กิจกรรม4
กิจกรรม4
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
กิจกรรม4
กิจกรรม4กิจกรรม4
กิจกรรม4
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Kkk
KkkKkk
Kkk
 
Cumkeaw
CumkeawCumkeaw
Cumkeaw
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
 
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
แนวข้อสอบวิชาสามัญ 9 วิชา ประจำปีการศึกษา 2561
 
รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดแต่ละคณะ TCAS รอบที่ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

โครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ประโยชน์ของแบคทีเรีย ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นายณัฐภัทร หอมทอง เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 5 2. นางสาวธัญสุดา มหาวงศนันท์ เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นายณัฐภัทร หอมทอง เลขที่ 6 2. นางสาวธัญสุดา มหาวงศนันท์ เลขที่ 7 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) แบคทีเรียกับประโยชน์ในด้านต่างๆ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Benefits of Bacteria ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นายณัฐภัทร หอมทอง 2. นางสาวธัญสุดา มหาวงศนันท์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันนี้ เมื่อเรากล่าวถึงแบคทีเรีย หลายคนมักจะคิดตลอดว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดี หากเข้าไปในร่างกายของ คนเราจะกลายเป็นเชื้อโรคหรือปรสิตที่สะสมในตัวเรา แต่นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของแบคทีเรีย และหลายคนยังไม่ทราบ ว่าแบคทีเรียเหล่านั้นยังมีประโยชน์แฝงอยู่ด้วย ตัวอย่างเช่น การนาสาหร่าย spirulina sp. มาทาเป็นผลิตภัณฑ์เสริม อาหารที่มีโปรตีนมากถึง 60% หรือแม้กระทั่งผลิตภัณฑ์ปรุงรสอาหารที่ใช้ตามบ้านทั่วไป เช่น เต้าเจี๊ยว ซี้อิ้ว เหล่านี้ จัดเป็นผลิตภัณฑ์จากแบคทีเรียทั้งหมด รวมถึงทางการแพทย์ ณ ปัจจุบันก็เริ่มนามาใช้ประโยชน์แล้ว ทางผู้จัดทาจึงได้คิดริเริ่มทาโครงงานคอมพิวเตอร์ชุดนี้ขึ้นมา เพื่อเป็นสื่อกลางในการให้ความรู้ความเข้าใจที่ ถูกต้องเกี่ยวกับแบคทีเรีย พร้อมทั้งให้ความรู้ความเข้าใจที่ละเอียดขึ้นเพิ่มเติมจากสิ่งที่รู้มาเกี่ยวกับแบคทีเรีย ทาให้ ทางผู้จัดทาต้องมีการลงมือศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆเพิ่มขึ้น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความละเอียดและถูกต้อง เพื่อให้ เพียงพอต่อการสนับสนุนประเด็นและครอบคลุมในหัวข้อโครงงานนี้ เพื่อจะสามารถนาไปใช้ประโยชน์และนาไปเป็น แบบอย่างในการจัดทาโครงงานในรุ่นต่อๆไป หรือนาไปเป็นความรู้ต่อยอดสาหรับการทาหัวข้ออื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ด้วย ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้มาทาในวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีมี ผลต่อชีวิตประจาวันอย่างมาก นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางของทุกๆคน ในปัจจุบันนี้คนที่ใช้เทคโนโลยีมีเพิ่มมากขึ้นจากเดิม ในอดีต ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีที่ทางผู้จัดทานามาปรับใช้และศึกษาค้นคว้าในรายวิชานี้ เพราะดังที่กล่าวมาข้างต้นว่าเทคโนโลยี เป็นศูนย์กลางของทุกๆสิ่งในโลกนี้ การนามาปรับใช้ในวิชานี้ เปรียบเสมือนการใช้ความรู้เรื่องของเทคโนโลยีมาปรับใช้ ในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประสบผลสาเร็จได้รวดเร็วขึ้นด้วย
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้ให้กับผู้ที่สนใจศึกษา 2. เพื่อเป็นสื่อให้ความรู้ประเภทหนึ่ง สามารถนาไปใช้ในการสอนของคณะครูได้ 3. เพื่อเป็นวิทยาทานต้นแบบของโครงงาน สามารถนาไปศึกษาและพัฒนาต่อยอดได้ 4. เพื่อเป็นตัวอย่างของโครงงานคอมพิวเตอร์ในรุ่นต่อๆไป ขอบเขตโครงงาน การทาโครงงานนี้จัดทาขึ้นในลักษณะเป็นโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา กล่าวคือ จัดว่าเป็นโครงงาน ประเภทให้ความรู้ด้วย ในลักษณะของโครงงานนี้จะนาเสนอเกี่ยวกับเรื่องราวของแบคทีเรีย แหล่งที่อยู่ การดารงชีวิต ของมัน กลุ่มของแบคทีเรีย โดยในโครงงานนี้จะนาเสนอข้อมูลที่ไม่ใช้ภาษาทางวิชาการมากนัก หรือศัพท์ต่างๆ อาทิ เช่น ศัพท์ทางการแพทย์ ศัพท์ทางชีววิทยา เป็นต้น ทางผู้จัดทาจะพยายามจะละหรือใช้คาอื่นแทน เพื่อให้เกิดการ อ่านแล้วเข้าใจและไม่สะดุดระหว่างการอ่านด้วย ในส่วนข้อจากัดของโครงงาน คือส่วนความรู้หรือหลักการและทฤษฎี อาจจะไม่ครอบคลุมในทุกๆเรื่อง หรือบางเรื่องที่เป็นวิชาการ รวมถึงวิจัยทางการแพทย์ที่ซับซ้อนหรือต้องใช้ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ ทางผู้จัดทาจึงทาการตัดออกจากโครงงานนี้ เพียงเพื่อไม่ให้เกิดการสับสนและเข้าใจผิดในประเด็น หัวข้อของโครงงานนี้ หลักการและทฤษฎี แบคทีเรีย (Bacteria) เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งซึ่งมีขนาดเล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น (Microorganism) มีอยู่ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม แบคทีเรียบางชนิดสามารถทาให้เกิดโรคในมนุษย์ได้ ในขณะเดียวกันก็มีแบคทีเรียบางชนิดที่ มีประโยชน์ต่อร่างกายมนุษย์เป็นอย่าง ยิ่ง แบคทีเรียส่วนใหญ่สามารถอยู่เป็นอิสระนอกร่างกายมนุษย์ได้ มีเพียงบาง ชนิดเท่านั้นที่จาเป็นจะต้องอาศัยอยู่ในเซลล์ของมนุษย์เพื่อการดารงชีวิต รูปร่างของแบคทีเรีย  บาซิลลัส (bacillus) มีรูปร่าง เป็นท่อน หรือเป็นแท่งเช่น Bacillus, Clostridium, Pseudomonas, Salmonella o สเตรปโทบาซิลลัส (Streptobacillus) เมื่อแบ่งเซลล์แล้วเรียงตัวต่อเป็นสายยาว o ท่อนโค้ง (curverod) เช่น Vibrio  ทรงกลมหรือค็อกคัส (cocus) เช่น o ไมโครค็อกคัส (Micrococcus) เป็นแบคทีเรีย เซลล์เดี่ยวขนาดเล็ก o ดิโพค็อกคัส (Diplococcus) เมื่อแบ่งเซลล์แล้วติดกันเป็นคู่ o สเตรปโทค็อกคัส (Streptococcus) แบ่งตัว เรียงตัวเป็นสายยาว เหมือนโซ่ o สเตรฟิโลค็อกคัส (Straphylococcus) เป็นลักษณะของ เซลทรงกลมแบ่งตัวหลายระนาบอยู่ ติดกันเป็นกลุ่มคล้ายพวงองุ่น เช่น Straphylococcus aureus  สไปโรคีท (Spirochete) รูปร่างบิดเป็นเกลียว ผนังเซลล์ยืดหยุ่นได้ เช่น Campylobacter jejuni การเพิ่มจานวนของแบคทีเรีย แบคทีเรียขยายพันธุ์โดยการแบ่งตัวแบบทวิภาค (binary fission) คือแบ่งจากหนึ่งเป็นสองเซลเท่าๆกัน ระยะเวลาแบ่งเซลเรียกว่า generation time ซึ่งแบคทีเรียแต่ละชนิดจะใช้เวลาไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับชนิดของแบคทีเรีย และ สภาพแวดล้อม
  • 4. 4 โครงสร้างของแบคทีเรีย แบคทีเรียทุกชนิดมีโครงสร้างที่เป็นองค์ประกอบเซลล์ ได้แก่  ผนังเซลล์ (cell wall)  เซลล์เมมเบรน (cell membrane)  ไซโทพลาสซึม (cytoplasm)  โครโมโซมเดี่ยว (single chromosome)  ไรโบโซม (ribosomes) ในขณะที่แบคทีเรียบางชนิดจะมี  แคปซูล (capsules)  ไกโคแคลิกซ์ (glycocalyx)  พิลไล (pili) หรือฟิมเบรีย (fimbriae)  มีโซโซม (mesosome)  แฟลกเจลลา (flagella)  อินคลูชันแกรนูล (inclusion granule)  สปอร์ (bacterial spore) กลุ่มของสิ่งมีชีวิตประเภทแบคทีเรีย อาณาจักรย่อยอาร์เคีย (Subkingdom Archaea) : สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรย่อยอาร์เคีย เติบโตได้ใน สิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอื่นอาศัยอยู่ไม่ได้ เช่น อุณหภูมิสูง ความดันสูง ซึ่งสามารถจาแนกได้เป็น 3 พวกคือ 1. พวกยูริอาร์คีโอตา (Euryarchaeota) แบ่งได้ 2 กลุ่มย่อย ได้แก่ - กลุ่มเมทาโนเจน (Metanogen) เป็นพวกที่ผลิตแก๊สมีเทน เติบโตในที่ที่ไม่มีออกซิเจน ในธรรมชาติ อาจพบได้ตามตะกอนก้นทะเลสาบ แหล่งน้าที่เป็นโคลนตม หรือทางเดินอาหารของสัตว์พวกวัวควาย รวมทั้ง ภายในทางเดินอาหารของปลวกบางชนิด จึงสามารถนาอาร์เคียกลุ่มนี้ในกระบวนการหมักแก๊สชีวภาพ เป็นประโยชน์แก่เกษตรกรในการหมักขยะเหลือทิ้งร่วมกับมูลสัตว์ใช้เป็นแก๊สหุงต้มในครัวเรือน - กลุ่มเอกซ์ทรีม ฮาโลไฟล์ (Extreme halophile) เป็นอาร์เคียที่ชอบความเค็มจัด พบในแหล่งที่มี เกลือเข้มข้น เช่น ทะเลสาบ Great salt lake หรือทะเล Dead sea หรือตามไหหมักกะปิ ปลาร้า น้าปลา ปลาเค็ม เป็นต้น อาร์เคียพวกนี้มีสารสีแบคเทอริโอโรดอปซิน (Bacteriorhodopsin) ถ้ามีอยู่มากทาให้เห็น เป็นสีแดงม่วง สารสีชนิดนี้ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ และมีลักษณะเหมือนกับสารสีที่อยู่ในเรติ นาของคน 2. พวกครีนาคีโอตา (Crenachaeota) เป็นอาร์เคียที่อยู่ในที่อุณหภูมิสูง (Extreme thermophile) และยังมีบางชนิดที่ชอบความเป็น กรดจัด (Acidophile) พบอยู่ตามแหล่งน้าพุร้อน อาราจักรย่อยยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria) เป็นโพรคารีโอตที่มีความหลากหลายมาก ที่สุดกลุ่มหนึ่ง มีทั้งพวกที่ไม่ต้องการออกซิเจน และต้องการออกซิเจนในการเจริญเติบโต เซลล์มีขนาดเล็ก ประมาณ 1 - 5 ไมโครเมตรมีผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคนภายในเซลล์ ไม่มีเยื่อหุ้มสาร พันธุกรรม มีรูปร่าง 3 แบบ ได้แก่ รูปทรงกลม (coccus) รูปทรงท่อน (bacillus) รูปทรงเกลียว (spirillum)
  • 5. 5 การดารงชีวิตสามารถสร้างอาหารเองได้โดยใช้พลังงานจากแสง (photosynthesis) หรือใช้พลังจากปฏิกิริยา เคมี (chemosynthesis) เช่น ซัลเฟอร์แบคทีเรีย แต่ส่วนใหญ่สร้างอาหารเองไม่ได้ ปัจจุบันมีการจัดพวกโดย อาศัยเทคนิคทางชีววิทยาระดับโมเลกุลมาช่วย จาแนกได้ 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria) เป็นยูแบคทีเรียแกรมลบที่พบมากที่สุดและมีกระบวนการเมทาบอลิซึมที่หลากหลาย บางกลุ่ม สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้คล้ายพืช บางกลุ่มสามารถดารงชีวิตได้โดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟด์H2S) และใช้ ซัลเฟอร์ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย (purple sulfer bacteria) บาง กลุ่มมีบทบาทช่วยตรึงแกสไนโตรเจนในอากาศมาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนในดิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ การเจริญเติบโตของพืช เช่น Rhizobium sp. ในปมรากพืชตระกูลถั่ว กลุ่มคลาไมเดีย (Chlamydias) เป็นพวกปรสิตที่อาศัยอยู่ได้เฉพาะในเซลล์ของสัตว์ โดยอาศัยเซลล์ของผู้ให้อาศัย (Host) เป็นแหล่ง ของ ATP ผนังเซลล์เป็นแกรมลบของ ซึ่งจะต่างจากพวกอื่นคือ ไม่มีเพปทิโดไกลแคน ตัวอย่างที่สาคัญที่รู้จัก กันดี คือ Chlamydias trachomatis เป็นเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดตาบอด และเป็นสาเหตุของโรคหนองในเทียม (nongonococcal uretritis) และ Neisseria gonorrhoea เป็นสาเหตุของโรคหนองในแท้ (Gonorrhoeae) ซึ่งทั้งหนองในเทียมและหนองในแท้ จัดเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กลุ่มสไปโรคีท (Spirochetes) มีรูปทรงเกลียว ดารงชีวิตแบบอิสระ แต่บางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรค เช่น Treponema pallidum เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส และ Leptospira interrogans เป็นสาเหตุของโรคฉี่หนู กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-Positive Bacteria) แบคทีเรียในกลุ่มนี้จะเป็นแกรมบวกทั้งหมด แต่ก็มีบางพวกที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพวกแกรมลบ ตัวอย่างที่รู้จักกันดีคือ แอกทิโนไมซิส (Actinomyces sp.) เป็นเซลล์เรียงต่อกันเป็นสายคล้ายเชื้อรา  แอกทิโนไมซิส 2 ชนิด ก่อให้เกิดโรคที่สาคัญคือ วัณโรคและโรคเรื้อน แต่พวกที่ดารงชีวิตอย่างอิสระ หลายชนิด จะก่อให้เกิดการเน่าสลายของสารอินทรีย์ในดิน ก่อให้เกิดกลิ่นที่แสดงถึงความอุดม สมบูรณ์ของดิน  แบคทีเรียในจีนัส สเตรปโตไมซิส (Streptomyces sp.) ถูกนามาใช้ในการผลิตยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะยาสเตรปโตมัยซิน (Streptomycin) ยาเตตราไซคลิน  จีนัสแลกโตบาซิลลัส (Lactobacillus sp.) เป็นพวกผลิตกรดแลกติกได้ จึงนามาใช้ในอุตสาหกรรม อาหารได้แก่ การทาเนย ผักดองและโยเกิร์ต เป็นต้น  จีนัสบาซิลลัส (Bacillus sp.) สามารถสร้างเอนโดสปอร์ (endospore) ทาให้ทนทานต่อ สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดี บางชนิดเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคแอนแทรกซ์ กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย (Cyanobacteria) เป็นแบคทีเรียที่มีทั้งพวกเซลล์เดี่ยวๆ และพวกที่อยู่เป็นกลุ่ม Cyanobacteria จะมีอยู่ทุกหนทุกแห่ง ในที่ๆมีความชื้น เป็นแหล่งผลิตอาหารที่สาคัญในระบบนิเวศ เพราะสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ มี คลอโรฟิลล์ เอ แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลิน นักวิทยาศาสตร์คาดว่า ไซยาโนแบคทีเรียเป็นพวกทาให้ ออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้นก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนในปัจจุบัน
  • 6. 6 เช่น แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) และออสิลลาทอเรีย (Oscillatoria) และยังสามารถตรึง แก๊สไนโตเจนในอากาศ ให้เป็นสารประกอบไนเตรต ประโยชน์ของแบคทีเรีย 1. เนื่องจากมีการดารงชีวิตแบบภาวะย่อยสลาย (Decomposer) จึงทาให้เกิดการหมุนเวียนสารในระบบ นิเวศ มีการนามาใช้กาจัดขยะที่มีมากในเมืองใหญ่ 2. ใช้สลายคราบน้ามันบริเวณชายฝั่งและในทะเล 3. ใช้กาจัดสารเคมีตกค้างจากการเกษตร 4. แบคทีเรียที่สามารถตรึงไนโตรเจน ช่วยเพิ่มไนโตรเจนในดิน 5. ใช้ผลิตสารเคมีเช่น แอซีโตน กรดแลกติก 6. ใช้ผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น น้าส้มสายชู ปลาร้า ผักดอง ปลาส้ม นมเปรี้ยว และเนยแข็ง 7. ใช้ในการโคลนยีน ในกระบวนการพันธุวิศวกรรม 8. ใช้ในการผลิตยาปฏิชีวนะ เช่น สเตรปโตมัยซิน (Streptomyces griseus) คลอแรมฟินิคอล (Streptomyces venezuelae) ออรีโอมัยซิน (Streptomyces aureofacien) 9. ใช้เป็นปุ๋ย เช่น ไรโซเบียม (Rhizobium sp.) และอะโซแบคเตอร์ (Azobactor sp.) เป็นแบคทีเรียที่ตรึง ไนโตรเจนในอากาศได้ (เปลี่ยน N2NO3) ไนตริไฟอิงแบคทีเรีย (เปลี่ยนNH3NO3) 10. ใช้ฟอกหนัง โดยแบคทีเรียทาให้ขนร่วง เนื้อเปื่อยยุ่ยออกจากหนัง 11. ใช้ในการศึกษาวิจัยชีววิทยาพื้นฐาน ประยุกต์ และพันธุวิศวกรรม -แบคทีเรียถูกใช้เป็นตัวอย่างเซลล์ สาหรับทดลอง เพราะมีโครงสร้างเซลล์ไม่ซับซ้อน วัฏจักรชีวิตสั้น สืบพันธุ์เร็ว นาDNAอื่นเข้าไปใส่ได้โดย ใช้พลาสมิด บทความที่เกี่ยวข้องกับใช้ประโยชน์ของแบคทีเรีย “แบคทีเรียในดินช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชได้” แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แบคทีเรียในดินหลายชนิดอาศัยและเจริญเติบโต ร่วมกับรากพืช แบคทีเรียบริเวณรากพืชบางสายพันธุ์เป็นประโยชน์ต่อพืช นักวิทยาศาสตร์เรียกแบคทีเรียกลุ่มนี้ว่า “แบคทีเรียในดินที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช” (Plant Growth-Promoting Rhizobacteria: PGPR) แบคทีเรีย กลุ่มนี้สามารถพบได้ทั่วไปในธรรมชาติโดยอาศัยอยู่ในดินบริเวณรอบรากพืชซึ่งมีสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการเจริญของ แบคทีเรีย PGPR มักมีความสามารถในการยึดเกาะบนรากได้ดีกว่าแบคทีเรียกลุ่มอื่น สามารถส่งเสริมการเจริญของพืช ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยมีกลวิธีต่าง ๆ ดังนี้  เพิ่มการละลายของธาตุอาหารในดินที่มีความจาเป็นต่อพืชทาให้พืชได้รับสารอาหารมากยิ่งขึ้น แบคทีเรีย กลุ่มนี้สามารถละลายธาตุอาหารเช่น ฟอสฟอรัส สังกะสี และเหล็ก ซึ่งมีความจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของ พืช ให้อยู่ในรูปที่พืชนาไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีของดิน เช่น ความ เป็นกรด-ด่างของดิน (pH) โดยการผลิตกรดอินทรีย์ซึ่งส่งผลให้สารอาหารเช่น ฟอสเฟตละลายน้าได้ดีขึ้น และสามารถถูกดูดซึมเข้าสู่รากได้มากขึ้น นอกจากนี้แบคทีเรียบางชนิดยังผลิตไซเดอโรฟอร์ (siderophores) ซึ่งช่วยให้พืชดูดซึมธาตุอาหารประเภทโลหะ เช่น เหล็กและสังกะสี ได้ดียิ่งขึ้น  ตรึงไนโตรเจนจากชั้นบรรยากาศ แบคทีเรียบางกลุ่ม เช่น 1) ไรโซเบียม (Rhizobium) และ แบรดิไรโซเบียม (Bradyrhizobium) ที่พบในรากพืชตระกูลถั่ว 2) อะโซสไปริลลัม (Azospirillum) พบบริเวณรากหญ้าเขต
  • 7. 7 ร้อน) เบอโคลเดอเรีย (Burkholderia) ที่พบบริเวณรากพืชหลายชนิด สามารถตรึงก๊าซไนโตรเจนจากชั้น บรรยากาศและเปลี่ยนให้อยู่ในรูปสารประกอบไนโตรเจน ได้แก่ แอมโมเนียม (NH4+) ไนไตรท์ (NO2-) และ ไนเตรท (NO3-) ซึ่งพืชสามารถใช้ประโยชน์ได้  ควบคุมศัตรูพืชโดยกระบวนการชีววิธี จุลินทรีย์หลายชนิดทั้งแบคทีเรียและเชื้อราสามารถควบคุมศัตรูพืชได้ โดยการสร้างสารเคมี เช่น สารปฏิชีวนะ (antibiotics) เพื่อยับยั้งจุลินทรีย์ชนิดอื่นได้  ผลิตสารควบคุมการเจริญของพืช แบคทีเรียในกลุ่ม บาซิลลัส (Bacillus spp.) และ อะโซสไปริลลัม (Azospirillum spp.) สามารถผลิตสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือ ฮอร์โมนพืช (เช่น ออกซินและ ไซโตไคนิน) ได้ “แบคทีเรียก็มีดีสาหรับมนุษย์” หากพูดถึงคาว่า "แบคทีเรีย" ความคิดแวบแรกคือการติดเชื้อ ตามด้วยเชื้อโรค แต่คุณจะประหลาดใจเมื่อ ทราบว่า Probiotic (โพรไบโอติก) เป็นแบคทีเรียที่มีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างไรบ้าง มาดูกันเลยดีกว่ามีแบคทีเรีย ประเภทไหนที่เป็นประโยชน์บ้าง  lactobacillus acidophilus เป็นโพรไบโอติกชนิดหนึ่งที่มีอยู่มาก พบได้ในผลิตภัณฑ์นมเนย และมี ประโยชน์ในการย่อยอาหาร นอกจากนั้น การทานอาหารที่มีแบคที่เรียที่มีประโยชน์ จะทาให้ แบคทีเรียที่ดีมีเพิ่มขึ้นในช่องคลอด ทาให้การเจริญเติบโตของเชื้อราลดลงและช่วยลดอาการตกขาว  บาซิลลัส โคแอกกูแลน มีประโยชน์ในการรักษาโรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหารและลาไส้ อย่างท้องเสีย และสาไส้แปรปรวน อีกทั้ง Bacillus coagulan ยังอาจมีบทบาทในการรักษาการติดเชื้อที่ระบบ ทางเดินหายใจ  บิฟิโดแบกทีเรียม แอนิมาลิส สาหรับผู้ที่มีอาการท้องผูกเรื้อรัง bifidobacterium animalis อาจ ช่วยได้มาก เพราะมีผลอย่างมากในการป้องกันความผิดปกติของการย่อยอาหาร  เอสเชอริเชีย โคไล มีอยู่ในลาไส้ของมนุษย์ escherichia coli หรืออีโคไลในลาไส้ มีประโยชน์เพราะ ช่วยสร้างวิตามินเค วิตามินบีรวม ทั้งยังมีประโยชน์ในการรักษาโรคลาไส้ใหญ่อักเสบ  แล็กโทคอคคัส แล็กทิส ในแง่คุณค่าทางการแพทย์แล้ว lactococcus lactis อาจไม่ใชตัวเลือกยอด นิยม แต่เป็นส่วนประกอบที่ค่อนข้างจาเป็นสาหรับเนยทุกชนิดและนมที่ได้รับการหมักโดยใช้เชื้อ แบคทีเรีย  แลคโตบาซิลลัส ริวเตริ (Lactobacillus reuteri) พบในน้านมมารดาและช่วยไม่ให้เกิดแก๊สใน กระเพาะอาหารจากการดื่มนมมารดา  สเตรปโตคอกคัส ซาลิวาเรียส หากขาด streptococcus salivarius อาจส่งผลให้ลมหายใจไม่สดชื่น และมีกลิ่นปากได้  สเตรปโตมัยซิส แบคทีเรียชนิดนี้มีประโยชน์มากในการผลิตยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะสเตรปโตมัยซิน หรือยาปฏิชีวนะที่ใช้รักษาวัณโรค  สแตไฟโลค็อกคัส อีพิเดอรมิดิส มักครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของผิวหนังมนุษย์ แบคทีเรียประเภทนี้ ช่วยไม่ให้เชื้อราบางประเภทลุกลามออกไป  Bifidobacterium breve มีบทบาทในการทางานของลาไส้ใหญ่ โดยหากขาดแบคทีเรียชนิดนี้ไป อาจส่งผลให้เจ็บป่วย อย่างเกิดอาการแพ้ต่างๆ มีแก๊สในกระเพาะ ท้องเสีย และลาไส้แปรปรวน
  • 8. 8 แบคทีเรียรักษาโรค นพ.นริศ เจนวิริยะ ศัลยแพทย์ ร่างกายของเราเป็นที่อยู่ของเชื้อโรคจานวนมาก มีข้อมูลว่าจานวนเซลล์แบคทีเรียทั้งหมดในร่างกายมีมากกว่าจานวน เซลล์ของร่างกายเสียอีก แบคทีเรียเหล่านี้มีชนิดที่ไม่เป็นภัยแต่อยู่ร่วมกับคนเราแบบไร้อันตรายและสร้างสรรค์ แบคทีเรียกลุ่มที่อยู่กับเรานี้เรียกรวม ๆ ได้หลายชื่อในภาษาแพทย์ เช่น microbiota, microflora, microbiome เชื้อพวกนี้พบได้บนผิวหนัง ในทางเดินหายใจ ในทางเดินอาหาร และในทางเดินปัสสาวะ แบคทีเรียในทางเดินอาหาร แบคทีเรียจานวนมากอาศัยอยู่ในทางเดินอาหาร (เช่น อุจจาระ 1 กรัมมีเชื้อแบคทีเรียจานวนมากถึง 10 ยก กาลัง 14 หรือ 100 ล้าน ๆ ตัว) ปัจจุบันนี้มีงานวิจัยจานวนมากที่กาลังทากันอยู่เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน ความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อโรคในลาไส้ที่มีต่อสุขภาพของเรา และอะไรที่ทาลายสมดุลนี้ (เช่น การกินยาฆ่าเชื้อ) จะทา ให้เกิดโรคขึ้น (เช่น ท้องเดิน) ได้ เชื้อจุลินทรีย์ในลาไส้ได้อาศัยอาหารจากลาไส้ ในขณะเดียวกันมันก็สร้างสภาวะแวดล้อมที่ดีและเอื้อต่อ สุขภาพที่ทาให้เราไม่เจ็บป่วย ทั้งยังช่วยย่อยอาหารด้วย ทางเดินอาหารของเราทางานหนัก มันมีพื้นที่ดูดซึมอาหาร ขนาดใหญ่รวมกันขนาดประมาณสนามเทนนิส ณ ที่แห่งนี้นี่เองมีเชื้อแบคทีเรียถึง 500 ชนิดที่คอยทาหน้าที่ช่วยการ ย่อยอาหาร Microflora ของลาไส้นี้ค่อย ๆ มีวิวัฒนาการขึ้นมาจากแรงกระตุ้นของสิ่งต่าง ๆ เช่น อาหารการกิน การชรา ภาพ ภูมิประเทศ และปัจจัยสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการติดเชื้อ และการใช้ยาปฏิชีวนะ ในการทางานช่วยย่อยอาหารของ กลุ่มจุลินทรีย์ มันก็ช่วยผลิตสารมีประโยชน์คือ วิตามินบี (หลายตัว), วิตามินเค, โฟเลต และกรดไขมันบางตัว นอกจากนี้ผลพลอยได้จากปฏิกริยาระหว่างเชื้อจุลินทรีย์ช่วยสร้างพลังงานให้ร่างกายเราได้ถึง 10% ของพลังงานที่ ร่างกายต้องการต่อวัน และจุลินทรีย์ที่อยู่ในลาไส้ยังมีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาระบบภูมิต้านทานของร่างกาย ด้วย โดยทั่วไปการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างเชื้อจุลินทรีย์กับมนุษย์เราอยู่ในสมดุลซึ่งทาให้คนเรามีสุขภาพ ที่ดี เช่น เชื้อจุลินทรีย์ช่วยควบคุมไม่ให้เกิดการติดเชื้อ อย่างไรก็ตามถ้าเกิดความไม่สมดุลระหว่างระดับของเชื้อ แบคทีเรียตัวดีและตัวร้ายกับปฏิกริยาของร่างกายอาจจะทาให้เกิดการเจ็บป่วยหรือโรคขึ้นได้ ถ้าคุณเคยกินยา ปฏิชีวนะแล้วเกิดท้องเดิน ไม่ใช่เรื่องแปลก คุณไม่ใช่คนเดียวที่เกิดปัญหาอย่างนั้น มีคนราว 30% ที่เป็นอย่างนั้น เนื่องจากยาปฏิชีวนะไปฆ่าเชื้อบางตัวทาให้เกิดความไม่สมดุลของแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ ในลาไส้ โปรไบโอติกส์และพรีไบโอติกส์ คุณคงเคยได้ยินเรื่อง โปรไบโอติกส์ (probiotics) มาบ้างแล้วไม่มากก็น้อย แต่คุณคงอยากจะรู้เพิ่มเติม โปร ไบโอติกส์เป็นสารเสริมอาหารซึ่งมีส่วนประกอบเป็นแบคทีเรียตัวดีที่ไม่ทาให้เกิดโรคหรือเชื้อยีสต์บางชนิดที่ทาให้ เกิดผลดีต่อสุขภาพ โปรไบโอติกส์สามารถช่วยให้เกิดความสมดุลของเชื้อโรคในลาไส้ เช่น ในคนที่ท้องเดินจากการกิน ยาปฏิชีวนะ โปรไบโอติกส์ทาให้อาการท้องเดินลดลงได้
  • 9. 9 ส่วนพรีไบโอติกส์ (prebiotics) เป็นสารที่ไม่ถูกย่อย แต่ทาหน้าที่เป็นสารอาหารให้กับโปรไบโอติกส์ เมื่อนา 2 ตัวนี้มาผสมกันก็จะกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่เอื้อต่อกัน (synbiotic) ตัวอย่างเช่น นมเปรี้ยวอย่างโยเกิร์ตและคีเฟอร์ (kefir) มันมีส่วนประกอบเป็นเชื้อแบคทีเรียตัวดีกับสารอาหารของแบคทีเรีย ศักยภาพของโปรไบโอติกส์ในการสร้างสมดุลของเชื้อแบคทีเรียให้เกิดในทางเดินอาหารเป็นสิ่งที่วงการ วิทยาศาสตร์กาลังให้ความสนใจกันมาก ความสนใจของผู้บริโภคก็มีมากขึ้น ทาให้มีผลิตภัณฑ์โปรไบโอติกส์วางตลาด อย่างกว้างขวางในรูปของสารเสริมอาหาร เช่น นมโยเกิร์ต “แบคทีเรียที่มีประโยชน์” นอกจากส่งผลดีต่อการย่อยอาหาร ยังอาจลดอาการซึมเศร้าได้ การศึกษาชิ้นใหม่จากมหาวิทยาลัย McMaster ในแคนาดาชี้ว่า “แบคทีเรียที่มีประโยชน์” หรือ Probiotics นอกจากจะส่งผลดีต่อการย่อยอาหาร ช่วยเรื่องระบบขับถ่ายของมนุษย์แล้ว ยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพจิต และอาจลด อาการซึมเศร้าได้ด้วย นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย McMaster ในออนตาริโอ ในประเทศแคนาดา พบว่าแบคทีเรียที่มี ประโยชน์เหล่านี้สามารถส่งผลต่อการสื่อสารของระบบในร่างกายไปสู่สมอง และช่วยให้ผู้ที่มีความสภาพจิตใจที่หดหู่มี ความรู้สึกที่ดีขึ้นได้ นักวิจัย Presmysl Berick กล่าวว่า ประมาณร้อยละ 40 ถึง 90 ของผู้ที่ระบบย่อยอาหารมีปัญหา ยังป่วย ด้านอารมณ์ด้วย กล่าวคือบางคนมักรู้สึกกระวนกระวายและหดหู่ เขากล่าวว่า เมื่อผู้ป่วยที่ปวดท้องได้รับยา “โพร ไบโอติกส์” ระดับความไม่สบายใจและอาการซึมเศร้าลดลงด้วย คณะทางานของเขาศึกษากลุ่มตัวอย่างผู้ป่วย 44 ราย ที่ระบบการย่อยอาหารมีปัญหา ซึ่งมีอาการกระวนกระวายและหดหู่ในระดับปานกลาง ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้รับ ยา“โพรไบโอติกส์” ที่ชื่อ “Bifidobacterium longum” และที่เหลือรับยาที่ไม่มีผลต่อร่างกาย หรือยาหลอกจากนั้น นักวิจัยเก็บศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงเป็นเวลา 10 สัปดาห์ ในตอนต้นนักวิจัยวัดระดับความรู้สึกซึมเศร้าและกระวนกระวายใจของคนไข้ด้วย นอกจากนั้นมีการเก็บ ข้อมูลภาพปฏิกิริยาของสมองในสภาพจิตใจที่สดใสและตอนที่หดหู่ด้วยผลปรากฏว่าในสัปดาห์ที่ 6 ร้อยละ 64 ของ คนไข้ที่มีปัญหาปวดท้องและรับยา “Bifidobacterium longum” มีระดับความหดหู่ใจลดลง เทียบกับร้อยละ 32 ใน กลุ่มที่รับยาหลอกและการศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาในสมองชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในบริเวณ ของสมอง ที่ทางานด้านควบคุมอารมณ์ในกลุ่มคนไข้ที่รู้สึกดีขึ้น อาจารย์ Berick กล่าวว่า "การวิจัยเรื่องนี้ควรขยายตัวอย่างการศึกษาเพื่อยืนยันข้อสรุปที่ว่ายา “โพรไบโอ ติกส์” ช่วยปรับอารมณ์ของผู้ป่วยให้ดีขึ้นจากอาการซึมเศร้าและกระวนกระวายใจ"เขากล่าวว่าผลการศึกษาล่าสุด ชี้ให้เห็นถึงอนาคตที่สดใส เรื่องการรักษาผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตและความเจ็บป่วยในระบบย่อยอาหาร สาร “Bifidobacterium longum” ถูกสกัดและทดสอบโดยนักวิทยาศาสตร์ของบริษัท Nestle ซึ่งเป็น ผู้สนับสนุนด้านการเงินต่อการศึกษาชิ้นนี้ และสารดังกล่าวยังไม่มีจาหน่ายตามท้องตลาดในขณะนี้
  • 10. 10 แนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดหัวข้อที่ต้องการศึกษา 2. ช่วยกันสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ อาทิเช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือเรียน 3. รวบรวมข้อมูล โดยการนามาจัดให้เป็นระเบียบเรียบร้อย 4. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มา และตรวจสอบความทุกต้อง 5. นาไปใส่ในแบบเสนอโครงงานฉบับนี้ 6. ตรวจทานความถูกต้องเกี่ยวกับแบบเสนอโครงงาน 7. เผยแพร่ข้อมูลโครงร่างโครงงานฉบับนี้ที่บล็อก เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้รับการตอบรับที่ดี ผู้ที่ศึกษาได้รับความรู้มีความเข้าใจเกี่ยวกับแบคทีเรียชนิดต่างๆ จากเดิมที่อาจจะคิดว่า แบคทีเรียมีแต่โทษเท่านั้น ซึ่งแบคทีเรียดังกล่าวที่ผู้จัดทาได้นาเสนอ ส่วนมากเป็นแบคทีเรียที่นาไปใช้ประโยชน์ในด้าน ต่างๆ เช่น การแพทย์ การรักษา ซึ่งจัดว่าเป็นประโยชน์อีกด้านหนึ่งของแบคทีเรียด้วย สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขา ชีววิทยา
  • 11. 11 แหล่งอ้างอิง  นายแพทย์ พนัส เฉลิมแสนยากร (2014) . โรคจากแบคทีเรีย (Bacterial infection) . สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2560 , จากเว็บไซต์ : http://www.student.chula.ac.th/~59370377/  พิชชาภา นิ้มวัฒนากุล และ ดร.ปฐมพงษ์ แสงวิไล (2016) . แบคทีเรียในดินช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตและ ผลผลิตของพืชได้ . สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2560 , จากเว็บไซต์ : https://www.kehakaset.com/articles_details.php?view_item=316  ไม่ปรากฏผู้แต่ง (2017) . แบคทีเรียก็มีดีสาหรับมนุษย์ . สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2560 , จากเว็บไซต์ : https://www.msn.com/th-th/news/other/แบคทีเรียก็มีดีสาหรับมนุษย์/ss-BBifOo3#image=2  นพ.นริศ เจนวิริยะ (2017) . แบคทีเรียรักษาโรค . สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2560 , จากเว็บไซต์ : http://www.healthtodaythailand.net/แบคทีเรียรักษาโรค/