SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน หลอดพลาสติก..ปัญหาที่ทุกคนมองข้าม
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 ณัฐณิชา ปรีวัฒนานันท์ เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มลูวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1.นางสาวณัฐณิชา ปรีวัฒนานันท์ เลขที่ 8 ชั้น ม.6/6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
หลอดพลาสติก..ปัญหาที่ทุกคนมองข้าม
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
No Straw Please
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฐณิชา ปรีวัฒนานันท์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโคครงงาน
เนื่องด้วยในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโคลกกาลังประสบกับปัญหาขยะพลาสติกที่มีมากจนเกินไป
ทาให้ประชากรบางส่วนเริ่มตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและเริ่มหันมารณรงค์เกี่ยวกับการลดการใช้ขยะ
พลาสติกโคดยขยะพลาสติกนั้นส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อมตัวอย่างที่
เห็นได้ชัดคือการที่มีถุงพลาสติกจานวนมากถูกทิ้งลงทะเลจนทาให้สัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเลรับประทาน
ถุงพลาสติกเข้าไปเพราะคิดว่าถุงพลาสติกเป็นอาหารของตนและเมื่อสัตว์ต่างๆในทะเลรับประทาน
พลาสติกเข้าไปก็จะส่งผลต่อระบบนิเวศในทะเลหรืออาจส่งผลร้ายแรงจนสัตว์เหล่านั้นสูญพันธุ์ไปได้
ข้อมูลสถิติจากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในปี2015พบว่าหลอดพลาสติกถือเป็นขยะที่พบมากที่
สุดทั้งในทะเลและชายฝั่งเป็นอันดับสองรองจากถุงพลาสติกและข้อมูลปริมาณขยะตามชายหาดปี2016
จาก 112 ประเทศทั่วโลกเผยให้เห็นว่าหลอดพลาสติกนั้นมีจานวนมากถึง 409,087 ชิ้น ซึ่งถือว่ามี
ปริมาณมากและเกือบเทียบเท่าจานวนของถุงพลาสติก แต่ประชากรบางส่วนยังไม่ตระหนักถึงปัญหานี้
จากที่กล่าวมาข้างต้นนั้นจะเห็นได้ว่าหลอดพลาสติกถือเป็นปัญหาขยะที่เราไม่ควรมองข้ามและเห็น
เหตุผลหลักที่ทาให้ผู้จัดทาริเริ่มทาโคครงงานฉบับนี้ขึ้นเพื่อนศึกษาปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหา
หลอดพลาสติกในประเทศไทย
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโคครงงาน ระบุเป็นข้อ
1.เพื่อศึกษาข้อมูลสถิติของขยะหลอดพลาสติกในปัจจุบัน
2.เพื่อตระหนักถึงปัญหาของขยะหลอดพลาสติกในปัจจุบัน
3.เพื่อหาแนวทางในการลดปัญหาขยะหลอดพลาสติก
4.สามารถนาความรู้ไปต่อยอดและเป็นประโคยชน์ต่อผู้ที่สนใจในเรื่องนี้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโคครงงาน
1.ปัญหาขยะหลอดพลาสติกที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม
2.แนวทางในการลดการใช้หลอดพลาสติก
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโคครงงาน
หลอดพลาสติก..ปัญหาที่ทุกคนมองข้าม
ที่มาhttp://www.bltbangkok.com/
ในภาพรวม ประมาณ 22-43% ของขยะพลาสติกทั่วโคลกจบลงที่การฝังกลบ ส่วนที่ไม่ได้ฝังกลบและลอย
ล่องเป็นแพขยะในมหาสมุทรอาจมีน้าหนักเทียบเท่าช้าง 30,000 ตัว นอกจากนี้ ประมาณการว่ามีขยะ
พลาสติกถูกทิ้งสู่ทะเลมากมากถึง 8 ล้านตันต่อปี (เท่ากับเครื่องบินโคบอิ้ง 747 22,000 ลา แน่นอนว่า
หลอดติด Top 10 ของขยะพลาสติกที่พบบ่อยที่สุดบนชายฝั่ง
การศึกษาในปี 2015 ประเมินว่าสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวใช้หลอดพลาสติกถึง 500 ล้านชิ้นต่อวัน
ซึ่งเป็นปริมาณที่โคอบล้อมโคลกได้ถึง 2.5 รอบต่อวันเลยทีเดียว ลองคิดดูว่าร้านอาหารฟาสต์ฟู้ดยอดนิยม
อย่าง MaDonald’s เพียงเจ้าเดียวจะสามารถสร้างขยะหลอดกี่ชิ้นผ่านสาขาที่มีอยู่กว่า 36,000 แห่ง ใน
กว่า 100 ประเทศทั่วโคลก
ที่มา:https://www.the101.world/problem-and-solution-of-plastic-straws/
4
ทั้งนี้ฐานข้อมูลขยะทะเลของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช. ได้ทาการศึกษาขยะทางทะเลและ
เผยข้อมูลประเภทขยะที่พบมากที่สุด ในปี 2015 พบว่าประเภทขยะทางทะเลมากที่สุด 3 อันดับแรก
ได้แก่ ถุงพลาสติก 13% หลอด 10% ฝาขวดน้า 8% และภาชนะบรรจุอาหาร 8% ในขณะเดียวกันผล
รายงานของ Ocean Conservancy(3) ได้สรุปข้อมูลปริมาณขยะตามชายหาดปี 2016 จาก 112
ประเทศทั่วโคลก เผยให้เห็นว่า ขยะประเภทหลอดพลาสติกถูกจัดอันดับเป็นขยะที่พบได้มากเป็นอันดับ
7 มีจานวน 409,087 ชิ้น หากเอาหลอดมาวางต่อกันจะเทียบเท่ากับความสูง 145 เท่าของ อาคาร One
World Trade Center ในขณะที่ขยะประเภทถุงพลาสติกนั้นถูกจัดเป็นอันดับ 5 มีจานวน 520,900 ชิ้น
จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าหลอดพลาสติกเล็กๆ เหล่านี้กลายเป็นพลาสติกที่มีจานวนมากแทบจะ
เทียบเท่ากับขยะประเภทถุงพลาสติกเสียด้วยซ้า หลอดพลาสติกกลายเป็นขยะที่เราควรจับตามองไม่แพ้
กับถุงพลาสติกเลยทีเดียว
สานักงานสมุทรศาสตร์และชั้นบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา หรือ NOAA (National Oceanic and
Atmospheric Administration) ได้พยายามทาการศึกษาผลกระทบทางตรงและทางอ้อมของพลาสติก
เหล่านี้ไว้ 2 แบบ ได้แก่ 1. ผลกระทบทางตรง สัตวน้าในทะเลมีแนวโคน้มเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเรื่อย เนื่องจาก
กินพลาสติกเข้าไป ซึ่งกระเพราะของสัตว์เหล่านี้จะไม่สามารถย่อยได้ จึงทาให้สัตว์เหล่านี้เสียชีวิต ซึ่ง
หลอดพลาสติกมีบทบาทที่สาคัญมากในการฆ่าสิ่งชีวิตทะเลเหล่านี้ และ 2. ผลกระทบทางอ้อม อัน
เนื่องมาจากสารเคมีที่ใช้ผลิตพลาสติก ซึ่งปัจจุบัน NOAA กาลังศึกษา ไมโคครพลาสติก หรือพลาสติกที่
ถูกย่อยสลายในทะเลจนมีขนาดเล็กกว่า 5 มิลลิเมตร ถึง 1 นาโคนเมตร ซึ่งพบว่าในขณะที่เศษพลาสติก
เหล่านี้จะดูดซับสารพิษหรือสะสมสารพิษขึ้น เช่น สาร PCBs (polychlorinated biphenyls) ซึ่งเป็น
สารเคมีจาพวกสารอินทรีย์ที่มีคลอรีนเป็นส่วนประกอบหลักอยู่ในระดับสูงในน้าทะเล 100,000 ถึง
1,000,000 เท่า ซึ่งสารเคมีนี้เป็นสารเคมีที่ทั่วโคลกห้ามใช้ตั้งแต่ปี 2001 แต่ยังพบจานวนมากในน้า
ทะเล นอกจากนี้เมื่อทาการตรวจสอบไมโคครพลาสติกเหล่านี้ก็พบว่า มีอยู่ในกระเพาะของสิ่งมีชีวิตทาง
ทะเลหลายชนิดทั้งแพลงตอน ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากจนกระทั่งปลาวาฬอย่างไรก็ตาม NOAA ก็
ยังคงต้องตรวจสอบต่อไปว่าสารปนเปื้อนเหล่านี้จะสามารถถ่ายโคอนผ่านทางห่วงโคซ่อาหารได้หรือไม่ และ
ส่งผลกระทบต่อร่างกายมนุษย์อย่างไร
ที่มา:http://www.moveworldtogether.com/TH/article-detail.php?ID=22
หลายประเทศทั่วโคลกเริ่มหันกลับมารณรงค์งดใช้หลอดพลาสติกกันอย่างจริงจัง อย่างประเทศอังกฤษ
เริ่มมีการจัดตั้งกลุ่ม Strawwars ซึ่งเป็นกลุ่มที่รวมตัวกันของร้านอาหารและร้านค้าที่จัดจาหน่าย
เครื่องดื่มในย่าน SOHO เมืองลอนดอนที่รวมตัวกันขึ้นเพื่อไม่ให้บริการหลอด ยกเว้นลูกค้าขอเท่านั้น ซึ่ง
วิธีการนี้เป็นวิธีการหนึ่งในการเชิญชวนให้ผู้บริโคภคได้เข้ามามีส่วนร่วมในการรณรงค์การงดใช้หลอด
ร่วมกัน ในขณะที่รัฐเกรละ ประเทศอินเดีย ที่กาลังประสบปัญหาการกาจัดหลอดพลาสติก 3.3 ล้านชิ้น
ต่อวัน ได้เริ่มรณรงค์ Kerala's Straw Wars เพื่อหยุดการใช้หลอดพลาสติกและลดปริมาณหลอด
พลาสติกผ่านความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการโครงแรมกว่า 650 แห่งทั่วรัฐ โคดยใช้หลอดกระดาษแทน
ภายใต้แคมเปญ “Refuse The Straw หรือ #RefuseTheStraw ”
หลายองค์กรในสหรัฐอเมริกาหันมาจริงจังกับการรณรงค์งดใช้หลอดมากขึ้น ทั้งร้านอาหาร โครงเรียน
มหาวิทยาลัย อย่างในรัฐโคคโคลราโคด ผู้ว่าการรัฐ John W. Hickenlooper ได้กาหนดให้วันที่ 11
5
กรกฎาคม ของทุกปี โคดยประกาศใช้ตั้งแต่ปี 2013 เป็นวันเลิกใช้หลอด “Straw Free
day” (6) นอกจากนี้องค์กร Straw Free องค์กรที่รณรงค์การงดใช้หลอดทางตอนใต้ของรัฐแคลิฟอเนีย
ก็ออกมาเรียกร้องให้ร้านอาหารและคนทั่วไปลดการใช้หลอดพลาสติก ผ่านการเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้
หลอดพลาสติกมาเป็นหลอดไม้ไผ่แทนอีกด้วย
“ทุกๆ วัน ชาวอเมริกาจะทิ้งหลอดพลาสติกมากถึงวันละ 500 ล้านหลอดต่อวัน หากนาหลอดพลาสติก
เหล่านี้มาต่อกันจะสามารถพันรอบโคลกได้ 2 รอบครึ่ง”
ทั้งนี้ประเทศไทยเองก็เริ่มหันมาสนใจกันมากขึ้นอย่างเมืองเชียงใหม่แหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของเมืองไทย
ที่มีผู้ประกอบการธุรกิจร้านกาแฟและร้านอาหารได้ไม่น้อยกว่า 500 ร้านทั่วเชียงใหม่ ร่วมกันจัด
แคมเปญ “ขอบคุณที่ไม่ใช้หลอด” ในเดือนตุลาคม 2560 เพื่อกระตุ้นจิตสานึกต่อสาธารณะและการ
รับผิดชอบเมืองเชืองใหม่ รวมถึงยังเป็นการลดงบประมาณการกาจัดขยะพลาสติกจากหลอดและแก้วน้า
พลาสติกในเมืองเชียงใหม่เช่นกัน
จะเห็นได้ว่าหลอดพลาสติกเล็กๆ ที่เราใช้ทุกวัน มันกลับสร้างปัญหาและผลกระทบไม่เล็กให้แก่โคลกใบนี้
ที่ผ่านมาเราจะได้เห็นว่ามีหลายบริษัทหรือหลายองค์กรมีฝ่าย CSR ในการสร้างกิจกรรมเพื่อรับผิดชอบ
ต่อสังคมจากการดาเนินกิจการขององค์กรตนเอง แต่มันถึงเวลาแล้วหรือยังที่พวกเราทุกคนจะร่วมกัน
รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมร่วมกันจากกิจกรรมที่เราใช้ในชีวิตประจา ด้วยการ “ลดและงดการ
ใช้หลอดพลาสติก”
ที่มา:http://www.moveworldtogether.com/TH/article-detail.php?ID=22
นับตั้งแต่การรณรงค์ของกลุ่มอนุรักษ์ต่างๆ เช่น กลุ่ม StrawFree.org ในสหรัฐฯ แคมเปญ Straw Wars
ในลอนดอน แคมเปญ Straws Suck ในแคนาดา ฯลฯ เพื่อขอความร่วมมือจากผู้บริโคภคให้งดใช้หลอด
และเชิญชวนผู้ประกอบการร้านอาหาร ผับ บาร์ ให้เลิกเสิร์ฟหลอดพร้อมเครื่องดื่ม เปลี่ยนไปแจกหลอด
เฉพาะลูกค้าที่ต้องการใช้ แม้แต่ฟาสต์ฟู้ดยักษ์ใหญ่อย่างแมคโคดนัลด์ยังกระโคดดร่วมขบวน ด้วยการ
ประกาศเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า จะเลิกแจกหลอดพลาสติกในร้านสาขากว่า 1,300 แห่งทั่วสหราช
อาณาจักร โคดยย้ายหลอดไปเก็บไว้หลังเคาน์เตอร์ จะหยิบให้เฉพาะลูกค้าที่ร้องขอเท่านั้น พร้อมกับ
ทดลองใช้งานหลอดกระดาษในบางสาขาช่วงเดือนพฤษภาคมนี้ นอกจากนี้ ยังมีการใช้ไม้แข็ง คือออก
กฎหมายควบคุมหลอดพลาสติก เช่น เมืองเดวิส รัฐแคลิฟอร์เนีย กาหนดให้ร้านอาหารสอบถามลูกค้าที่
นั่งรับประทานภายในร้านว่าต้องการหลอดหรือไม่ และเสิร์ฟหลอด 1 อันให้เฉพาะคนที่ต้องการใช้ตั้งแต่
1 กันยายน ปีที่แล้ว แต่ยังไม่ควบคุมในส่วนของการซื้ออาหารและเครื่องดื่มกลับบ้าน
เมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน กาลังจะห้ามร้านขายอาหารและเครื่องดื่มใช้หลอดและอุปกรณ์การกินที่เป็น
พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งกลางปี 2561 นี้ โคดยให้สอบถามลูกค้ากลุ่มเทค อะเวย์ว่า ต้องการหลอดและ
อุปกรณ์การกินด้วยหรือไม่ พร้อมทั้งจัดเตรียมหลอด ส้อม มีด ที่ผลิตจากวัสดุย่อยสลายได้หรือรีไซเคิลได้
ไว้ทดแทน
ผลการตอบรับที่ซีแอตเทิลดีมาก ยังไม่ทันถึงกาหนดบังคับใช้ ผู้ประกอบการรายย่อยประมาณสองร้อย
รายก็ร่วมแคมเปญ “Strawless In Seattle” เปลี่ยนไปใช้ทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมกันอย่าง
คึกคัก
6
สาหรับประเทศไทยนั้นการรณรงค์ให้เลิกใช้หลอดพลาสติกโคดยสมัครใจเริ่มก่อตัวชัดขึ้นในช่วงไม่กี่เดือนที่
ผ่านมา อาทิ กลุ่ม ReReef กับเครือข่ายร้านกาแฟและร้านอาหารหัวใจสีเขียว (Green Cafe Network)
ริเริ่มขบวนการงดหลอด Straws on Request โคดยร้านที่เข้าร่วมขบวนการต้องเปลี่ยนจากเสิร์ฟ
เครื่องดื่มพร้อมหลอดแบบเดิมๆ มาเป็นแจกหลอดแก่ลูกค้าที่แจ้งความต้องการเท่านั้น
และกลุ่ม greenery.org ที่ชักชวนใครๆ มามอบของขวัญให้โคลกตั้งแต่ต้นปี โคดยกาหนดภารกิจท้าทาย
เดือนละ 1 ภารกิจ ให้ผู้สนใจร่วมลงมือทาและแบ่งปันเรื่องราวผ่านกลุ่ม Greenery Challenge ในเฟ
ซบุ๊ก เริ่มเดือนมกราคมด้วย ‘ขวดเดียวแก้วเดิม’ ซึ่งแม้จะเน้นที่การพกกระติกหรือแก้วน้าส่วนตัวเพื่อลด
ขยะขวดน้าพลาสติกและแก้วพลาสติกจากการซื้อเครื่องดื่มในแต่ละวัน ยังต้องแถมพ่วง #ไม่หลอดเนาะ
เข้าไปด้วยเพื่อลดขยะหลอดพลาสติกได้อีกชิ้น พร้อมกับเสนอสารพัดหลอดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้
เป็นทางเลือก
แต่มาตรการบังคับคงเกิดขึ้นได้ยาก เพราะประเทศไทยเลือกแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยแนวทาง
ประนีประนอมมาตลอด การรอคอยให้รัฐออกกฎหมายแล้วประชาชนค่อยขยับปฏิบัติตาม จึงไม่เข้าท่า
นักกับวิกฤตขยะพลาสติกขณะนี้
ทั้งจากผลสารวจโคดยทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยจอร์เจียที่ระบุว่า ประเทศไทยทิ้งขยะลงทะเลมากเป็นอันดับ
5 ของโคลก และจากผลการศึกษาของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช. ซึ่งรายงานการจาแนก
ขยะในทะเลว่า พบหลอดพลาสติกมากเป็นอันดับ 2 รองจากถุงพลาสติก
นอกจากเป็นอันตรายต่อสัตว์ทะเลโคดยตรงแล้ว พลาสติกที่ลอยเท้งเต้งในน้าเค็มนานๆ ยังสลายตัวเป็น
‘ไมโคครพลาสติก’ หรือเศษพลาสติกขนาดจิ๋วเกินกว่าสายตาเราจะมองเห็น จากนั้นก็เข้าสู่ห่วงโคซ่อาหาร
ผ่านทางแพลงค์ตอน กุ้ง ปลา ตามลาดับขั้นการกิน
ที่มา:https://themomentum.co/green-next-door-straw-free-campaign/
ที่มา:https://marinedebris.noaa.gov/
7
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาหลอดพลาสติกที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม
แนวทางการแก้ปัญหาหลอดพลาสติก
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์
โคทรศัพท์
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโคครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโคครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโคครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโคครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโคครงงาน
1.การตระหนักถึงปัญหาของขยะหลอดพลาสติกในปัจจุบันที่เพิ่มขึ้น
2.แนวทางในการลดปัญหาขยะหลอดพลาสติก
3.ความรู้ที่สามารถไปต่อยอดและเป็นประโคยชน์ต่อผู้ที่สนใจในเรื่องนี้
สถานที่ดาเนินการ
โครงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
8
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโคครงงาน
https://www.the101.world/problem-and-solution-of-plastic-straws/
http://www.moveworldtogether.com/TH/article-detail.php?ID=22
https://themomentum.co/green-next-door-straw-free-campaign/

More Related Content

Similar to Natnicha 2561-project

ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4cardphone
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพpaifahnutya
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์praewaphrueksawan
 
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละโครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละNuttawat Sawangrat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Prangwadee Sriket
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Chanika Panyana
 

Similar to Natnicha 2561-project (20)

Work1 608_29
Work1 608_29Work1 608_29
Work1 608_29
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
at1
at1at1
at1
 
at1
at1at1
at1
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละโครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
โครงร่างสกุลเงินจิงๆละ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Com
ComCom
Com
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
Science
ScienceScience
Science
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Natnicha 2561-project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน หลอดพลาสติก..ปัญหาที่ทุกคนมองข้าม ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 ณัฐณิชา ปรีวัฒนานันท์ เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มลูวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1.นางสาวณัฐณิชา ปรีวัฒนานันท์ เลขที่ 8 ชั้น ม.6/6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) หลอดพลาสติก..ปัญหาที่ทุกคนมองข้าม ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) No Straw Please ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฐณิชา ปรีวัฒนานันท์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโคครงงาน เนื่องด้วยในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโคลกกาลังประสบกับปัญหาขยะพลาสติกที่มีมากจนเกินไป ทาให้ประชากรบางส่วนเริ่มตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและเริ่มหันมารณรงค์เกี่ยวกับการลดการใช้ขยะ พลาสติกโคดยขยะพลาสติกนั้นส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อมตัวอย่างที่ เห็นได้ชัดคือการที่มีถุงพลาสติกจานวนมากถูกทิ้งลงทะเลจนทาให้สัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเลรับประทาน ถุงพลาสติกเข้าไปเพราะคิดว่าถุงพลาสติกเป็นอาหารของตนและเมื่อสัตว์ต่างๆในทะเลรับประทาน พลาสติกเข้าไปก็จะส่งผลต่อระบบนิเวศในทะเลหรืออาจส่งผลร้ายแรงจนสัตว์เหล่านั้นสูญพันธุ์ไปได้ ข้อมูลสถิติจากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในปี2015พบว่าหลอดพลาสติกถือเป็นขยะที่พบมากที่ สุดทั้งในทะเลและชายฝั่งเป็นอันดับสองรองจากถุงพลาสติกและข้อมูลปริมาณขยะตามชายหาดปี2016 จาก 112 ประเทศทั่วโลกเผยให้เห็นว่าหลอดพลาสติกนั้นมีจานวนมากถึง 409,087 ชิ้น ซึ่งถือว่ามี ปริมาณมากและเกือบเทียบเท่าจานวนของถุงพลาสติก แต่ประชากรบางส่วนยังไม่ตระหนักถึงปัญหานี้ จากที่กล่าวมาข้างต้นนั้นจะเห็นได้ว่าหลอดพลาสติกถือเป็นปัญหาขยะที่เราไม่ควรมองข้ามและเห็น เหตุผลหลักที่ทาให้ผู้จัดทาริเริ่มทาโคครงงานฉบับนี้ขึ้นเพื่อนศึกษาปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหา หลอดพลาสติกในประเทศไทย
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโคครงงาน ระบุเป็นข้อ 1.เพื่อศึกษาข้อมูลสถิติของขยะหลอดพลาสติกในปัจจุบัน 2.เพื่อตระหนักถึงปัญหาของขยะหลอดพลาสติกในปัจจุบัน 3.เพื่อหาแนวทางในการลดปัญหาขยะหลอดพลาสติก 4.สามารถนาความรู้ไปต่อยอดและเป็นประโคยชน์ต่อผู้ที่สนใจในเรื่องนี้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโคครงงาน 1.ปัญหาขยะหลอดพลาสติกที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 2.แนวทางในการลดการใช้หลอดพลาสติก หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโคครงงาน หลอดพลาสติก..ปัญหาที่ทุกคนมองข้าม ที่มาhttp://www.bltbangkok.com/ ในภาพรวม ประมาณ 22-43% ของขยะพลาสติกทั่วโคลกจบลงที่การฝังกลบ ส่วนที่ไม่ได้ฝังกลบและลอย ล่องเป็นแพขยะในมหาสมุทรอาจมีน้าหนักเทียบเท่าช้าง 30,000 ตัว นอกจากนี้ ประมาณการว่ามีขยะ พลาสติกถูกทิ้งสู่ทะเลมากมากถึง 8 ล้านตันต่อปี (เท่ากับเครื่องบินโคบอิ้ง 747 22,000 ลา แน่นอนว่า หลอดติด Top 10 ของขยะพลาสติกที่พบบ่อยที่สุดบนชายฝั่ง การศึกษาในปี 2015 ประเมินว่าสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวใช้หลอดพลาสติกถึง 500 ล้านชิ้นต่อวัน ซึ่งเป็นปริมาณที่โคอบล้อมโคลกได้ถึง 2.5 รอบต่อวันเลยทีเดียว ลองคิดดูว่าร้านอาหารฟาสต์ฟู้ดยอดนิยม อย่าง MaDonald’s เพียงเจ้าเดียวจะสามารถสร้างขยะหลอดกี่ชิ้นผ่านสาขาที่มีอยู่กว่า 36,000 แห่ง ใน กว่า 100 ประเทศทั่วโคลก ที่มา:https://www.the101.world/problem-and-solution-of-plastic-straws/
  • 4. 4 ทั้งนี้ฐานข้อมูลขยะทะเลของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช. ได้ทาการศึกษาขยะทางทะเลและ เผยข้อมูลประเภทขยะที่พบมากที่สุด ในปี 2015 พบว่าประเภทขยะทางทะเลมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ถุงพลาสติก 13% หลอด 10% ฝาขวดน้า 8% และภาชนะบรรจุอาหาร 8% ในขณะเดียวกันผล รายงานของ Ocean Conservancy(3) ได้สรุปข้อมูลปริมาณขยะตามชายหาดปี 2016 จาก 112 ประเทศทั่วโคลก เผยให้เห็นว่า ขยะประเภทหลอดพลาสติกถูกจัดอันดับเป็นขยะที่พบได้มากเป็นอันดับ 7 มีจานวน 409,087 ชิ้น หากเอาหลอดมาวางต่อกันจะเทียบเท่ากับความสูง 145 เท่าของ อาคาร One World Trade Center ในขณะที่ขยะประเภทถุงพลาสติกนั้นถูกจัดเป็นอันดับ 5 มีจานวน 520,900 ชิ้น จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าหลอดพลาสติกเล็กๆ เหล่านี้กลายเป็นพลาสติกที่มีจานวนมากแทบจะ เทียบเท่ากับขยะประเภทถุงพลาสติกเสียด้วยซ้า หลอดพลาสติกกลายเป็นขยะที่เราควรจับตามองไม่แพ้ กับถุงพลาสติกเลยทีเดียว สานักงานสมุทรศาสตร์และชั้นบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา หรือ NOAA (National Oceanic and Atmospheric Administration) ได้พยายามทาการศึกษาผลกระทบทางตรงและทางอ้อมของพลาสติก เหล่านี้ไว้ 2 แบบ ได้แก่ 1. ผลกระทบทางตรง สัตวน้าในทะเลมีแนวโคน้มเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเรื่อย เนื่องจาก กินพลาสติกเข้าไป ซึ่งกระเพราะของสัตว์เหล่านี้จะไม่สามารถย่อยได้ จึงทาให้สัตว์เหล่านี้เสียชีวิต ซึ่ง หลอดพลาสติกมีบทบาทที่สาคัญมากในการฆ่าสิ่งชีวิตทะเลเหล่านี้ และ 2. ผลกระทบทางอ้อม อัน เนื่องมาจากสารเคมีที่ใช้ผลิตพลาสติก ซึ่งปัจจุบัน NOAA กาลังศึกษา ไมโคครพลาสติก หรือพลาสติกที่ ถูกย่อยสลายในทะเลจนมีขนาดเล็กกว่า 5 มิลลิเมตร ถึง 1 นาโคนเมตร ซึ่งพบว่าในขณะที่เศษพลาสติก เหล่านี้จะดูดซับสารพิษหรือสะสมสารพิษขึ้น เช่น สาร PCBs (polychlorinated biphenyls) ซึ่งเป็น สารเคมีจาพวกสารอินทรีย์ที่มีคลอรีนเป็นส่วนประกอบหลักอยู่ในระดับสูงในน้าทะเล 100,000 ถึง 1,000,000 เท่า ซึ่งสารเคมีนี้เป็นสารเคมีที่ทั่วโคลกห้ามใช้ตั้งแต่ปี 2001 แต่ยังพบจานวนมากในน้า ทะเล นอกจากนี้เมื่อทาการตรวจสอบไมโคครพลาสติกเหล่านี้ก็พบว่า มีอยู่ในกระเพาะของสิ่งมีชีวิตทาง ทะเลหลายชนิดทั้งแพลงตอน ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากจนกระทั่งปลาวาฬอย่างไรก็ตาม NOAA ก็ ยังคงต้องตรวจสอบต่อไปว่าสารปนเปื้อนเหล่านี้จะสามารถถ่ายโคอนผ่านทางห่วงโคซ่อาหารได้หรือไม่ และ ส่งผลกระทบต่อร่างกายมนุษย์อย่างไร ที่มา:http://www.moveworldtogether.com/TH/article-detail.php?ID=22 หลายประเทศทั่วโคลกเริ่มหันกลับมารณรงค์งดใช้หลอดพลาสติกกันอย่างจริงจัง อย่างประเทศอังกฤษ เริ่มมีการจัดตั้งกลุ่ม Strawwars ซึ่งเป็นกลุ่มที่รวมตัวกันของร้านอาหารและร้านค้าที่จัดจาหน่าย เครื่องดื่มในย่าน SOHO เมืองลอนดอนที่รวมตัวกันขึ้นเพื่อไม่ให้บริการหลอด ยกเว้นลูกค้าขอเท่านั้น ซึ่ง วิธีการนี้เป็นวิธีการหนึ่งในการเชิญชวนให้ผู้บริโคภคได้เข้ามามีส่วนร่วมในการรณรงค์การงดใช้หลอด ร่วมกัน ในขณะที่รัฐเกรละ ประเทศอินเดีย ที่กาลังประสบปัญหาการกาจัดหลอดพลาสติก 3.3 ล้านชิ้น ต่อวัน ได้เริ่มรณรงค์ Kerala's Straw Wars เพื่อหยุดการใช้หลอดพลาสติกและลดปริมาณหลอด พลาสติกผ่านความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการโครงแรมกว่า 650 แห่งทั่วรัฐ โคดยใช้หลอดกระดาษแทน ภายใต้แคมเปญ “Refuse The Straw หรือ #RefuseTheStraw ” หลายองค์กรในสหรัฐอเมริกาหันมาจริงจังกับการรณรงค์งดใช้หลอดมากขึ้น ทั้งร้านอาหาร โครงเรียน มหาวิทยาลัย อย่างในรัฐโคคโคลราโคด ผู้ว่าการรัฐ John W. Hickenlooper ได้กาหนดให้วันที่ 11
  • 5. 5 กรกฎาคม ของทุกปี โคดยประกาศใช้ตั้งแต่ปี 2013 เป็นวันเลิกใช้หลอด “Straw Free day” (6) นอกจากนี้องค์กร Straw Free องค์กรที่รณรงค์การงดใช้หลอดทางตอนใต้ของรัฐแคลิฟอเนีย ก็ออกมาเรียกร้องให้ร้านอาหารและคนทั่วไปลดการใช้หลอดพลาสติก ผ่านการเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ หลอดพลาสติกมาเป็นหลอดไม้ไผ่แทนอีกด้วย “ทุกๆ วัน ชาวอเมริกาจะทิ้งหลอดพลาสติกมากถึงวันละ 500 ล้านหลอดต่อวัน หากนาหลอดพลาสติก เหล่านี้มาต่อกันจะสามารถพันรอบโคลกได้ 2 รอบครึ่ง” ทั้งนี้ประเทศไทยเองก็เริ่มหันมาสนใจกันมากขึ้นอย่างเมืองเชียงใหม่แหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของเมืองไทย ที่มีผู้ประกอบการธุรกิจร้านกาแฟและร้านอาหารได้ไม่น้อยกว่า 500 ร้านทั่วเชียงใหม่ ร่วมกันจัด แคมเปญ “ขอบคุณที่ไม่ใช้หลอด” ในเดือนตุลาคม 2560 เพื่อกระตุ้นจิตสานึกต่อสาธารณะและการ รับผิดชอบเมืองเชืองใหม่ รวมถึงยังเป็นการลดงบประมาณการกาจัดขยะพลาสติกจากหลอดและแก้วน้า พลาสติกในเมืองเชียงใหม่เช่นกัน จะเห็นได้ว่าหลอดพลาสติกเล็กๆ ที่เราใช้ทุกวัน มันกลับสร้างปัญหาและผลกระทบไม่เล็กให้แก่โคลกใบนี้ ที่ผ่านมาเราจะได้เห็นว่ามีหลายบริษัทหรือหลายองค์กรมีฝ่าย CSR ในการสร้างกิจกรรมเพื่อรับผิดชอบ ต่อสังคมจากการดาเนินกิจการขององค์กรตนเอง แต่มันถึงเวลาแล้วหรือยังที่พวกเราทุกคนจะร่วมกัน รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมร่วมกันจากกิจกรรมที่เราใช้ในชีวิตประจา ด้วยการ “ลดและงดการ ใช้หลอดพลาสติก” ที่มา:http://www.moveworldtogether.com/TH/article-detail.php?ID=22 นับตั้งแต่การรณรงค์ของกลุ่มอนุรักษ์ต่างๆ เช่น กลุ่ม StrawFree.org ในสหรัฐฯ แคมเปญ Straw Wars ในลอนดอน แคมเปญ Straws Suck ในแคนาดา ฯลฯ เพื่อขอความร่วมมือจากผู้บริโคภคให้งดใช้หลอด และเชิญชวนผู้ประกอบการร้านอาหาร ผับ บาร์ ให้เลิกเสิร์ฟหลอดพร้อมเครื่องดื่ม เปลี่ยนไปแจกหลอด เฉพาะลูกค้าที่ต้องการใช้ แม้แต่ฟาสต์ฟู้ดยักษ์ใหญ่อย่างแมคโคดนัลด์ยังกระโคดดร่วมขบวน ด้วยการ ประกาศเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า จะเลิกแจกหลอดพลาสติกในร้านสาขากว่า 1,300 แห่งทั่วสหราช อาณาจักร โคดยย้ายหลอดไปเก็บไว้หลังเคาน์เตอร์ จะหยิบให้เฉพาะลูกค้าที่ร้องขอเท่านั้น พร้อมกับ ทดลองใช้งานหลอดกระดาษในบางสาขาช่วงเดือนพฤษภาคมนี้ นอกจากนี้ ยังมีการใช้ไม้แข็ง คือออก กฎหมายควบคุมหลอดพลาสติก เช่น เมืองเดวิส รัฐแคลิฟอร์เนีย กาหนดให้ร้านอาหารสอบถามลูกค้าที่ นั่งรับประทานภายในร้านว่าต้องการหลอดหรือไม่ และเสิร์ฟหลอด 1 อันให้เฉพาะคนที่ต้องการใช้ตั้งแต่ 1 กันยายน ปีที่แล้ว แต่ยังไม่ควบคุมในส่วนของการซื้ออาหารและเครื่องดื่มกลับบ้าน เมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน กาลังจะห้ามร้านขายอาหารและเครื่องดื่มใช้หลอดและอุปกรณ์การกินที่เป็น พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งกลางปี 2561 นี้ โคดยให้สอบถามลูกค้ากลุ่มเทค อะเวย์ว่า ต้องการหลอดและ อุปกรณ์การกินด้วยหรือไม่ พร้อมทั้งจัดเตรียมหลอด ส้อม มีด ที่ผลิตจากวัสดุย่อยสลายได้หรือรีไซเคิลได้ ไว้ทดแทน ผลการตอบรับที่ซีแอตเทิลดีมาก ยังไม่ทันถึงกาหนดบังคับใช้ ผู้ประกอบการรายย่อยประมาณสองร้อย รายก็ร่วมแคมเปญ “Strawless In Seattle” เปลี่ยนไปใช้ทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมกันอย่าง คึกคัก
  • 6. 6 สาหรับประเทศไทยนั้นการรณรงค์ให้เลิกใช้หลอดพลาสติกโคดยสมัครใจเริ่มก่อตัวชัดขึ้นในช่วงไม่กี่เดือนที่ ผ่านมา อาทิ กลุ่ม ReReef กับเครือข่ายร้านกาแฟและร้านอาหารหัวใจสีเขียว (Green Cafe Network) ริเริ่มขบวนการงดหลอด Straws on Request โคดยร้านที่เข้าร่วมขบวนการต้องเปลี่ยนจากเสิร์ฟ เครื่องดื่มพร้อมหลอดแบบเดิมๆ มาเป็นแจกหลอดแก่ลูกค้าที่แจ้งความต้องการเท่านั้น และกลุ่ม greenery.org ที่ชักชวนใครๆ มามอบของขวัญให้โคลกตั้งแต่ต้นปี โคดยกาหนดภารกิจท้าทาย เดือนละ 1 ภารกิจ ให้ผู้สนใจร่วมลงมือทาและแบ่งปันเรื่องราวผ่านกลุ่ม Greenery Challenge ในเฟ ซบุ๊ก เริ่มเดือนมกราคมด้วย ‘ขวดเดียวแก้วเดิม’ ซึ่งแม้จะเน้นที่การพกกระติกหรือแก้วน้าส่วนตัวเพื่อลด ขยะขวดน้าพลาสติกและแก้วพลาสติกจากการซื้อเครื่องดื่มในแต่ละวัน ยังต้องแถมพ่วง #ไม่หลอดเนาะ เข้าไปด้วยเพื่อลดขยะหลอดพลาสติกได้อีกชิ้น พร้อมกับเสนอสารพัดหลอดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้ เป็นทางเลือก แต่มาตรการบังคับคงเกิดขึ้นได้ยาก เพราะประเทศไทยเลือกแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้วยแนวทาง ประนีประนอมมาตลอด การรอคอยให้รัฐออกกฎหมายแล้วประชาชนค่อยขยับปฏิบัติตาม จึงไม่เข้าท่า นักกับวิกฤตขยะพลาสติกขณะนี้ ทั้งจากผลสารวจโคดยทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยจอร์เจียที่ระบุว่า ประเทศไทยทิ้งขยะลงทะเลมากเป็นอันดับ 5 ของโคลก และจากผลการศึกษาของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช. ซึ่งรายงานการจาแนก ขยะในทะเลว่า พบหลอดพลาสติกมากเป็นอันดับ 2 รองจากถุงพลาสติก นอกจากเป็นอันตรายต่อสัตว์ทะเลโคดยตรงแล้ว พลาสติกที่ลอยเท้งเต้งในน้าเค็มนานๆ ยังสลายตัวเป็น ‘ไมโคครพลาสติก’ หรือเศษพลาสติกขนาดจิ๋วเกินกว่าสายตาเราจะมองเห็น จากนั้นก็เข้าสู่ห่วงโคซ่อาหาร ผ่านทางแพลงค์ตอน กุ้ง ปลา ตามลาดับขั้นการกิน ที่มา:https://themomentum.co/green-next-door-straw-free-campaign/ ที่มา:https://marinedebris.noaa.gov/
  • 7. 7 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาหลอดพลาสติกที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม แนวทางการแก้ปัญหาหลอดพลาสติก เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ โคทรศัพท์ งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโคครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโคครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโคครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโคครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโคครงงาน 1.การตระหนักถึงปัญหาของขยะหลอดพลาสติกในปัจจุบันที่เพิ่มขึ้น 2.แนวทางในการลดปัญหาขยะหลอดพลาสติก 3.ความรู้ที่สามารถไปต่อยอดและเป็นประโคยชน์ต่อผู้ที่สนใจในเรื่องนี้ สถานที่ดาเนินการ โครงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
  • 8. 8 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโคครงงาน https://www.the101.world/problem-and-solution-of-plastic-straws/ http://www.moveworldtogether.com/TH/article-detail.php?ID=22 https://themomentum.co/green-next-door-straw-free-campaign/