SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
เปรียบเทียบ
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู ้แกนกลาง
ระหว่าง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551(สาระที่3 มาตรฐานที่ 3.1)
และ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551(สาระที่8 มาตรฐานที่ 8.2)
ระดับ ประถมศึกษา
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เสนอ
ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์
โดย
นายกวิน เธียรวรรณ 583050161-0
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รายวิชา 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เนื้อหาของเอกสาร
-ตารางเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู ้แกนกลางระหว่าง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551
และ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551
ในระดับ ประถมศึกษา
- บทวิพากษ์ ในมุมมองของนักศึกษาวิชาชีพครู(สาขาคอมพิวเตอร ์
ศึกษา)
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประถมศึกษาปีที่ ๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้
1. บอกข้อมูลที่สนใจและแหล่งข้อมูลที่
อยู่ใกล้ตัว
2. บอกประโยชน์ของอุปกรณ์เทคโนโลยี
สารสนเทศ
เน้นเพียงทักษะทางความรู้เท่านั้นเป็นการ
บอกข้อมูลที่รู้ โดยเอาความสนใจเป็นหลัก
เน้นเพียงความรู้ความเข้าใจเพียงเท่านั้น
1. แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลองผิด
ลองถูก การเปรียบเทียบ
2. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน หรือ
การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์ หรือข้อความ
3. เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้
ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ
4. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ
เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์
5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงการใช้
คอมพิวเตอร์ร่วมกัน
ดูแลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งาน
อย่างเหมาะสม
เน้นทักษะหลากหลายด้าน โดยที่สาคัญคือ
เน้นทักษะในการแก้ปัญหาเพื่อที่ผู้เรียนจะได้
สามารถนาไปใช้ได้จริง นอกจากนี้ยังเน้นให้
ผู้เรียนสามารถสร้างชิ้นงานจากตนเองได้
แล้วยังสอนให้ผู้เรียนรู้จักความปลอดภัยใน
การใช้เทคโนโลยีซึ่งเป็นเรื่องที่สาคัญมากใน
ปัจจุบัน
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประถมศึกษาปีที่ ๒หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้
1. บอกประโยชน์ของข้อมูลและรวบรวม
ข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่
เชื่อถือได้
2. บอกประโยชน์และการรักษา
แหล่งข้อมูล
3. บอกชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์พื้นฐาน
ที่เป็นส่วนประกอบหลักของ
คอมพิวเตอร์
เน้นทักษะในการสื่อสารและความรู้ โดยให้
นักเรียนมีการแสดงความรู้ที่มีออกมาโดยการ
แสดงความคิดเห็น และเน้นการเรียนการสอน
ที่ทาให้ผู้เรียนได้เห็นคุณค่าของคอมพิวเตอร์
1. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน หรือ
การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์ หรือข้อความ
2. เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้
ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม
3. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดหมวดหมู่
ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตาม
วัตถุประสงค์
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงการใช้
คอมพิวเตอร์ร่วมกัน
5. ดูแลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งาน
อย่างเหมาะสม
เน้นทักษะในการปฏิบัติ ซึ่งต่อเนื่องมาจากชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 เน้นกระบวนการให้
ผู้เรียนได้ฝึกเป็นลาดับขั้นตอน ทั้งในเรื่องของ
การคิดก็เป็นกระบวนการขั้น เน้นให้ผู้เรียน
สร้างสรรค์ผลงาน และรู้จักแก้ปัญหาหาก
ผลงานมีความผิดพลาด
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประถมศึกษาปีที่ ๓หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้
1. ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอน และ
นาเสนอข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ
2. บอกวิธีดูแลและรักษาอุปกรณ์
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เน้นทักษะในการค้นคว้าข้อมูลแล้วนามา
จัดสร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเอง แล้วนา
ข้อมูลนั้นมาเผยแพร่ให้กับผู้อื่นได้ นอกจากนี้
ยังเน้นในเรื่องการดูแลรักษา และเห็นคุณค่า
ของสิ่งของ
1. แสดงอัลกอริธึมในการทางาน หรือการ
แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์หรือข้อความ
2. เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้
ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม
3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้
4. รวบรวม ประมวลผล และนาเสนอ
ข้อมูลโดยใช้ซอฟต์แวร์ตาม
วัตถุประสงค์
5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการ
ใช้อินเทอร์เน็ต
เน้นทักษะหลากหลายด้าน ทั้งการค้นหา
ข้อมูล รวบรวม ประมวลผล แล้วนามา
จัดสร้างเป็นองค์ความรู้แล้วสามารถเผยแพร่
ให้กับบุคคลอื่นได้ เน้นการเรียนการสอนที่
เข้มข้นขึ้น โดยในชั้นนี้ผู้เรียนจะสามารถใช้
สัญลักษณ์ต่างๆได้ รู้จักวิธีการแก้ปัญหา และ
สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นและปฏิบัติตาม
กฎเกณฑ์ต่างๆได้
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประถมศึกษาปีที่ ๔หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้
1. บอกชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์
เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. บอกหลักการทางานเบื้องต้นของ
คอมพิวเตอร์
3. บอกประโยชน์และโทษจากการใช้งาน
คอมพิวเตอร์
4. ใช้ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อ
การทางาน
5. สร้างภาพหรือชิ้นงานจากจินตนาการ
โดยใช้โปรแกรมกราฟิกด้วยความ
รับผิดชอบ
เน้นให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่างๆ เน้น
ทางด้านการรู้จาเรียนเพื่อจา แล้วจึงจะ
สามารถนาไปใช้ แล้วในชั้นนี้มีการส่งเสริมให้
ผู้เรียนมีโอกาสสร้างผลงานได้ด้วยตนเอง
สามารถปฏิบัติการกับคอมพิวเตอร์จริงๆได้
1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การ
อธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์
จากปัญหาอย่างง่าย
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย
โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา
ข้อผิดพลาดและแก้ไข
3. ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาความรู้ และ
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและ
สารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่
หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจาวัน
5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพใน
สิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบ
ข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม
เน้นให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ รู้จักใช้
เหตุผล ตรรกะต่างๆในการแก้ปัญหา รู้จัก
วิเคราะห์คาดเดาสถานการณ์ล่วงหน้า มี
ความสามารถในการประเมินความน่าเชื่อถือ
ของข้อมูลที่มีอยู่ในระบบสารสนเทศ เน้นให้ผู้
เรียนรู้ถึงสิทธิที่ควรเคารพของตนเองผู้อื่น
และหน้าที่ของตนเองที่มีต่อระบบสารสนเทศ
ต่างๆ
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประถมศึกษาปีที่ ๕หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้
1. ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจ และเป็น
ประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่
เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
2. สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวันด้วยความรับผิดชอบ
เน้นทักษะกระบวนการในการค้นหาข้อมูล
รู้จักวิเคราะห์คัดเลือกข้อมูลที่มีความ
เหมาะสมตรงตามจุดประสงค์ มีความ
รับผิดชอบในการทางาน และสามารถสร้าง
ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิตตนเองได้
1. ให้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การ
อธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์
จากปัญหาอย่างง่าย
2. ออกแบบการเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผล
เชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาด
และแก้ไข
3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสาร
และทางานร่วมกัน ประเมินความน่าเชื่อถือ
ของข้อมูล
4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอ ข้อมูลและ
สารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้
ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่
หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน
5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มี
มารยาท เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตน เคารพใน
สิทธิของผู้อื่นแจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูล
หรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม
เน้นให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ รู้จักใช้
เหตุผล ตรรกะต่างๆในการแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจาวัน สามารถออกแบบโปรแกรมที่
ใช้ตรรกะอย่างง่าย รู้จักวิเคราะห์คาดเดา
สถานการณ์ล่วงหน้า มีความสามารถในการ
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่มีอยู่ใน
ระบบสารสนเทศ เน้นให้ผู้เรียนรู้ถึงสิทธิที่ควร
เคารพของตนเองผู้อื่น และหน้าที่ของตนเองที่
มีต่อระบบสารสนเทศต่างๆ มีมารยาทในการ
ใช้ข้อมูลคอมพิวเตอร์
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประถมศึกษาปีที่ ๖หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้
1. บอกหลักการเบื้องต้นของการ
แก้ปัญหา
2. ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล
3. เก็บรักษาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ใน
รูปแบบต่าง ๆ
4. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม
โดยเลือกใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์
5. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจาก
จินตนาการหรืองานที่ทาใน
ชีวิตประจาวันอย่างมีจิตสานึกและ
ความรับผิดชอบ
เน้นกระบวนการในการรู้จาข้อมูลต่างๆ
ผู้เรียนรู้จักวิธีการค้นหาข้อมูลโดยใช้
คอมพิวเตอร์ สามารถเก็บรักษาข้อมูลได้
ในชั้นนี้ผู้เรียนต้องสามารถเลือกใช้โปรแกรมที่
มีความหลากหลาย สามารถสร้างชิ้นงานด้วย
ตนเอง และมีจิตสานึกมีความรับผิดชอบใน
การทางาน
1. ให้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบาย
และออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่พบใน
ชีวิตประจาวัน
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย
เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน
ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมและ
แก้ไข
3. ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูล
อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกัน
อย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่
ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้ง
ผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่
ไม่เหมาะสม
เน้นให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ รู้จักใช้
เหตุผล เพิ่มระดับการแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล
เป็นการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ สามารถ
ตรวจสอบความผิดพลาดของชิ้นงานได้เอง
เน้นการนาไปใช้ได้จริงในชีวิตประจาวันรู้จัก
การใช้เทคโนโลยีให้เกิดประสิทธิภาพ ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกันอย่าง
ปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน
เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบ
ข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม
บทวิพากษ์ ในมุมมองของนักศึกษาวิชาชีพครู(สาขา
คอมพิวเตอร ์ศึกษา)
ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงและเทคโนโลยีที่ทันสมัยขึ้น อาจ
เป็ นส่วนที่ทาให้การจัดหลักสูตร มุ่งเน้นไปยังการใช้
เทคโนโลยี ให้มีบทบาทในการเรียนการสอน เพิ่มบทบาท
ของกิจกรรม ลดการบรรยาย แต่หากมองในมุมต่าง หากเด็ก
หรือโรงเรียนที่ยังห่างไกลเทคโนโลยี จะถือเป็ นการขาด
โอกาส หรือไม่เท่าเทียมหรือไม่
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Thanks for your attention.
237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

What's hot

การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...natthasarttier
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรsirato2539
 
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...Pornwipa Onlamul
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...Ham Had
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560daykrm
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรCholticha New
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อkitsada
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศchaimate
 
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300khon Kaen University
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาเสย ๆๆๆๆ
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30ssuserb03cca
 

What's hot (20)

การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
แบบร่าง
 แบบร่าง แบบร่าง
แบบร่าง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
 
Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก  กภาคผนวก  ก
ภาคผนวก ก
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33
 

Similar to เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...Meenarat Bunkanha
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางPhunthawit
 
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 และหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ฉบับปรั...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 และหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ฉบับปรั...การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 และหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ฉบับปรั...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 และหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ฉบับปรั...nanny2126
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...HeroFirst BirdBird
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางBest Khotseekhiaw
 
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรNong Earthiiz
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556Cher Phabet
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖Kitsanee Homewong
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551narissararuksri
 
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551ayumuprite
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมAnanyaluk Chaiwut
 
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) maitree_s
 
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)Apichaya Savetvijit
 

Similar to เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง (20)

เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 และหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ฉบับปรั...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 และหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ฉบับปรั...การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 และหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ฉบับปรั...
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 และหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ฉบับปรั...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็กเปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
 
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
 
Dpu template 462-n
Dpu template 462-nDpu template 462-n
Dpu template 462-n
 
Curriculum2551&2560
Curriculum2551&2560Curriculum2551&2560
Curriculum2551&2560
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
เปรียบเทียบหลักสูตร2551+2556
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
 
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551
การเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551
 
9
99
9
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
 
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)รายงานบทที่+1[1 5] (1)
รายงานบทที่+1[1 5] (1)
 

เปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

  • 1. เปรียบเทียบ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู ้แกนกลาง ระหว่าง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551(สาระที่3 มาตรฐานที่ 3.1) และ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551(สาระที่8 มาตรฐานที่ 8.2) ระดับ ประถมศึกษา 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. เสนอ ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์ โดย นายกวิน เธียรวรรณ 583050161-0 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รายวิชา 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 3. 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื้อหาของเอกสาร -ตารางเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู ้แกนกลางระหว่าง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 และ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 ในระดับ ประถมศึกษา - บทวิพากษ์ ในมุมมองของนักศึกษาวิชาชีพครู(สาขาคอมพิวเตอร ์ ศึกษา)
  • 4. 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประถมศึกษาปีที่ ๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ 1. บอกข้อมูลที่สนใจและแหล่งข้อมูลที่ อยู่ใกล้ตัว 2. บอกประโยชน์ของอุปกรณ์เทคโนโลยี สารสนเทศ เน้นเพียงทักษะทางความรู้เท่านั้นเป็นการ บอกข้อมูลที่รู้ โดยเอาความสนใจเป็นหลัก เน้นเพียงความรู้ความเข้าใจเพียงเท่านั้น 1. แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลองผิด ลองถูก การเปรียบเทียบ 2. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน หรือ การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ 3. เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ 4. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงการใช้ คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งาน อย่างเหมาะสม เน้นทักษะหลากหลายด้าน โดยที่สาคัญคือ เน้นทักษะในการแก้ปัญหาเพื่อที่ผู้เรียนจะได้ สามารถนาไปใช้ได้จริง นอกจากนี้ยังเน้นให้ ผู้เรียนสามารถสร้างชิ้นงานจากตนเองได้ แล้วยังสอนให้ผู้เรียนรู้จักความปลอดภัยใน การใช้เทคโนโลยีซึ่งเป็นเรื่องที่สาคัญมากใน ปัจจุบัน
  • 5. 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประถมศึกษาปีที่ ๒หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ 1. บอกประโยชน์ของข้อมูลและรวบรวม ข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ เชื่อถือได้ 2. บอกประโยชน์และการรักษา แหล่งข้อมูล 3. บอกชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์พื้นฐาน ที่เป็นส่วนประกอบหลักของ คอมพิวเตอร์ เน้นทักษะในการสื่อสารและความรู้ โดยให้ นักเรียนมีการแสดงความรู้ที่มีออกมาโดยการ แสดงความคิดเห็น และเน้นการเรียนการสอน ที่ทาให้ผู้เรียนได้เห็นคุณค่าของคอมพิวเตอร์ 1. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน หรือ การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ 2. เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรม 3. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดหมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตาม วัตถุประสงค์ 4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงการใช้ คอมพิวเตอร์ร่วมกัน 5. ดูแลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งาน อย่างเหมาะสม เน้นทักษะในการปฏิบัติ ซึ่งต่อเนื่องมาจากชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 เน้นกระบวนการให้ ผู้เรียนได้ฝึกเป็นลาดับขั้นตอน ทั้งในเรื่องของ การคิดก็เป็นกระบวนการขั้น เน้นให้ผู้เรียน สร้างสรรค์ผลงาน และรู้จักแก้ปัญหาหาก ผลงานมีความผิดพลาด
  • 6. 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประถมศึกษาปีที่ ๓หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ 1. ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอน และ นาเสนอข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ 2. บอกวิธีดูแลและรักษาอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เน้นทักษะในการค้นคว้าข้อมูลแล้วนามา จัดสร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเอง แล้วนา ข้อมูลนั้นมาเผยแพร่ให้กับผู้อื่นได้ นอกจากนี้ ยังเน้นในเรื่องการดูแลรักษา และเห็นคุณค่า ของสิ่งของ 1. แสดงอัลกอริธึมในการทางาน หรือการ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์หรือข้อความ 2. เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา ข้อผิดพลาดของโปรแกรม 3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ 4. รวบรวม ประมวลผล และนาเสนอ ข้อมูลโดยใช้ซอฟต์แวร์ตาม วัตถุประสงค์ 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการ ใช้อินเทอร์เน็ต เน้นทักษะหลากหลายด้าน ทั้งการค้นหา ข้อมูล รวบรวม ประมวลผล แล้วนามา จัดสร้างเป็นองค์ความรู้แล้วสามารถเผยแพร่ ให้กับบุคคลอื่นได้ เน้นการเรียนการสอนที่ เข้มข้นขึ้น โดยในชั้นนี้ผู้เรียนจะสามารถใช้ สัญลักษณ์ต่างๆได้ รู้จักวิธีการแก้ปัญหา และ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นและปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ต่างๆได้
  • 7. 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประถมศึกษาปีที่ ๔หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ 1. บอกชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. บอกหลักการทางานเบื้องต้นของ คอมพิวเตอร์ 3. บอกประโยชน์และโทษจากการใช้งาน คอมพิวเตอร์ 4. ใช้ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อ การทางาน 5. สร้างภาพหรือชิ้นงานจากจินตนาการ โดยใช้โปรแกรมกราฟิกด้วยความ รับผิดชอบ เน้นให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านต่างๆ เน้น ทางด้านการรู้จาเรียนเพื่อจา แล้วจึงจะ สามารถนาไปใช้ แล้วในชั้นนี้มีการส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีโอกาสสร้างผลงานได้ด้วยตนเอง สามารถปฏิบัติการกับคอมพิวเตอร์จริงๆได้ 1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การ อธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย 2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา ข้อผิดพลาดและแก้ไข 3. ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาความรู้ และ ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล 4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและ สารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่ หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวัน 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพใน สิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบ ข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม เน้นให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ รู้จักใช้ เหตุผล ตรรกะต่างๆในการแก้ปัญหา รู้จัก วิเคราะห์คาดเดาสถานการณ์ล่วงหน้า มี ความสามารถในการประเมินความน่าเชื่อถือ ของข้อมูลที่มีอยู่ในระบบสารสนเทศ เน้นให้ผู้ เรียนรู้ถึงสิทธิที่ควรเคารพของตนเองผู้อื่น และหน้าที่ของตนเองที่มีต่อระบบสารสนเทศ ต่างๆ
  • 8. 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประถมศึกษาปีที่ ๕หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ 1. ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจ และเป็น ประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่ เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์ 2. สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันด้วยความรับผิดชอบ เน้นทักษะกระบวนการในการค้นหาข้อมูล รู้จักวิเคราะห์คัดเลือกข้อมูลที่มีความ เหมาะสมตรงตามจุดประสงค์ มีความ รับผิดชอบในการทางาน และสามารถสร้าง ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิตตนเองได้ 1. ให้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การ อธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย 2. ออกแบบการเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผล เชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาด และแก้ไข 3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสาร และทางานร่วมกัน ประเมินความน่าเชื่อถือ ของข้อมูล 4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอ ข้อมูลและ สารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มี มารยาท เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตน เคารพใน สิทธิของผู้อื่นแจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูล หรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม เน้นให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ รู้จักใช้ เหตุผล ตรรกะต่างๆในการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวัน สามารถออกแบบโปรแกรมที่ ใช้ตรรกะอย่างง่าย รู้จักวิเคราะห์คาดเดา สถานการณ์ล่วงหน้า มีความสามารถในการ ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่มีอยู่ใน ระบบสารสนเทศ เน้นให้ผู้เรียนรู้ถึงสิทธิที่ควร เคารพของตนเองผู้อื่น และหน้าที่ของตนเองที่ มีต่อระบบสารสนเทศต่างๆ มีมารยาทในการ ใช้ข้อมูลคอมพิวเตอร์
  • 9. 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประถมศึกษาปีที่ ๖หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ้ 1. บอกหลักการเบื้องต้นของการ แก้ปัญหา 2. ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล 3. เก็บรักษาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ใน รูปแบบต่าง ๆ 4. นาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสม โดยเลือกใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 5. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจาก จินตนาการหรืองานที่ทาใน ชีวิตประจาวันอย่างมีจิตสานึกและ ความรับผิดชอบ เน้นกระบวนการในการรู้จาข้อมูลต่างๆ ผู้เรียนรู้จักวิธีการค้นหาข้อมูลโดยใช้ คอมพิวเตอร์ สามารถเก็บรักษาข้อมูลได้ ในชั้นนี้ผู้เรียนต้องสามารถเลือกใช้โปรแกรมที่ มีความหลากหลาย สามารถสร้างชิ้นงานด้วย ตนเอง และมีจิตสานึกมีความรับผิดชอบใน การทางาน 1. ให้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบาย และออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่พบใน ชีวิตประจาวัน 2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมและ แก้ไข 3. ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูล อย่างมีประสิทธิภาพ 4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกัน อย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้ง ผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ ไม่เหมาะสม เน้นให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ รู้จักใช้ เหตุผล เพิ่มระดับการแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล เป็นการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ สามารถ ตรวจสอบความผิดพลาดของชิ้นงานได้เอง เน้นการนาไปใช้ได้จริงในชีวิตประจาวันรู้จัก การใช้เทคโนโลยีให้เกิดประสิทธิภาพ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกันอย่าง ปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบ ข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม
  • 10. บทวิพากษ์ ในมุมมองของนักศึกษาวิชาชีพครู(สาขา คอมพิวเตอร ์ศึกษา) ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงและเทคโนโลยีที่ทันสมัยขึ้น อาจ เป็ นส่วนที่ทาให้การจัดหลักสูตร มุ่งเน้นไปยังการใช้ เทคโนโลยี ให้มีบทบาทในการเรียนการสอน เพิ่มบทบาท ของกิจกรรม ลดการบรรยาย แต่หากมองในมุมต่าง หากเด็ก หรือโรงเรียนที่ยังห่างไกลเทคโนโลยี จะถือเป็ นการขาด โอกาส หรือไม่เท่าเทียมหรือไม่ 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 11. Thanks for your attention. 237300 การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น