SlideShare a Scribd company logo
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
การบรรยายครั้งที่ 2
• ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
• วิวัฒนาการของกฎหมายในสังคม
• สานักกฎหมาย
• ระบบกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
กฎหมาย คือ กฎเกณฑ์ที่เป็นแบบแผนความประพฤติของมนุษย์ในสังคมซึ่ง
มีกระบวนการบังคับที่เป็นกิจจะลักษณะ
ลักษณะของกฎหมาย
1. กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นข้อบังคับ
2. ต้องเป็นข้อบังคับของรัฐ
3. กฎหมายต้องกาหนดความประพฤติของมนุษย์
4. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
5. กฎหมายต้องมีกระบวนการบังคับที่เป็นกิจจะลักษณะ
1. กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
หมายความว่ากฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัด
และใช้กาหนดความประพฤติของสมาชิกของสังคมได้ว่าถูกหรือผิด ให้
กระทาการได้หรือห้ามกระทาการ ในกรณีให้กระทาการ
เช่น ชายที่มีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ต้องไปรับการเกณฑ์ทหาร ใน
กรณีที่ห้ามมิให้กระทาการ เช่น ห้ามทาร้ายผู้อื่นหรือเอาทรัพย์ของผู้อื่นไป
โดยเขาไม่อนุญาต ซึ่งหากผู้ใดฝ่าฝืนไม่ยอมปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่กาหนด
ไว้ถือเป็นสิ่งที่ผิดและจะถูกลงโทษ
2. ต้องเป็นข้อบังคับของรัฐ
3. กฎหมายต้องกาหนดความประพฤติของบุคคล
ความประพฤติ ในที่นี้ได้แก่การเคลื่อนไหวหรือไม่เคลื่อนไหว
ร่างกายภายใต้การควบคุมของจิตใจ รวมไปถึงกระทาการหรืองดเว้น
กระทาอย่างใดที่ต้องอาศัยร่างกายเคลื่อนไหว
กฎหมายต้องกาหนดถึงความประพฤติของคน ถ้าเป็นสัตว์กระทา
ให้คนเสียหายกฎหมายไม่ลงโทษสัตว์ แต่อาจลงโทษคนผู้เป็นเจ้าของสัตว์
นั้นได้
4. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
เพื่อให้มนุษย์ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ จึงจาเป็นต้องมีสภาพบังคับ ใน
กรณีที่มีการฝ่าฝืนกฎเกณฑ์ใดแต่ไม่มีสภาพบังคับ ไม่เรียกกฎเกณฑ์นั้นว่า
เป็นกฎหมาย
สภาพบังคับ(SANCTION) ของกฎหมายคือโทษต่างๆใน
กฎหมาย
สภาพบังคับอาญา ได้แก่ประหารชีวิต จาคุก กักขัง ปรับ ริบ
ทรัพย์สิน
สภาพบังคับของกฎหมายแพ่ง ได้แก่การกาหนดให้การกระทาที่ฝ่า
ฝืนกฎหมายนั้นตกเป็นโมฆะหรือโมฆียะ
5. กฎหมายต้องมีกระบวนการบังคับที่เป็นกิจจะลักษณะ
นอกจากกฎหมายต้องมีสภาพบังคับแล้ว สภาพบังคับของ
กฎหมายนั้นจะต้องมีกระบวนการที่แน่นอนโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วย
เพราะกฎหมายไม่สามารถให้ประชาชนด้วยกันเองเป็นผู้ใช้บังคับกฎหมาย
ได้
จากการที่กฎหมายมีกระบวนการบังคับที่เป็นกิจจะลักษณะเช่นนี้
จึงทาให้กฎหมายมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์ควบคุมความประพฤติของมนุษย์
ซึ่งแตกต่างจากศีลธรรม ศาสนา หรือจารีตประเพณี กระบวนการบังคับใช้
กฎหมายที่รวมศูนย์อยู่ที่รัฐนี้กระทาโดยผ่านองค์กรต่างๆ เช่น ตารวจ
อัยการ ศาลราชทัณฑ์ เป็นต้น
บ่อเกิดของกฎหมาย
บ่อเกิดของกฎหมายที่มิได้บัญญัติขึ้น เป็นบ่อเกิดของกฎหมายที่ไม่ได้เกิดจาก
ความจงใจแต่เป็นบ่อเกิดของกฎหมายที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือเกิดจาก
การปรุงแต่งการให้เหตุผลทางนิติศาสตร์ และการตีความกฎหมาย
1 กฎหมายจารีตประเพณี
2 แนวคาพิพากษาของศาล
3 หลักกฎหมายทั่วไป
บ่อเกิดของกฎหมายที่บัญญัติขึ้น เป็นกฎหมายที่เกิดขึ้นโดยกระบวนการนิติ
บัญญัติซึ่งผู้บัญญัติจะต้องมีอานาจและความชอบธรรมที่จะบัญญัติขึ้นมา
1 กฎหมายนิติบัญญัติ
2 กฎหมายบริหารบัญญัติ
3 กฎหมายองค์การบัญญัติ
กฎหมายจารีตประเพณี
กฎหมายจารีตประเพณีเป็นบ่อเกิดกฎหมายแรกสุดที่ปรากฏในสังคมมนุษย์
จารีตประเพณีเกิดจากพฤติกรรมการเลียนแบบของมนุษย์หรือเกิดจากความเคยชินที่
คนมักกระทาตามคนส่วนใหญ่ เมื่อการกระทานั้นถูกปฏิบัติต่อเนืองกันมาเรื่อยๆ เป็น
เวลานาน ก็กลายเป็นจารีตประเพณี จารีตประเพณีที่กลายเป็นกฎหมายจารีตประเพณี
นั้นจะปรากฏออกมาในรูปของจิตสานึกเรื่องถูกผิด มิใช่จิตสานึกธรรมดา แต่เป็น
จิตสานึกทีมีลักษณะบังคับทางกฎหมายด้วย
ลักษณะ
- ต้องเป็นการกระทาของคนหลายๆ คน ที่ได้รับการปฏิบัติมาอย่างยาวนาน
- ต้องได้รับการถือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
- ต้องมีการปฏิบัติอย่างไม่มีการคัดค้าน
- ต้องมีความชัดเจนแน่นอน
- ความสม่าเสมอ
- มีความรู้สึกเชื่อมั่นว่าเป็นกฎหมาย ด้วยเหตุนี้หากฝ่าฝืนแล้วย่อมมีความผิดและถูก
ลงโทษ
วิวัฒนาการกฎหมาย 3 ยุค/ ทฤษฎีกฎหมาย 3 ชั้น
ยุค รูปแบบของ
กฎหมาย
เหตุผล หมายเหตุ
ยุคกฎหมาย
ชาวบ้าน
ศีลธรรม/
จารีตประเพณี
เหตุผลธรรมดา
ของสามัญชน
กฎหมายยุคนี้เป็นเรื่องความรู้สึกผิดชอบชั่วดีที่
เกิดจากการประพฤติปฏิบัติ กฎหมายกับ
ศีลธรรมไม่ได้แยกออกจากกัน
ยุคกฎหมาย
นักกฎหมาย
หลักกฎหมาย/
หลักนิติศาสตร์
เหตุผลปรุงแต่ง
ทางกฎหมาย
ยุคนี้ใช้เหตุผลชั่งตรองในการชี้ขาดข้อพิพาท
หลักกฎหมายที่เกิดขึ้นเรียกว่ากฎหมายของนัก
กฎหมาย เช่น อายุความ การครอบครอง
ปรปักษ์ การป้ องกัน การกระทาโดยจาเป็น ฯลฯ
วิชานิติศาสตร์และวิชาชีพนักกฎหมายเกิดขึ้นใน
ยุคนี้
ยุคกฎหมาย
เทคนิค
กฎหมาย
ลายลักษณ์
อักษร
เหตุผลทางเทคนิค กฎหมายยุคนี้เกิดจากการบัญญัติขึ้น เพื่อแก้ไข
ปัญหาเฉพาะในบางเรื่อง กฎหมายจึงเกิดได้ใน
ทันทีทันใด โดยเหตุผลทางเทคนิค เช่น กฎหมาย
จราจร กฎหมายภาษีอากร กฎหมายป่าไม้ เป็น
ต้น
• คนป่า ก. ฆ่า คนป่า ข. เพราะต้องการจะชิงหน่อไม้ของคนป่า ข.
(กฎหมายชาวบ้าน)
• ก. ฆ่า ข. เพราะเห็นว่า ข. กาลังจะฆ่าลูกของตน
หลักป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ม. 68 ประมวลกฎหมายอาญา (ยุคกฎหมาย
ของนักกฎหมาย)
• ก. ฆ่า ข. เพราะ ค. จะฆ่าลูกและภรรยาของ ก. หาก ก. ไม่ฆ่า ข.
หลักการกระทาโดยจาเป็น ม.67 ประมวลกฎหมายอาญา (ยุคกฎหมายของนัก
กฎหมาย)
- ประเทศ ก กาหนดให้มีการจัดเก็บภาษีประชาชน เป็นจานวน ร้อยละ50 ของรายได้
ทั้งหมด
(ยุคกฎหมายเทคนิค)
สานักกฎหมาย
สานักกฎหมาย คือ สถาบันทางกฎหมายอันเป็นที่รวมของนักนิติ
ปรัชญา ที่ให้ความเห็นเกี่ยวกับกฎหมาย
• สานักกฎหมายประวัติศาสตร์
• สานักกฎหมายบ้านเมือง
• สานักธรรมนิยม
• สานักกฎหมายธรรมชาติ
สานักกฎหมาย
• สานักกฎหมายประวัติศาสตร์
แนวคิด กฎหมายมีวิวัฒนาการไปตามประวัติศาสตร์ ปรากฏในรูปของจารีตประเพณี และวิวัฒนาการเป็น
กฎหมายของแต่ละชนชาติ
• สานักกฎหมายบ้านเมือง
แนวคิด กฎหมายคือ คาสั่งของรัฐาธิปัตย์ เมื่อไม่ปฏิบัติตามย่อมมีโทษ
• สานักธรรมนิยม
แนวคิด กฎหมายที่แท้จริง คือเหตุผลที่ถูกต้อง ความมีอยู่จริงของอานาจทางกฎหมายมีอานาจเหนือคาสั่ง
ของรัฐาธิปัตย์ เช่น หลักสัญญาประชาคม หลักประชาธิปไตย หลักนิติรัฐ หลักประชาธิปไตย
สานักกฎหมายธรรมชาติ
แนวคิด กฎหมายเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ เรียกว่า กฎหมายธรรมชาติ และเกิดจากธรรมชาติโดยตรง
เหมือนปรากฏการณ์อื่นของโลก บ้างก็เชื่อว่า ธรรมชาตินั้นคือพระผู้เป็นเจ้า ทาให้หลักเกณฑ์ทางศาสนา
เหตุผลและศีลธรรม จึงเป็นสิ่งที่กฎหมายเชื่อว่าเป็นที่มาของกฎหมาย เพราะกฎหรือระเบียบใดที่ขัดต่อ
เหตุผลและศีลธรรมย่อมไร้สภาพบังคับทางกฎหมายทั้งสิ้น
ระบบลายลักษณ์อักษร (Civil Law)
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร (Civil Law) หรือ ระบบ
ประมวลกฎหมาย หรือระบบกฎหมายภาคพื้นยุโรป คือ ระบบ
กฎหมายที่ถือว่าประมวลกฎหมายเป็นบ่อเกิดของกฎหมาย
ที่มา
• กฎหมาย 12 โต๊ะ
• ความเห็นของนักกฎหมาย
• ประมวลกฎหมายแพ่งของพระเจ้าจัสติเนียน
ระบบลายลักษณ์อักษร (Civil Law) (ต่อ)
ประมวลกฎหมาย คือ กฎหมายที่รวบรวมกฎหมายในเรื่อง
เดียวกันหรือเกี่ยวพันกัน มาไว้ในที่เดียวกัน แล้วจัดหมวดหมู่ให้เป็น
ระเบียบ มีข้อความคล้องจอง มีลักษณะเป็นกฎหมายหลักและเป็น
กฎหมายทั่วไป เช่น ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์
คาพิพากษาของศาลเป็นเพียงคาอธิบายในการใช้ตัวบทกฎหมาย
ปรับใช้กับคดีความ คาพิพากษาใหม่อาจตัดสินเปลี่ยนแปลงคาพิพากษา
เดิมได้โดยวางหลักเกณฑ์หรืออ้างเหตุผลใหม่
ประเทศส่วนใหญ่ใช้ระบบนี้เช่น ฝรั่งเศส ไทย ญี่ปุ่น เกาหลี
ระบบ common law กฎหมายจารีตประเพณี
คือ ระบบกฎหมายที่อาศัยแนวคาพิพากษาของศาลเป็น
ที่มาหลักของกฎหมาย จึงกล่าวได้ว่า บ่อเกิดของกฎหมาย มาจาก
คาพิพากษาของศาล หรืออาจกล่าวได้ว่าคาพิพากษาเป็นตัวบท
กฎหมาย ดังนั้น เมื่อมีคดีในกรณีอย่างเดียวกันเกิดขึ้นศาลย่อม
ต้องตัดสินตามแนวคาพิพากษาก่อนๆ นั้นเสมอ
มีแหล่งกาเนิดที่ประเทศอังกฤษ ส่วนมากใช้ในประเทศใน
เครือสหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา มาเลเซีย สิงคโปร์
ระบบจารีตประเพณี (Common Law) (ต่อ)
ที่มา ที่สาคัญมีอยู่ 2 ประเภท คือ
1.หลักกฎหมายที่เกิดจากแนวคาพิพากษาของศาล เป็นบ่อเกิดของ
กฎหมาย common law ที่สาคัญที่สุด หมายถึง เหตุผลทางกฎหมายที่ศาล
วินิจฉัยคดีหนึ่งๆ ย่อมมีผลผูกพัน หรือได้รับการยอมรับนับถือเป็นกฎหมาย มี
ผลให้หากมีข้อเท็จจริงเดียวกันในอนาคตศาลย่อมผูกพันที่จะวินิจฉัยไปตาม
แนวทางเดิม
2.กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่ตราโดยฝ่ายนิติบัญญัติ จะมีลักษณะ
เป็นกฎหมายพิเศษ เพราะเป็นกฎหมายที่วางหลักในเรื่องหนึ่งเรืองใด
โดยเฉพาะ มีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์รายละเอียดปลีกย่อย เทียบไม่ได้กับ
ประมวลกฎหมายของ civil law ประมวลกฎหมาย จะมีลักษณะเป็นข้อความ
ธรรมดาทั่วไป มุ่งวางหลักกฎหมายเป็นสาคัญ พร้อมที่จะให้ผู้พิพากษา
ตีความตัวบทได้อย่างกว้างขวาง
ข้อแตกต่างระหว่างระบบกฎหมาย common law และ civil law
บ่อเกิดของกฎหมาย
- ระบบ civil law บ่อเกิดกฎหมายที่สาคัญที่สุด คือ ประมวลกฎหมาย และ
กฎหมายลายลักษณ์อักษรอื่นๆ ส่วนคาพิพากษานั้นมิได้ถือว่าเป็นบ่อเกิดของ
กฎหมาย แต่เป็นเพียงตัวอย่างของการตีความและการใช้กฎหมายเท่านั้น
- ระบบ common law บ่อเกิดกฎหมายที่สาคัญที่สุดคือ หลักกาหมายที่เกิด
จากการตัดสินหรือแนวคาพิพากษาของศาล ส่วนกฎหมายลายลักษณ์อักษรจะมี
บทบาทที่สาคัญน้อยกว่า
บทบาทความสาคัญของนักกฎหมาย
- ระบบ civil law นักกฎหมายที่มีบทบาทสาคัญ ได้แก่ นักนิติศาสตร์ หรือ
ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ผู้พิพากษาเป็นเพียงผู้ปรับใช้และตีความ
กฎหมายเท่านั้น ผู้พิพากษาไม่ค่อยมีบทบาทมากนักในเชิงวิชาการ หรือการพัฒนา
องค์ความรู้ใหม่
-ระบบ common law ผู้พิพากษาจะมีบทบาทความสาคัญมาก กล่าวได้ว่า ผู้
พิพากษาเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งกฎหมายและความยุติธรรม เพราะว่าระบบกฎหมาย
common law เกิดขึ้นได้ด้วยการวินิจฉัยโดยผู้พิพากษาเป็นเวลาหลายร้อยปี
ข้อแตกต่างระหว่างระบบกฎหมาย common law และ civil law (ต่อ)
การแบ่งแยกกฎหมายเอกชนออกจากกฎหมายมหาชน
- ระบบ civil law มีการแบ่งแยกกฎหมายเอกชนออกจากกฎหมาย
มหาชน ประเทศที่ใช้ระบบ civil law จึงมักใช้ระบบศาลคู่ คือมีทั้งศาล
ยุติธรรม และศาลปกครอง
- ระบบ common law ไม่มีการแบ่งแยกกฎหมายเอกชนออกจาก
กฎหมายมหาชน และไม่มีการแบ่งข้อพิพาทเป็นคดีเอกชนออกจากคดี
ปกครอง ซึ่งเป็นระบบศาลเดียว
การศึกษาเล่าเรียนวิชากฎหมาย
- ระบบ civil law การศึกษาจะให้ความสาคัญกับประมวลกฎหมายและ
ทฤษฎีระดับสูงที่เป็นนามธรรม เช่น สัญญาคืออะไร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
- ระบบ common law จะให้ความสาคัญกับคาพิพากษาของศาล
โดยเฉพาะคาพิพากษาของศาลสูง โดยผู้สอนจะสอนให้นักศึกษาอ่านคา
พิพากษาของศาล โดยเฉพาะศึกษาการให้เหตุผลของศาล
ระบบของกฎหมายของประเทศไทย
ประเทศไทยใช้ระบบกฎหมาย civil law แต่มีธรรมเนียมปฏิบัติทาง
กฎหมายเป็น common law
- ศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัย
- ตารากฎหมาย
- การให้ความสาคัญระหว่างนักวิชาการกับผู้พิพากษา

More Related Content

What's hot

กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Thitaree Samphao
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
Sircom Smarnbua
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
Manchai
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
Yosiri
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
montira
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 

What's hot (20)

กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว40223acids base1
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 

Viewers also liked

ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันAJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
AJ Por
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
AJ Por
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
AJ Por
 
Minerva: A Companion Robot
Minerva: A Companion RobotMinerva: A Companion Robot
Minerva: A Companion Robot
Celso Furukawa
 
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreListas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
aquileoagustin
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestre
aquileoagustin
 
Ventricular Assist Device
Ventricular Assist DeviceVentricular Assist Device
Ventricular Assist Device
Celso Furukawa
 
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
Chonnikarn Sangsuwan
 

Viewers also liked (20)

ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
 
Minerva: A Companion Robot
Minerva: A Companion RobotMinerva: A Companion Robot
Minerva: A Companion Robot
 
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreListas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestre
 
Ventricular Assist Device
Ventricular Assist DeviceVentricular Assist Device
Ventricular Assist Device
 
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
 

Similar to กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2

กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย IsLawsom
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
กฎหมายกับความยุติธรรม
กฎหมายกับความยุติธรรมกฎหมายกับความยุติธรรม
กฎหมายกับความยุติธรรม
BCK191
 
low basic
low basiclow basic
low basic
Chulalux St
 
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdfjn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
PawachMetharattanara
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
9789740331186
97897403311869789740331186
9789740331186CUPress
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
CUPress
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
ทิวากร ธนะมูล
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
ssuser04a0ab
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1thnaporn999
 

Similar to กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 (20)

กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
T1 b1
T1 b1T1 b1
T1 b1
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
กฎหมายกับความยุติธรรม
กฎหมายกับความยุติธรรมกฎหมายกับความยุติธรรม
กฎหมายกับความยุติธรรม
 
low basic
low basiclow basic
low basic
 
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdfjn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
9789740331186
97897403311869789740331186
9789740331186
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
 
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 

กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2