SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ทั่วไป
•นายคณิน วงศ์ใหญ่
•FB/ kaninwongyai
•คะแนนเก็บ 50
• การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน (เสนองานในชั้นเรียน) 10
•ความมีส่วนร่วมในชั้นเรียน (แบบฝึกหัด) 10
•สอบกลางภาค 30 (take home)
•สอบปลายภาค 50
หนังสือแนะนาใช้เรียนมี 3เล่ม
• 1. หนังสือความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
กฎหมาย
• โดย ผศ.พิกรเศษ พ.ต.อ. ดร. ปกรณ์ มณี
ปกรณ์
• หหส.จากัดเวิร์ดเทรด ประเทศไทย โทร
02 -9319234-40
• หรือ ศูนย์หนังสือจุฬา โทร 0-2255-
4433
• ราคา 280 บาท
• 2. เตรียมสอบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
กฎหมายทั่วไป
• โดย อ.วัลภ์ วิเศษสุวรรณ์
• สั่งซื้อผ่านระบบออนไลน์ที่
www.sattaban.com
• ราคา 210 ลดพิเศษเหลือ 198.75
บาท
ประมวลกฎหมายแพ่งและอาญา
I. ที่มาและวิวัฒนาการของกฎหมาย
•คนเราอยู่คนเดียวได้ไหม ?
•ทาไมเราต้องอยู่ด้วยกัน ?
•เราจะอยู่ด้วยกันอย่างไรให้สงบสุข ?
•จาเป็นต้องมีอะไรมาบังคับ ?
•สิ่งที่บังคับต้องเป็นกฎหมาย?
ประเภท
• กม.เอกชน -- แพ่งและพาณิชย์
• กม.มหาชน --- รัฐธรรมนูญ, ปกครอง, อาญา
• กม.ระหว่างประเทศ
• แผนกคดีเมือง
• แผนกคดีบุคคล
• แผนกคดีอาญา
• สังคมมนุษย์เป็นตัวผลักดันให้มีกฎหมาย
• ยุคแรก อยู่กันเองไม่มีกฎระเบียบใดๆ
• ยุคสอง กฎหมายและคาตัดสินต่างๆอยู่ในตัวแต่ละบุคคลโดยอัตโนมัติ
• โดยมากเป็นการแก้แค้น
• ตัดสินโดยบุคคล บรรพบุรุษ หรือ ครอบครัว หรือ หัวหน้าเผ่า
• ยุคที่สาม ผู้ปกครองเข้าแทรกแซงลงโทษผู้กระทาความผิดแทนผู้ถูกกระทา
• มีการกาหนดบทลงโทษแล่ค่าเสียหาย
• มีกฎเกณฑ์แยกออกจากกัน จากตัดสินโดยคน หรือกลุ่มคนเท่านั้น
ยุคแรก
• เมื่อเกิดชุมชนขึ้นสังคมก็เกิดขึ้นพร้อมกัน
• แต่ละชุมชนจะมีข้อกฎหมายหรือกฎเกณฑ์โดยรวม
• ขนบธรรมเนียมประเพณี
• ขนบ (Pattern) = แบบอย่างแบบแผน
• ธรรมเนียม (Custom) = สิ่งที่ยึดถือปฏิบัติกันในกลุ่มเฉพาะ อาจเป็นได้ทั้งสิ่งที่ดีงาม
หรือไม่จาเป็นต้องเป็นสิ่งที่ดีงาม หรือถูกต้องในสายตากลุ่มอื่น หากแต่สิ่งนั้นได้รับ
การยอมรับกันในหมู่คนที่มีส่วนร่วมในกลุ่มนั้น
• ประเพณี (Tradition) = สิ่งดีงาม ความถูกต้องที่เรายึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมาจาก
อดีตสู่ปัจจุบัน
• ภาษาพูด
• มีความเชื่อถือโชคลาง เทพเจ้า วิญญาณต่างๆ
ขนบธรรมเนียมประเพณี กฎหมายจารีตประเพณี
Norm บรรทัดฐาน
- ใครไม่ปฏิบัติตาม ถูกลงโทษ
กฎหมาย คือ จารีตประเพณี ที่บังคับมนุษย์ในชุมชนนั้น
ต้อง
ประพฤติปฏิบัติตาม หากขัดขืนไม่เชื่อฟังก็จะต้องได้รับ
ผลร้าย
ยุคที่สอง
• สังคมใหญ่ขึ้น มีปัญหาเพิ่มขึ้น ทั้งการป้องกันสังคมและป้องกันรัฐ
• อ้างคาสั่งของวิญญาณบรรพบุรุษหรือเทพเจ้าให้มีตาแหน่งในการปกครอง
• ไม่แยกผู้ปกครองชุมชนออกจากผู้นาศาสนา
• ไม่แยกกฎหมายออกจากศีลธรรม
• โทษรุนแรงเพื่อป้องกันผู้ที่ไม่เชื่อ
กฎหมาย คือ คาสั่ง หรือคาบัญชาของเทพเจ้า หรือของ
วิญญาณบรรพบุรุษ ที่ประสงค์จะให้คนในเผ่าประพฤติปฏิบัติ
ตาม ถ้าฝ่าฝืนจะได้รับผลร้าย
ยุคที่สาม
• ผู้นาทางการปกครองแยกต่างหากจากผู้นาทางศาสนา
• กฎหมายแยกต่างหากจากศีลธรรม
• การลงโทษไม่โหดร้าย แต่เป็นโทษมาตรฐาน จาคุก ปรับ ริบทรัพย์ (ไม่มีการกระทาต่อกาย มีแต่
กระทาต่อเสรีภาพและทรัพย์สิน)
• แพ่งกับอาญาแยกต่างหากจากกัน (บังคับชาระหนี้กับทรัพย์สินเท่านั้น ไม่บังคับกับกับเสรีภาพ
เช่น เอาคนลงเป็นทาส)
กฎหมาย คือ คาสั่งหรือข้อบังคับของรัฐที่ใช้บังคับความ
ประพฤติของบุคคลอันเกี่ยวด้วยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างกัน
ถ้าใครฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามจะมีความผิดและถูกลงโทษ
โทษ
• ทางแพ่ง
• การชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าสินไหมทดแทน
• ทางอาญา
• ประหารชีวิต
• จาคุก
• กักขัง
• ปรับ
• ริบทรัพย์
II. จุดกาเนิดที่มาหรือมูลเหตุที่ทาให้เกิดกฎหมาย
• 1. หัวหน้าเผ่าหรือรัฐเป็นผู้ผลักดันคาสั่งให้เป็นกฎหมาย แต่ไม่ใช่ที่มาของกฎหมาย
• 2. ขนบธรรมเนียมประเพณี
• 3. เทพเจ้า วิญญาณบรรพบุรุษ (กฎหมายศาสนา)
• 4.ความยุติธรรม (Equity)
• มีมาแต่โบราณ
• เช่น อริสโตเติ้ล กล่าวไว้ในหนังสือ Nichomachean Ethics (สไลด์ถัดไป)
• 5. ความคิดเห็นของนักกฎหมาย
• 6. คาพิพากษาของศาล
ความยุติธรรมของอริสโตเติ้ลแบ่งออกเป็น
• 1. ความยุติธรรมโดยธรรมชาติ (Justice by Nature หรือ Natural Justice)
• มีรากฐานมาจากธรรมชาติ
• เป็นกฎยอมรับกันโดยทั่วไป
• 2. ความยุติธรรมที่เป็นแบบแผน (Conventional Justice)
• เกิดจากคาประกาศแบบแผนหรือคาสั่งของแต่ละสังคม
• เช่น โทษหนักเบาในความผิดฐานเดียวกันพอต่างที่ก็ไม่เหมือนกัน,
ความผิดที่ไม่มีความชั่วแต่เป็นการจัดระเบียบสังคม เช่น การใช้ถนนวิ่ง
ซ้ายขวา
• อริสโตเติ้ลกล่าวว่า ความยุติธรรมโดยธรรมชาติ ไม่ต้องกาหนดสภาพบังคับ เพราะทุกคนจะ
เคารพต่อกฎหมาย
• แต่ความยุติธรรมที่เป็นแบบแผน ต้องกาหนดสภาพบังคับเพื่อให้คนเคารพกฎหมาย
• นักกฎหมายศึกษาและปรับปรุงความยุติธรรมของอริสโตเติ้ล และกลายเป็นหลัก Equity ใน
ปัจจุบัน
หลัก Equity ในปัจจุบัน
• 1. ความยุติธรรมทางธรรมชาติ (Natural Justice หรือ Equity by Nature) คือ
ความยุติธรรมทีอยู่ในจิตใจของมนุษย์ทุกคน
• 2. ความยุติธรรมที่กาหนดไว้เป็นกฎหมาย (Legal Equity)
• รัฐเป็นผู้ระงับข้อพิพาท โดยคานึงถึงความเป็นธรรมก่อน เช่น มีการอุทธรณ์ฎีกา มีการยื่นเอกสารพยานหลักฐาน
II. จุดกาเนิดที่มาหรือมูลเหตุที่ทาให้เกิดกฎหมาย
•1.หัวหน้าเผ่าหรือรัฐเป็นผู้ผลักดันคาสั่งให้เป็นกฎหมาย แต่ไม่ใช่
ที่มาของกฎหมาย
•2. ขนบธรรมเนียมประเพณี
•3. เทพเจ้า วิญญาณบรรพบุรุษ (กฎหมายศาสนา)
•4. ความยุติธรรม (Equity)
•5. ความคิดเห็นของนักกฎหมาย
•6. คาพิพากษาของศาล
ความคิดเห็นของนักกฎหมาย
•กฎหมายมีวันล้าสมัย ไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์และเกิด
ช่องโหว่
•นักกฎหมาย ให้คาอธิบายกฎหมาย เพื่อปิดช่องโหว่และ
เพื่อออกกฎหมายใหม่ขจัดกฎหมายที่ไม่เหมาะสมกับ
สภาพปัจจุบัน
คาพิพากษาของศาล
• Common law เช่น อังกฤษ
• คาพิพากษาเป็นที่มาของกฎหมาย
• กฎหมายที่เป็นบทบัญญัติ
• Civil law เช่น ฝรั่งเศส ไทย
• คาพิพากษาเป็นเพียงตัวอย่างการใช้กฎหมาย (คาพิพากษาไม่ใช่ที่มา
ของกฎหมาย)
ที่มาของกฎหมายในปัจจุบัน
•จาก 6 เหลือ 2
•1. จารีตประเพณี
•2. ตัวบทกฎหมาย
I. จารีตประเพณี
• ขนบธรรมเนียมจารีต กฎหมายจารีตประเพณี (ไม่เขียน)
• ลักษณะของกฎหมายจารีตประเพณี
• ปฏิบัติกันมาช้านาน
• เชื่อมั่นว่าประเพณีที่ปฏิบัติกันมานั้นใช้บังคับเป็นกฎหมาย
• ต้องปฏิบัติต่อกันมาโดยสม่าเสมอ
• ไม่ขัดต่อตัวบทกฎหมายของบ้านเมือง
ป.พ.พ.
• มาตรา 4 วรรคสอง
เมื่อไม่มีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้นตาม
จารีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้าไม่มีจารีตประเพณีเช่นว่านั้น ให้
วินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งและถ้าบท
กฎหมายเช่นนั้นก็ไม่มีด้วย ให้วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป
หลักจารีตที่นามาใช้เป็นกฎหมาย
• 1 ปฏิบัติมานาน (20 ปี)
• 2 เป็นประเพณีอันสมควร มีเหตุมีผล ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี
• 3 ไม่ขัดต่อตัวบทกฎหมาย (ให้ช้างโดยไม่จดทะเบียน)
• 4 บุคคลในท้องถิ่นต้องปฏิบัติโดยทั่วไปอย่างเปิดเผย เช่น ของหมั้น
• 5 เป็นประเพณีที่สังคมยอมรับปฏิบัติ
• รับรู้แต่ไม่ยอมปฏิบัติไม่ใช่จารีตที่นามาใช้เป็นกฎหมายได้ (เช่น ห้าม
ทางานวันอาทิตย์)
นี่คือทางแพ่งเท่านั้น ทางอาญาใช้หลักนี้ไม่ได้
สรุปหลักกฎหมายจารีตประเพณีในไทย
•จารีตสร้างความผิดอาญาขึ้นใหม่ไม่ได้
•จารีตเพิ่มโทษอาญาให้สูงกว่าในกม.ลายลักษณ์อักษรไม่ได้
•จารีตกาหนดหน้าที่ของบุคคลเพิ่มจากกม.ลายลักษณ์อักษรไม่ได้
สรุปว่าใช้เป็นโทษไม่ได้
ใช้เป็นคุณได้อย่างเดียว
II. ตัวบทกฎหมาย
• เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษร (Positive law)
• เกิดจากผู้มีอานาจสูงสุดของรัฐ
• ไทยพระมหากษัตริย์ทรงออกกฎหมาย ภายใต้การเห็นชอบของรัฐสภา
• กฎหมายออกมาแล้วใช้ได้ตลอดไป จนกว่าจะถูกยกเลิก หรือมีกฎหมายใหม่มายกเลิกกฎหมาย
เก่า
มองเตสกิเออนักกฎหมายชาวฝรั่งเศส
•กฎหมายซึ่งมนุษย์ใช้บังคับนั้นต้องอนุโลมตามธรรมชาติ
(Lex Spectat Natural Ordinum)
สรุปลักษณะของกฎหมายลายลักษณ์อักษร
•เป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นและ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(ประกาศโฆษณาให้คนทราบ)
•มีสภาพบังคับเหมือนกันทั่วทั้ง
ประเทศ
ความรู้เบื้องต้น2
ประเภทและหมวดหมู่ของกฎหมาย
ประเภทและหมวดหมู่ของกฎหมาย
•แบ่งตามลักษณะการใช้
•แบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์ของคู่กรณี (ตามข้อความ
ของกฎหมาย)
แบ่งตามลักษณะแห่งการใช้
•กฎหมายสารบัญญัติ (Substantive law)
•เป็นเนื้อหาของกฎหมายโดยแท้
•บอกว่าถูกผิดอย่างไร, กาหนดโทษ, กาหนดสถานะ
•กฎหมายวิธีสบัญญัติ (Adjective law หรือ
Procedural law)
•วิธีการที่จะบังคับให้เป็นไปตามกฎหมายแพ่งและอาญา
•เช่น วิธีฟ้องคดี กระบวรการบังคับชาระหนี้
แบ่งตามลักษณะและความสัมพันธ์ของคู่กรณี (ตามข้อความของ
กฎหมาย)
•ดูว่าเป็นความสัมพันธ์ของใครกับใคร
•คน
•รัฐ, องค์กรของรัฐ
กฎหมายเอกชน = คนกับคน ในฐานะที่เท่าเทียมกัน
กฎหมายมหาชน = รัฐกับราษฎร ฐานะที่รัฐเหนือกว่า
กฎหมายระหว่างประเทศ = รัฐกับรัฐ องค์กรของรัฐกับรัฐ
องค์กรของรัฐกับองค์กรของรัฐ
กฎหมายเอกชน
• กฎหมายแพ่ง = สิทธิ หน้าที่ ความสัมพันธ์ของบุคคล (ฐานะ
ของบุคคล)
• เช่น บุคคล การบรรลุนิติภาวะ การสมรส การหย่า มรดก
• กฎหมายพาณิชย์ = ธุรกิจ
• เช่น หุ้นส่วนบริษัท ซื้อขาย เช่า ตั๋วเงิน บางประเทศ เช่น ฝรั่งเศส
เยอรมัน อิตาลี่ เบลเยี่ยม ญี่ปุ่น
แพ่งและพาณิชย์แยกประมวล
กัน
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของไทย
• บรรพ 1 บุคคล นิติกรรม
• บรรพ 2 หนี้(บ่อเกิด หนี้ที่เกิดจากนิติกรรม หนี้ที่เกิดจากมูล
ละเมิด)
• บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
• บรรพ 4 ทรัพย์
• บรรพ 5 ครอบครัว
• บรรพ 6 มรดก
กฎหมายมหาชน
•กฎหมายรัฐธรรมนูญ
•กฎหมายปกครอง
•กฎหมายอาญา
•กฎหมาย อื่นๆ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์มหาชน
• กฎหมายรัฐธรรมนูญ
• เป็นกฎหมายสูงสุด กฎหมายใดจะขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญไม่ได้
• กล่าวถึงอานาจอธิปไตย สิทธิขั้นพื้นฐาน (สิทธิในการแสดงออกซึ่ง
ความคิดทางการเมือง สิทธิในการนับถือศาสนา สิทธิในเนื้อตัวร่างกาย
)
• กฎหมายปกครอง
• ให้อานาจเจ้าพนักงานของรัฐในการจัดการตามนโยบายของรัฐ
• จัดระเบียบราชการแผ่นดิน
• ส่วนกลาง = รวมอานาจไว้ศูนย์กลาง เพื่อการประสานงานทั่วไป ได้แก่
สานักนายก กระทรวงหรือทบวง กรมหรือทบวงการเมืองที่เทียบเท่ากรม
• ส่วนภูมิภาค = ส่วนกลาง ได้แก่ จังหวัด อาเภอ กิ่งอาเภอ ตาบล หมู่บ้าน
• ส่วนท้องถิ่น = กระจายอานาจเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง
ได้แก่ อบจ. อบต. เทศบาล สุขาภิบาล ลักษณะพิเศษ (กทม. พัทยา)
•กฎหมายอาญา
•ประมวลกฎหมายอาญา
•ภาคทั่วไป
•ภาคความผิด
•ภาคลหุโทษ (จาคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000)
•พ.ร.บ. เช่น พ.ร.บ.การพนัน พ.ร.บ.เช็ค พ.ร.บ.ป่าไม้
กฎหมายระหว่างประเทศ
• จารีตประเพณี หลักกฎหมายทั่วไป หรือความตกลงระหว่างประเทศที่ตรา
ขึ้นเพื่อใช้บังคับกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
• นักกฎหมายเห็นว่ากฎหมายระหว่างประเทศ ไม่ใช่กฎหมาย แต่เป็นธรรม
เนียมปฏิบัติระหว่างประเทศเพราะไม่มีสภาพบังคับที่เด็ดขาด
• ความเห็นแย้ง คือ มีการบีบคั้นให้ต้องกระทา เช่น
• การบอยคอร์ด (ตัดความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ)
• การเอาชื่ออกจากการเป็นสมาชิกองค์กร
• ตัดความสัมพันธ์ทางการทูต
• ที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ
• สนธิสัญญา เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ สนธิสัญญาเจนีวา
• จารีตประเพณี = แนวทางปฏิบัติ
• หลักกฎหมายทั่วไป
• ประเภทของกฎหมายระหว่างประเทศ
• คดีเมือง
•ภาคสันติ
•ภาคสงคราม
• คดีบุคคล เช่น การให้สัญชาติ กฎหมายขัดกัน
• คดีอาญา
กฎหมายลายลักษณ์อักษรจัดหมวดหมู่ได้เป็น
• บัญญัติโดยฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น พ.ร.บ.
• บัญญัติโดยฝ่ายบริหาร เช่น พ.ร.ก. พ.ร.ฎ. กฎกระทรวง
• บัญญัติโดยองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น
• ข้อบัญญัติจังหวัด
• เทศบัญญัติ
• ข้อบังคับสุขาภิบาล
• ข้อบังคับกรุงเทพมหานคร
• ข้อบัญญัติเมืองพีทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
3
-ศักดิ์ของกฎหมาย
-ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมาย
ศักดิ์ของกฎหมาย
•นิยาม
•เกณฑ์ที่ใช้ในการกาหนดศักดิ์ของกฎหมาย
•ลาดับศักดิ์ของกฎหมาย
•ผลของการจัดลาดับศักดิ์ของกฎหมาย
นิยาม
•ลาดับศักดิ์ของกฎหมาย คือ ลาดับความสูงต่าของกฎหมายที่ไม่
เท่าเทียมกัน พิจารณาจากองค์กรที่มีอานาจในการออกกฎหมาย
•มีความสาคัญ ในการยกเลิกกฎหมาย
•กฎหมายลาดับต่ากว่าขัดกับกฎหมายสูงกว่าไม่ได้
•กฎหมายลาดับเท่ากับอันใหม่ทับอันเก่า
เกณฑ์ที่ใช้ในการกาหนดศักดิ์ของกฎหมาย
• ใช้เกณฑ์ผู้บัญญัติและชนิดของกฎหมาย
ชนิดของกฎหมาย องค์กรที่ออก
รัฐธรรมนูญ รัฐสภา
พระราชบัญญัติ
พระราชกาหนด
รัฐสภา
ฝ่ายบริหาร
พระราชกฤษฎีกา ฝ่ายบริหาร
กฎกระทรวง กระทรวง
ข้อบังคับท้องถิ่นและ
การปกครองลักษณะพิเศษ
ท้องถิ่น
ลาดับศักดิ์ของกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ พ.ร.บ. พ.ร.ก. ประมวลกฎหมาย
พ.ร.ฎ.
กฎกระทรวง
กฎหมายองค์กรส่วนท้องถิ่น
ผลของการจัดลาดับศักดิ์ของกฎหมาย
•การออกกฎหมายลาดับต่ากว่าจะออกได้โดยอาศัยอานาจของ
กฎหมายที่สูงกว่า
•กฎหมายต่ากว่าจะมีเนื้อหาเกินขอบเขตของกฎหมายที่สูงกว่า
ไม่ได้
•ถ้าศักดิ์ไม่เท่ากันขัดกันใช้กฎหมายสูงกว่าเสมอ (ไม่ดูเวลาออก)
•ถ้าศักดิ์เท่ากันใช้กฎหมายใหม่กว่าเสมอ
เฉพาะกฎหมายที่บัญญัติไว้เท่านั้น
กม.จารีตมีลาดับศักดิ์แน่นอนตาม ป.พ.พ. อยู่แล้ว
การศึกษากฎหมายแต่ละประเภท
•กฎหมายมีภารกิจอะไร
•กฎหมายใช้บังคับที่ไหน
•กฎหมายใช้บังคับแก่บุคคลใด
•เมื่อขัดขืนมีผลอย่างไร

More Related Content

What's hot

ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปpeter dontoom
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯSuriyawaranya Asatthasonthi
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพTerapong Piriyapan
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมอังสนา แสนเยีย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สุขศึกษาฯ
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซมเอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
เอกสาร เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

More from Kanin Wongyai

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนอาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)Kanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2Kanin Wongyai
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกKanin Wongyai
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดKanin Wongyai
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดKanin Wongyai
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่Kanin Wongyai
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกKanin Wongyai
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปKanin Wongyai
 

More from Kanin Wongyai (16)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updatedความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61 updated
 
ละเมิด
ละเมิดละเมิด
ละเมิด
 
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมายอาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
อาญาภาค 1 บทที่ 9 ขอบเขตของการใช้กฎหมาย
 
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคนอาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
อาญาภาค 1 บทที่ 8 ผู้กระทำความผิดหลายคน
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาดอาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
อาญาภาค 1 บทที่ 5 เจตนาพลาด
 
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
อาญาภาค 1 บทที่ 4 โครงสร้าง 3 ความชั่ว (ยกเว้นโทษ)
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
อาญาภาค 1 บท 2 องค์ประกอบความผิด ตอน 2
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิดอาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
อาญาภาค 1 บทที่ 7 พยายามกระทำผิด
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
 
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอกอาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
อาญา ภาค 1 บท 2 โครงสร้างกฎหมายอาญา องค์ประกอบภายนอก
 
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไปกฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
กฎหมายอาญา ภาค 1 บท 1 ทั่วไป
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย Kanin edited 61