SlideShare a Scribd company logo
1
41211 กฎหมายแพง 1 (Civil Law1)
หนวยที่ 1 การใชการตีความกฎหมายและบททั่วไป
1. วิชานิติศาสตรเปนวิชาที่มีหลักเกณฑพื้นฐานหลายประการ ที่ผูศึกษากฎหมายจําเปนตองศึกษา
หลักเกณฑพื้นฐานทางความคิดเหลานี้ ซึ่งจะชวยทําใหการศึกษากฎหมายเปนไปอยางมีหลักเกณฑ และ
มีความคิดที่เปนระบบ
2. การศึกษากฎหมายก็เพื่อใชกฎหมาย และในการใชกฎหมายนั้นก็จําเปนจะตองมีการตีความ
กฎหมายโดยผูที่ใชกฎหมายดวย
3. หลักเกณฑที่สําคัญประการหนึ่งของกฎหมายก็คือกฎหมายจะกําหนดสิทธิและหนาที่ของบุคคล
และบุคคลผูมีสิทธินั้นก็ตองใชสิทธิใหถูกตอง
4. ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 หลักทั่วไป ไดบัญญัติบทเบ็ดเสร็จทั่วไป ซึ่งเปน
หลักเกณฑทั่วไปที่อาจนําไปใชกับกรณีตางๆ ไวในลักษณะ 1
1.1 การใชและการตีความกฎหมาย
1. การใชกฎหมายมีความหมาย 2 ประการ คือ การบัญญัติกฎหมายตามที่กฎหมายแมบทให
อํานาจไวประการหนึ่ง และการใชกฎหมายกับขอเท็จจริงอีกประการหนึ่ง
2. การใชกฎหมายกับขอเท็จจริงนั้นผูเกี่ยวของ และไดรับผลจากกฎหมายก็อยูในฐานะที่เปนผูใช
กฎหมายทั้งสิ้น
3. การใชกฎหมายกับขอเท็จจริงยังอาจแบงเปนการใชโดยตรงและโดยเทียบเคียง
4. การตีความกฎหมายของกฎหมายแตละระบบ หรือแตละประเทศก็มีการตีความที่แตกตางกัน
และกฎหมายแตละประเภทกันก็ยังมีหลักเกณฑในการตีความที่แตกตางกัน
5. กฎหมายที่ใชอยูอาจมีชองวางในการใชกฎหมายเกิดขึ้น จึงตองมีการอุดชองวางของกฎหมาย
ซึ่งกฎหมายนั้นอาจกําหนดวิธีการไวหรือบทกฎหมายมิไดกําหนดวิธีการไว ก็ตองเปนไปตามหลักทั่วไป
1.1.1 การใชกฎหมาย
การใชกฎหมายมี 2 ประเภท คือ การใชกฎหมายโดยตรงและ การใชกฎหมายโดย
เทียบเคียง
การใชกฎหมายกับขอเท็จจริงโดยตรงกับการใชโดยเทียบเคียงเกิดขึ้นพรอมกันได การใช
กฎหมายโดยตรงตองเริ่มจากตัวบทกฎหมายกอน โดยการศึกษากฎหมายในเรื่องนั้นๆ เพื่อใหรูถึง
ความหมายหรือเจตนารมยของกฎหมายกอน แลวจึงมาพิจารณาวาตัวบทกฎหมายนั้นสามารถปรับใชกับ
ขอเท็จจริงไดหรือไม การใชกฎหมายโดยการเทียบเคียง กฎหมายที่บัญญัติไวเปนลายลักษณอักษรแม
พยายามใหรอบคอบเพียงใดบอยครั้งพบวาขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นไมมีกฎหมายลายลักษณอักษรที่บัญญัติไว
โดยตรงที่สามารถยกมาปรับแกคดีได จําเปนตองหากฎหมายมาใชปรับแกคดีใหได โดยพยายามหา
กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งที่พอจะใชปรับแกขอเท็จจริงนั้นๆ
1.1.2 การตีความกฎหมาย
การตีความตามเจตนารมณกับการตีความตามตัวอักษร การตีความในกรณีนี้จะเกิดขึ้นเมื่อ
กฎหมายมีความกํากวมไมชัดเจน หรืออาจแปลความหมายไปไดหลายทางการตีความตามกฎหมายจะแยก
พิจารณาจะตองแยกพิจารณาออกเปน หลักการตีความกฎหมายทั่วไป กับหลักการตีความกฎหมายพิเศษ
หลักเกณฑการตีความกฎหมายทั่วไป เปนการหาความหมายที่แทจริงของกฎหมาย
จําเปนตองพิเคราะหตัวกฎหมายและเหตุผลที่อยูเบื้องหลังของกฎหมาย หรือเจตนารมยของกฎหมาย การ
พิเคราะหกฎหมายมี 2 ดาน คือ
(1) พิเคราะหตัวอักษร
(2) พิเคราะหเจตนารมย หรือเหตุผลหรือความมุงหมายของกฎหมาย
การตีความตามกฎหมายพิเศษ มีหลักการตีความของตนเองโดยเฉพาะ
หลักเกณฑในการหาเจตนารมณของกฎหมาย มีหลักเกณฑบางประการที่จะชวยหา
เจตนารมณบางประการของกฎหมายหลักคือ
1) หลักที่ถือวากฎหมายมีความมุงหมายที่จะใชบังคับไดในบางกรณี กฎหมายอาจแปล
ความไดหลายนัย ทําใหกฎหมายไรผลบังคับ ปญหาวาเจตนารมณของกฎหมายจะใชความหมายใดตอง
ถือวากฎหมายมีเจตนาจะใหมีผลบังคับไดจึงตองถือเอานัยที่มีผลบังคับได
2) กฎหมายที่เปนขอยกเวนไมมีความมุงหมายที่จะใหขยายความออกไป กลาวคือ
กฎหมายที่เปนบทยกเวนจากบททั่วไปหรือกฎหมายที่เปนบทบัญญัติตัดสิทธินั้นหากมีกรณีที่แปลความได
2
อยางกวางหรืออยางขยาย กับแปลความอยางแคบ ตองถือหลักแปลความอยางแคบเพราะกฎหมาย
ประเภทนี้ไมมีความมุงหมายใหแปลความอยางขยายความ
การตีความกฎหมายทั่วไปกับการตีความตามกฎหมายเฉพาะ มีหลักเกณฑตางกัน คือการตีความ
กฎหมายโดยทั่วไป คือการหาความหมายที่แทจริงของกฎหมาย ซึ่งจําเปนตองพิเคราะหตัวกฎหมาย และ
เหตุผลที่อยูเบื้องหลังของกฎหมาย หรือเจตนารมณของกฎหมาย การตีความกฎหมายตองพิเคราะห 2
ดานคือ (1) พิเคราะหตัวอักษร และ (2) พิเคราะหเจตนารมย หรือเหตุผลหรือความมุงหมายของกฎหมาย
การแสวงหาเจตนารมณของกฎหมายมีทฤษฎี 2 ทฤษฎี คือ (ก) ทฤษฎีอัตตวิสัย หรือทฤษฎีอําเภอจิต (ข)
ทฤษฎีภววิสัย หรือทฤษฎีอําเภอการณ
การตีความกฎหมายพิเศษ มีหลักเกณฑการตีความของตนเองโดยเฉพาะ จะนําหลักทั่วไปในการ
ตีความมาใชโดยดวยมิได เชนกฎหมายพิเศษไดแก กฎหมายอาญา ซึ่งมีหลักเกณฑพิเศษคือ
(1) กฎหมายอาญาเปนกฎหมายที่กําหนดความผิดและโทษจึงตองตีความเครงคัด
(2) จะตีความโดยขยายความใหเปนการลงโทษหรือเพิ่มโทษผูกระทําผิดใหหนักขึ้นไมได
หลักการตีความตองตีความตามตัวอักษรกอนหากตัวอักษรมีถอยคําชัดเจนก็ใชกฎหมายไปตามนั้น
แตหากตัวอักษรไมชัดเจนหรือมีปญหา จึงมาพิจารณาความมุงหมายหรือเจตนารมยของกฎหมายนั้น ไป
พรอมๆ กัน เปนหลักการตีความ ไมใชถือหลักวาหากตัวอักษรไมมีปญหาแลวก็ตองพิจารณาถึงเจตนารมย
เลยซึ่งเปนเรื่องไมถูกตอง
1.1.3 การอุดชองวางของกฎหมาย
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไดกําหนดวิธีอุดชองวางของกฎหมายไวในมาตรา 4
1.2 สิทธิและการใชสิทธิ
1. สิทธิเปนสถาบันหลักในกฎหมาย เมื่อกฎหมายกําหนดสิทธิแลวจะตองมีบุคคลผูมีหนาที่ที่
จะตองปฏิบัติหรือตองไมปฏิบัติเพื่อใหเปนไปตามสิทธิของผูทรงสิทธินั้น
2. สิทธิอาจแบงออกไดเปนสิทธิตามกําหมายมหาชน และสิทธิตามกฎหมายเอกชน ซึ่งแตละ
ประเภทยังอาจแบงออกยอยๆ ไดอีก
3. การมีสิทธิกับการใชสิทธิมีความแตกตางกัน การใชสิทธิก็ตองเปนไปตามหลักเกณฑของ
กฎหมาย เชน ตองใชสิทธิโดยสุจริต
1.2.1 สิทธิและแนวคิดเรื่องสิทธิ
สิทธิ ตามความเห็นของ ศ.ดร.หยุด แสงอุทัย คือ ประโยชนที่กฎหมายรับรองและ
คุมครองให สิทธิเปนทั้งอํานาจ และเปนทั้งประโยชน จึงถือไดวา สิทธิ คือ อํานาจที่กฎหมายใหเพื่อให
สําเร็จประโยชนที่กฎหมายคุมครอง
สิทธิคือ อํานาจที่กฎหมายรับรองใหแกบุคคลในอันที่จะกระทําการเกี่ยวของกับทรัพยสิน
หรือบุคคลอื่น เชน อํานาจที่กฎหมายรับรองใหแกบุคคลในอันที่จะเรียกรองใหบุคคลอีกบุคคลหนึ่งกระทํา
การหรืองดการกระทําบางอยางเพื่อประโยชนแกตน เชนเรียกใหชําระหนี้ เรียกใหงดเวนการประกอบ
กิจการแขงขันกับตนหรือการมีกรรมสิทธิ์ ซึ่งกรรมสิทธิ์ที่แทจริงแลวก็คืออํานาจของผูที่จะเปนเจาของใน
อันที่จะใชสอยแสวงหาประโยชนจากทรัพยสิน ตลอดจนจําหนาย จาย โอน หามผูอื่นเขามาใชสอย
เกี่ยวของสัมพันธกับหนาที่คือ สิทธิและหนาที่เปนของคูกัน เมื่อกฎหมายกําหนดรับรองสิทธิของผูใดแลวก็
เกิดมีหนาที่แกบุคคลซึ่งตองกระทําหรืองดเวนการกระทําบางอยางตามสิทธิที่กฎหมายรับรอง คุมครอง
ใหแกบุคคลนั้น เชน กฎหมายรับรองสิทธิในชีวิต ก็กอใหเกิดหนาที่แกบุคคลอื่นที่จะตองไมไปฆาเขา
กฎหมายรับรองสิทธิในรางกาย ก็กอหนาที่แกบุคคลอื่นที่จะไมไปทํารายเขา กฎหมายรับรองสิทธิในหนี้
ของเจาหนี้ ก็กอใหเกิดสิทธิแกลูกหนี้ที่จะตองชําระหนี้
เสรีภาพ ไดแกภาวะของมนุษยที่ไมอยูภายใตการครอบงําของผูอื่น หรือภาวะที่ปราศจาก
การหนวงเหนี่ยวขัดขวาง เสรีภาพจึงเปนเรื่องของบุคคลที่จะกําหนดตนเองจะกระทําการใดๆ โดยตนเอง
โดยอิสระปราศจากการแทรกแซงขัดขวางจากภายนอก เสรีภาพมีลักษณะตางจากสิทธิหลายประการ
ไดแก
(1) ทั้งสิทธิและเสรีภาพกอใหเกิดหนาที่แกผูอื่นที่จะตองเคารพแตสิทธิ อาจกอใหเกิดหนาที่
แกบุคคลทั่วไปก็ได เชน มีสิทธิในทรัพยสิน กอใหเกิดหนาที่แกบุคคลที่จะตองเคารพในสิทธินี้ไมเขาไป
ขัดขวางการใชสอย ไมถือเอามาเปนของตน แตเสรีภาพกอใหเกิดหนาที่แกบุคคลทั่วไปจะตองเคารพ เชน
เสรีภาพในการนับถือศาสนา เสรีภาพในรางกายก็กอใหเกิดหนาที่แกบุคคลทั่วไปที่จะตองเคารพ
(2) หนาที่ซึ่งเกิดจากสิทธินั้นอาจเปนหนาที่ ที่ตองกระทําหรืองดเวนการกระทํา เชนสิทธิใน
ทรัพยสิน กอใหเกิดหนาที่งดเวนไมเขาแทรกแซงการใชสอย ไมยุงกับทรัพยสินของเขา ผูเอาทรัพยสิน
ของเขาไปก็มีหนาที่ตองกระทําคือตองสงคืนเขา หนาที่ที่เกิดจากเสรีภาพ กอใหผูอื่นมีหนาที่ตองงดเวน
3
กระทําคือไมเขาขัดขวางหรือไมเขาแทรกแซงเสรีภาพของเขา เชน เสรีภาพในการนับถือศาสนา ผูอื่นก็มี
หนาที่ที่จะไมขัดขวางตอการนับถือศาสนาของเขา
(3) เสรีภาพนั้นกลาวกันมากในกฎหมายมหาชน เชนในรัฐธรรมนูญแหงราชอนาจักรไทย
พ.ศ. 2534 มาตรา 24 บัญญัติวา บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพภายใตบังคับบทบัญญัติแหงรํฐธรรมนูญ
ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน การกําจัดสิทธิและเสรีภาพอันเปนการฝาฝนเจตนารมณตามบทบัญญัติ
แหงรัฐธรรมนูญจะกระทํามิได
องคประกอบแหงสิทธิมีสาระสําคัญ 4 ประการคือ
(ก) ผูทรงสิทธิ
(ข) การกระทําหรือละเวนการกระทํา
(ค) วัตถุแหงสิทธิ
(ง) บุคคลซึ่งมีหนาที่
การแบงสิทธิตามกฎหมายเอกชนนั้นเปนสิทธิที่รัฐยอมรับรองและบังคับการให เพราะเปน
สิทธิของเอกชนที่จะใชยันกับเอกชน ไมกอผลมายันตอรัฐไมกระทบถึงอํานาจรัฐมากนัก แบงตาม
หลักเกณฑตางๆ ดังนี้
(ก) การแบงแยกตามสภาพของสิทธิ
- สิทธิสมบูรณ
- สิทธิสัมพัทธ
(ข) การแบงแยกตามวัตถุแหงสิทธิ
- สิทธิเกี่ยวกับบุคคล
- สิทธิเกี่ยวกับครอบครัว
- สิทธิเกี่ยวกับทรัพยสิน
(ค) การแบงแยกตามเนื้อหา
- สิทธิในทางลับ
- สิทธิในทางปฏิเสธ
(ง) การแบงแยกตามขอบเขตที่ถูกกระทบกระทั่งโดยสิทธิอื่นๆ
- สิทธิที่เปนประธาน หมายถึงสิทธิที่เกิดขึ้นและดํารงอยูโดยตัวเองมิไดขึ้นอยูกับสิทธิ
อื่น สิทธิที่เกิดขึ้นและเปนอิสสระไมขึ้นกับสิทธิอื่น
- สิทธิอุปกรณ หมายถึงสิทธิที่เกิดขึ้นเนื่องมาแตสิทธิอื่น การดํารงอยูก็ขึ้นอยูกับสิทธิ
อื่น สิทธิอุปกรณมิไดเปนอิสระของตนเองแตขึ้นอยูกับสิทธิอื่น
1.2.2 การใชสิทธิ
การมีสิทธิกับการใชสิทธิ เหมือนกันและแตกตางกันอยางไร
การมีสิทธิกับการใชสิทธินั้นแตกตางกัน การมีสิทธินั้นเมื่อกฎหมายรับรองก็มีสิทธิ แตอาจ
ถูกจํากัดการใชสิทธิได เชน ผูเยาวแมจะมีสิทธิในทรัพยสินแตอาจถูกจํากัดสิทธิทํานิติกรรมเกี่ยวกับ
ทรัพยสินได
กฎหมายกําหนดแนวทางการใชสิทธิไวอยางไร
กฎหมายกําหนดแนวทางการใชสิทธิเอาไว โดยทั่วไปก็คือตองไมใชสิทธิใหเปนการฝาฝน
กฎหมาย และตองใชสิทธิโดยสุจริต
1.3 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
1. บทบัญญัติที่เปนบทเบ็ดเสร็จทั่วไปนี้เปนหลักเกณฑที่อาจนําไปใชกับกรณีตางๆ ในประมวล
กฎหมายแพงพาณิชยที่ไมมีบทบัญญัติเรื่องนี้โดยเฉพาะ
2. การทําเอกสารที่กฎหมายกําหนดวาตองทําเปนหนังสือนั้น กฎหมายวางหลักเกณฑวาตองลง
ลายมือชื่อ
3. เหตุสุดวิสัยเปนเหตุใดๆ ที่จะเกิดขึ้นก็ดีจะใหผลพิบัติก็ดีเปนเหตุที่ไมอาจปองกันได แมทั้ง
บุคคลผูใกลจะประสบเหตุนั้น จะไดจัดการระมัดระวังตามสมควร อันจะพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะ
และภาวะเชนนั้น
4. ดอกเบี้ยเปนดอกผลนิตินัยอยางหนึ่ง กฎหมายกําหนดเปนหลักเกณฑทั่วไปวา ถาจะตองเสีย
ดอกเบี้ย แตมิไดกําหนดอัตราไวใหใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป
1.3.1 การทําและการตีความเอกสาร
การที่กฎหมายกําหนดวา สัญญาเชาซื้อตองทําเปนหนังสือนั้น คูสัญญาเชาซื้อไมตองเขียน
สัญญานั้นเอง แตตองลงลายมือชื่อหรือลงเครื่องหมายแทนการลงมือชื่อโดยชอบตามมาตรา 9
4
สัญญากูมีขอความซึ่งอาจแปลความไดสองนัย ถาแปลความนัยแรกจะเปนคุณแกผูใหกู ถา
แปลตามความนัยที่สองจะเปนคุณแกผูกู เมื่อเปนดังนี้จะตองตีความตามนัยสอง คือ ตองตีความใหเปนคุณ
แกคูกรณี ฝายที่ตองเปนผูเสียในมูลหนี้คือลูกหนี้นั่นเอง ตามมาตรา 11
1.3.2 เหตุสุดวิสัย
เหตุสุดวิสัยกับภัยธรรมชาติ ไมเหมือนกันเพราะเหตุสุดวิสัยอาจเกิดจากภัยธรรมชาติ หรือ
อาจเกิดจากการกระทําของคนก็ได และภัยธรรมชาติก็อาจไมเปนเหตุสุดวิสัยก็ได
การวินิจฉัยวา กรณีใดเปนเหตุสุดวิสัยหรือไม มีจุดสําคัญในประเดนสําคัญที่วาบุคคลผู
ประสบหรือใกลจะตองประสบไมอาจปองกันไดดี แมจะไดใชความระมัดระวังตามสมควรแลว
1.3.3 ขอกําหนดเรื่องดอกเบี้ย
กฎหมายในบทเบ็ดเสร็จทั่วไปกําหนดเกี่ยวกับดอกเบี้ยไวอยางไร
กฎหมายในบทเบ็ดเสร็จทั่วไป กําหนดเกี่ยวกับดอกเบี้ยไว โดยกําหนดตามมาตรา 7
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
แบบประเมินผล หนวยที่ 1 การใชการตีความหมาย และบททั่วไป
1. การตีความกฎหมายพิเศษจะตอง ตีความโดยเครงครัด
2. การอุดชองวางของกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 4 ไดกําหนดลําดับไวหากไมมี
กฎหมายลายลักษณอักษรใชบังคับแลวจะตองนําหลักเกณฑ จารีตประเพณีแหงทองถิ่น มาใชบังคับ
(มาตรา 4 กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติใดๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของ
บทบัญญัตินั้นๆ เมื่อไมมีกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีนั้นตามจารีตประเพณีแหงทองถิ่น ถาไมมีจารีตประเพณีเชนวานั้น ใหวินิจฉัย
คดีเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และถาบทกฎหมายเชนนั้นก็ไมมีดวย ใหวินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป)
3. คําวา เสรีภาพ ไมใชองคประกอบของสิทธิ
คําวา “สิทธิ” เปนถอยคําที่มีบัญญัติในกฎหมายเปนขอความที่เปนรากฐานของกฎหมาย สิทธิ คือความชอบธรรมที่บุคคลอาจใชยันตอ
ผูอื่น เพื่อคุมครองหรือรักษาผลประโยชน อันเปนสวนอันพึงมีพึงไดของบุคคล สิทธิตามกฎหมายประกอบดวย
(ก) ความชอบธรรม คือความถูกตอง ความรับผิดชอบ โดยความชอบธรรมนั้นจะตองอยูภายใตขอบเขตของกฎหมาย เพราะมีบางกรณี
ที่อาจมิใชความชอบธรรม แตกฎหมายก็ยอมรับวาการกระทําเชนนั้นเปนความชอบธรรม เชน กรณีขาดอายุความ ลูกหนี้ปฏิเสธไมชําระหนี้ได จะ
เรียกวาความชอบธรรมนั้นนั้นไมถูกตอง เพราะลูกหนี้มีหนี้ แตไมยอมชําระหนี้โดยอางสิทธิตามกฎหมาย หรือกรณีครอบครองปรปกษตามมาตรา
1382 กฎหมายยอมใหไดกรรมสิทธิ์ทั้งๆ ที่ผูครอบครองปรปกษไมใชเจาของกรรมสิทธิ์ เชนนี้เปนความชอบธรรมตามกฎหมายแตไมใชเรื่องของ
ความถูกตอง
(ข) ผูทรงสิทธิ สิทธิจะตองมีบุคคลเปนผูถือสิทธิ หรือที่เรียกวา “ผูทรงสิทธิ” ซึ่งมีไดทั้งบุคคลธรรมดาและ นิติบุคคล
(ค) การกระทําหรือละเวนการกระทํา สิทธิเปนสิ่งที่ใชยืนยันกับบุคคลอื่นได การจะเกิดรูวาสิทธิถูกรบกวนเมื่อใดนั้นก็ตองรอใหเกิดการ
กระทําหรือละเวนการกระทําเสียกอน ผูทรงสิทธิจึงอางถึงสิทธิความชอบธรรมที่มีอยูตามกฎหมายได เชน การที่ลูกหนี้ปฏิเสธไมยอมชําระหนี้ การ
กระทําที่เกิดขึ้นจากลูกหนี้คือ การปฏิเสธ ทําใหเจาหนี้มีสิทธิเรียกรองบังคับใหลูกหนี้ชําระหนี้ได ดวยการใชสิทธิฟองคดีตอศาลขอใหบังคับ
(ง) วัตถุแหงหนี้ วัตถุคือสิ่งของวัตถุแหงหนี้จึงหมายถึงสิ่งของที่เปนหนี้ เชน กรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน สิ่งของที่เปนวัตถุแหงหนี้ก็คือ
ทรัพยสิน สิทธิในชีวิตรางกาย สิ่งที่เปนวัตถุแหงหนี้ก็คือตัวบุคคล
(จ) บุคคลซึ่งมีหนาที่ กฎหมายคุมครองรับรองใหสิทธิแกบุคคล เมื่อใดเกิดการฝาฝนสิทธิจึงเกิดสภาพบังคับแหงสิทธิเกิดขึ้นตามมา
บุคคลผูถูกฝาฝนความชอบธรรมคือ ผูทรงสิทธิ สวนบุคคลที่ทําการฝาฝน คือบุคคลซึ่งมีหนาที่ และมีหนาที่จะตองปฏิบัติการชําระหนี้ตอผูทรงสิทธิ
เชน สิทธิของเจาหนี้ เจาหนี้คือ ผูทรงสิทธิ ลูกหนี้คือบุคคลซึ่งมีหนาที่ชําระหนี้
4. หลักเกณฑของการใชสิทธิคือ ตองใชโดยสุจริต
(มาตรา 5 ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต)
(มาตรา 6 ใหสันนิษฐานไวกอนวา บุคคลทุกคนกระทําการโดยสุจริต)
5. นาย ก ทําสัญญากูเงินนาย ข 10,000 บาท แตเนื่องจากนาย ก ไมรูหนังสือจึงไดลงลายพิมพนิ้วมือแทน
การลงลายมือมือชื่อ โดยมีนายนิดอายุ 16 ป และ นางสาวนอย อายุ 16 ป ลงลายมือชื่อเปนพยานรับรองการพิมพ
ลายนิ้วมือของนาย ก สัญญากูฉบับนี้ จะมีผลสมบูรณตามกฎหมาย
(มาตรา 9 เมื่อมีกิจการอันใดซึ่งกฎหมายบังคับใหทําเปนหนังสือ บุคคลผูจะตองทําหนังสือ ไมจําเปนตองเขียนเองแตหนังสือนั้นตอง
ลงลายมือชื่อของบุคคลนั้น
ลายพิมพนิ้วมือ แกงได ตราประทับ หรือเครื่องหมายอื่นทํานองเชนวานั้นที่ทําลงในเอกสารแทนการลงลายมือชื่อ หากมีพยานลง
ลายมือชื่อรับรองไวดวยสองคนแลวใหถือเสมอกับลงลายมือชื่อ
ความในวรรคสอง ไมใชบังคับแกการลงลายพิมพนิ้วมือ แกงได ตราประทับ หรือเครื่องหมายอื่นทํานองเชนวานั้น ซึ่งทําลงในเอกสารที่
ทําตอหนาพนักงานเจาหนาที่)
6. หลักในการตีความเอกสารคือ ตีความใหเปนคุณแกคูกรณีที่ซึ่งจะเปนผูตองเสียในมูลหนี้
(มาตรา 10 เมื่อขอความขอใดขอหนึ่งในเอกสารอาจตีความไดสองนัย นัยไหนจะทําใหเปนผลบังคับไดใหถือเอาตามนัยนั้นดีกวาที่จะ
ถือเอานัยที่ไรผล)
(มาตรา 11 ในกรณีที่มีขอสงสัยใหตีความไปในทางที่เปนคุณแกคูกรณีฝายหนึ่งซึ่งจะตองเปนผูเสียหายในมูลหนี้นั้น)
7. เหตุสุดวิสัยกอใหเกิดผลในทางกฎหมายคือ เปนเหตุยกเวนความผิดของลูกหนี้
(มาตรา 8 คําวา “เหตุสุดวิสัย” หมายความวาเหตุใดๆอันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจปองกันไดแมทั้งบุคคลผู
ประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุนั้น จะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะและภาวะเชนนั้น)
8. ในสัญญากูยืมฉบับหนึ่ง กําหนดวาจะตองเสียดอกเบี้ยในเงินกูยืมนั้น แตคูสัญญามิไดกําหนดอัตราดอกเบี้ย
ไว ในกรณีเชนนี้ลูกหนี้จะตองเสียดอกเบี้ยในอัตรา รอยละเจ็ดครึ่งตอป
(มาตรา 7 ถาจะตองเสียดอกเบี้ยแกกันและมิไดกําหนดอัตราดอกเบี้ยไวโดยนิติกรรมหรือโดยบทกฎหมายอันชัดแจง ใหใชอัตรารอย
ละเจ็ดครึ่งตอป)
9. สิทธิที่เกี่ยวกับสถานะของบุคคล เปนสิทธิตามกฎหมายมหาชน
5
10. บทกฎหมายที่ใชโดยวิธีเทียบเคียงไมไดคือ บทยกเวน
หนวยที่ 2 บุคคลธรรมดา
1. บุคคลธรรมดาคือมนุษย ซึ่งสามารถมีสิทธิและใชสิทธิได
2. สภาพบุคคลเมื่อเริ่มคลอด แลวอยูรอดเปนทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตายตามธรรมดา หรือตายโดย
ผลของกฎหมายคือสาบสูญ
3. สาบสูญ เปนการสิ้นสภาพบุคคล โดยขอสันนิษฐานของกฎหมาย หากบุคคลไปเสียจากภูมิลําเนา
หรือถิ่นที่อยูโดยไมมีใครทราบแนนอนวายังมีชีวิตอยูหรือตายไปแลว เมื่อครบกําหนดระยะเวลา 5 ป หรือ
2 ป ตามกรณีที่กฎหมายกําหนดและมีผูรองขอ เมื่อศาลมีคําสั่งแสดงความสาบสูญแลวใหถือวาบุคคลนั้น
ตายเมื่อครบกําหนดระยะเวลาดังกลาวแลว
4. กฎหมายบัญญัติใหบุคคลตองมีชื่อตัว และชื่อสกุล เพื่อเปนสิ่งที่เรียกขานบุคคลและกําหนดใหแน
ชัดลงไปอีกวาบุคคลนั้นเปนใคร
5. สถานะของบุคคลเปนสิ่งประกอบสภาพบุคคลที่แสดงฐานะหรือตําแหนงของบุคคล ซึ่งดํารงอยูใน
ประเทศชาติและครอบครัวทําใหทราบสิทธิและหนาที่ของบุคคลที่พึงมีตอประเทศชาติและครอบครัว
6. ภูมิลําเนาเปนสิ่งบงชี้วาบุคคลมีที่อยูประจําที่ไหน ทําใหการกําหนดตัวบุคคลสมบูรณยิ่งขึ้น
ภูมิลําเนาที่บุคคลอาจเลือกถือไดตามใจสมัครและอาจมีหลายแหง
2.1 สภาพบุคคล
1. หลักเกณฑการเริ่มสภาพบุคคลมี 2 ประการประกอบกันคือ การคลอด และการมีชีวิตรอดเปน
ทารก ดังนั้น ทารกในครรภมารดาจึงยังไมมีสภาพบุคคล
2. การคลอดหมายความถึง คลอดเสร็จเรียบรอยบริบูรณ โดยทารกคลอดหมดตัวพนชองคลอด
ไมมีสวนหนึ่งสวนใดของรางการเหลือติดอยู
3. การมีชีวิตรอดอยูเปนทารก หมายถึงการที่ทารกมีชีวิตอยูโดยลําพังตนเองแยกตางหากจาก
มารดา โดยถือการหายใจเปนสาระสําคัญในการวินิจฉัยการเริ่มมีชีวิต
4. ทารกในครรภมารดาหมายถึง ทารกที่อยูในครรภนับแตวันที่ปฏิสนธิเปนทารกจนถึงวันคลอด
การหาวันปฏิสนธินั้นใหคํานวณนับแตวันคลอดยอนหลังขึ้นไป 30 วัน
5. ทารกในครรภมารดาสามารถมีสิทธิตางๆ ไดตอเมื่อมีชีวิตอยูอยูภายหลังคลอด คือ มีสภาพ
บุคคลแลว และมีสิทธิยอนหลังขึ้นไปถึงระยะเวลาที่กฎหมายสันนิษฐานวาเริ่มปฏิสนธิ
6. การนับอายุของบุคคลใหเริ่มนับแตวันเกิด ในกรณีที่บุคคลรูเฉพาะเดือนเกิดแตไมรูวันเกิดให
นับวันที่หนึ่งแหงเดือนนั้นเปนวันเกิด หากไมรูเดือนและวันเกิด ใหนับวันตนปที่บุคคลนั้นเกิดเปนวันเกิด
7. การตายธรรมดาเปนเหตุแหงการสิ้นสภาพบุคคลโดยถือตามคําวินิจฉัยของแพทยวาระบบ
สําคัญของรางกายเพื่อการดํารงชีวิตหยุดทํางานหมด
8. กรณีมี่บุคคลหลายคนประสบเหตุราย รวมกันและตายโดยไมรูลําดับแนนอนแหงการตาย จะ
กําหนดวาใครตายกอนตายหลังตองนําสืบถึงขอเท็จจริงเปนรายๆไป หากพิสูจนไมไดตองถือตามขอ
สันนิษฐานของกฎหมายวาบุคคลหลายคนนั้นตายพรอมกัน
2.1.1 การเริ่มสภาพบุคคล
(1) ประโยชนและความจําเปนที่จะตองรูวามนุษยมีสภาพบุคคลเกิดขึ้นเมื่อใด สิ้นสุดเมื่อใด
ก็เพื่อวินิจฉัยปญหาในทางกฎหมายบางประการ เชน
(ก) ในทางแพง การรูวาสภาพบุคคลเกิดขึ้นเมื่อใดก็เพื่อวินิจฉัยถึงสิทธิหนาที่ของบุคคล
นั้นเอง รวมทั้งสิทธิหนาที่และความชอบที่เกี่ยวโยงและผูกพันถึงบุคคลอื่นดวย เพราะสิทธิของบุคคลจะมี
ขึ้นตั้งแตเกิดมารอดมีชีวิตอยู คือ เริ่มมีสภาพบุคคล หรืออาจมียอนขึ้นไปจนถึงวันที่ปฏิสนธิในครรภมารดา
เชนสิทธิในการเปนทายาทรับมรดก ตาม ปพพ. มาตรา 1604 สวนการตายทําใหสิทธิและหนาที่ของ
บุคคลสิ้นสุดลง และทรัพยมรดกของบุคคลนั้นตกทอดแกทายาท การพิจารณากองมรดก ผูตายมีทรัพยสิน
อะไรบาง ผูตายมีสิทธิหนาที่และความรับผิดอยางไร กับพิจารณาหาทายาทรับมรดก กฎหมายใหพิจารณา
ในเวลาที่เจามรดกถึงแกความตาย การรูวันเกิดวันตายของบุคคลจึงมีความสําคัญ
(ข) ในทางอาญา การวินิจฉัยถึงความรับผิดในทางอาญาของผูกระทําผิดฐานฆาคนตาย
ตาม ปอ. มาตรา 288 หรือฐานทําใหแทงลูก ตาม ปอ. มาตรา 301 ถึงมาตรา 305 จําเปนตองวินิจฉัย
เสียกอนวาทารกมีสภาพบุคคลหรือไม ทารกตายกอนคลอดหรือตายระหวางคลอด เปนการคลอดออกมา
โดยไมมีชีวิตไมมีสภาพบุคคล จึงไมเปนบุคคลที่จะถูกฆาได ความผิดฐานทําใหแทงลูก ตาม ปอ. มาตรา
6
301 ถึง ปอ. มาตรา 305 มีโทษนอยกวาความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนา เมื่อบุคคลตายแลว สิ้นสภาพ
บุคคล ก็ไมเปนบุคคลที่จะถูกฆาไดอีก
(2) การคลอดเสร็จบริบูรณตามวิชาแพทย แผนปจจุบัน ถือการคลอดเริ่มตนตั้งแตมีการเจ็บ
ทองคลอดและสิ้นสุดของการคลอดถือเอาเมื่อเด็กและทารกคลอดแลว รวมทั้งการหดตัวของมดลูกเปนไป
โดยเรียบรอย ซึ่งเปนเวลา 15 นาที ถึง 2 ชั่วโมง หลังเด็กคลอด ซึ่งไมเหมือนกันกับ การคลอดแลว
ตาม ปพพ. มาตรา 15 นั้น ทารกตองหลุดพนจากชองคลอดของมารดาออกมาหมดตัวกอน โดยไมมีสวน
หนึ่งสวนใดของรางกายติดอยูที่ชองคลอด สวนการคลอดของรกหรือการหดตัวของมดลูก ไมมีความหมาย
ในการพิจารณาการเริ่มสภาพบุคคลตามกฎหมาย เพราะการพนชองคลอดของทารกหมายถึงการแยกตัว
ออกเพื่อมีชีวิตเปนอิสระจากมารดา
นักกฎหมายพิจารณาเฉพาะการคลอดที่เกี่ยวกับตัวทารกเทานั้น ไมรวมถึงอาการของการ
คลอดในสวนตัวมารดา เพราะกฎหมายมุงที่จะคนหาเวลาเริ่มสภาพบุคคลของทารกเพียงประการเดียว
(3) หลักวินิจฉัยการเริ่มมีชีวิตของแพทยและนักกฎหมาย แตกตางกัน และมีผลให
หลักเกณฑการเริ่มสภาพบุคคลเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้
นักกฎหมายถือการหายใจเปนหลักฐานแสดงการเริ่มมีชีวิต สวนแพทยถือวานอกจากการ
หายใจแลวการเตนของหัวใจ การเตนของสายสะดือ การเคลื่อนไหวรางกาย และหลักฐานอื่นๆก็แสดงวา
ทารกมีชีวิตดวย
ผลของความเห็นที่แตกตางนี้ ทําใหการวินิจฉัยจุดเริ่มตนของการเริ่มสภาพบุคคลของนัก
กฎหมายแตกตางกันเปนสองความเห็น คือ
ความเห็นแรก หากยึคดหลักวา การหายใจเปนขอสาระสําคัญของการเริ่มมีชีวิตเพียง
ประการเดียว จะถือวาสภาพบุคคลเริ่มเมื่อทารกเริ่มหายใจ โดยเห็นวาการคลอดและการมีชีวิตรอดอยูเปน
ทารกเปนหลักเกณฑพิจารณาการเริ่มสภาพบุคคลประกอบกัน
ความเห็นที่สอง หากถือตามความเห็นของแพทย เมื่อทารกคลอดหมดตัวพนชองคลอด
โดยมีหลักฐานแสดงการมีชีวิตอยางอื่นแลว ถือวาเริ่มสภาพบุคคล จะหารใจหรือไมไมเปนขอสําคัญ และ
ยึดหลักวาการคลอดแลวเปนหลักของการเริ่มสภาพบุคคล การอยูรอดเปนพฤติการณประกอบการคลอดวา
เปนบุคคลตลอดไป มิใชจุดเริ่มตนของสภาพบุคคล
2.1.2 สิทธิของทารกในครรภมารดา
บทบัญญัติมาตรา 15 วรรคสองที่วา ทารกในครรภมารดาก็สามารถมีสิทธิตางๆได หากวา
ภายหลังเกิดมารอดอยู หมายความวา
โดยหลักแลว บุคคลเทานั้นที่สามารถมีสิทธิหนาที่ตามกฎหมายได แตบทบัญญัติมาตรา 15
วรรคสองนี้เปนขอยกเวน ใหทารกในครรภมารดาแมยังไมมีสภาพบุคคล ก็สามารถมีสิทธิได แตมีเงื่อนไข
วา ภายหลังทารกนั้นตองเกิดมารอดอยู ทารกในครรภมารดา ที่เปนบุตรนอกกฎหมายของบิดา ก็สามารถมี
สิทธิได หากภายหลังเกิดมารอดอยู และโดยมีพฤติการณที่บิดารับรองทารกในครรภวาเปนบุตรของตน
เจตนารมณของกฎหมายมี 2 ประการ คือ (1) เพื่อคุมครองประโยชนของทารกในครรภ
มารดา (2) เพื่อขจัดความไมเสมอภาคในเรื่องสิทธิ
2.1.3 การนับอายุบุคคลกรณีไมแนนอนของการเริ่มสภาพบุคคล
การกําหนดวันเกิดของบุคคลตอไปนี้
(1) รูแตเพียงวา ก เกิด ป พ.ศ. 2480 >Æ เกิดวันที่ 1 เมษายน 2480
(2) รูแตเพียงวา ข เกิด ป พ.ศ. 2493 >Æ เกิดวันที่ 1 มกราคม 2493
(3) รูเพียงวา ค เกิดเดือนมีนาคม 2500 >Æ เกิดวันที่ 1 มีนาคม 2500
(4) ไมรูวา ง เกิดเมื่อใด >Æ เมื่อเปนเชนนี้ใหสอบสวนปเกิดของ ง กอนวาเกิดในปใด ได
ปเกิดแลว นํา ปพพ. มาตรา 16 มาใชหาวันเกิด
2.1.4 การสิ้นสภาพบุคคล (ตาย)
1. หากไมรูลําดับการตายของบุคคลจะเกิดปญหาประการใด
เกิดปญหาเมื่อบุคคลสองคนหรือมากกวา ตางเปนทายาทซึ่งกันและกัน ไปเกิดอุบัตุเหตุ
หรือเหตุรายรวมกันเปนเหตุใหบุคคลเหลานั้นตาย ไมรูใครตายกอนตายหลัง ทําใหเกิดปญหาเรื่องการรับ
มรดก ซึ่งมีหลักเกณฑวา ทรัพยสินของผูตายจะเปนมรดกตกทอดไดก็แตผูที่มีชีวิตอยู ขณะตายมรดกของ
ผูตายกอนจึงตกทอดมายังผูตายทีหลัง แลวผานไปยังทายาทของผูตายทีหลังนั้น เมื่อไมรูแนชัดวาใคร
ตายกอนตายหลังกฎหมายจึงกําหนดสันนิษฐานไววา ตายพรอมกัน ใครจะเปนทายาทไมได และตางไมมี
สิทธิรับมรดกซึ่งกันและกัน
2. คําวา “เหตุอันตรายรวมกัน” นั้นหมายความวา
7
เหตุภยันตรายรวมกัน หมายความวาเหตุภยันตรายเดียวกันที่บุคคลประสบดวยกันในคราว
เดียวกัน เชนบุคคลหลายคนโดยสารไปในเครื่องบินลําเดียวกัน แลวเครื่องบินตก หรือโดยสารเครื่องบินไป
คนละลําแลวเครื่องบินสองลําเกิดชนกันก็ได แตถาโดยสารเครื่องบินไปคนละลํา แลวเครื่องบินทั้งสองลํา
ตางก็เกิดอุบัติเหตุตกเหมือนกัน เชนนี้ ไมถือเปนเหตุภยันตรายรวมกัน
3. ก ปวยเปนอัมพาตเดินไมได สวน ข เปนนักกีฬาวายน้ําทีมชาติ โดยสารเรือออกจาก
กรุงเทพฯ ไปสิงคโปรดวยกัน เรือโดนมรสุมจม ตอมามีผูพบศพ ก และ ข ที่ชายฝง เชนนี้ ก และ ข บุคคล
ใดจะตายกอนหลัง
กฎหมายถือวา ก และ ข ตายพรอมกัน แมขอเท็จจริง ก นาจะตายกอน หากเปนการพน
วิสัยที่จะพิสูจนไดวา ใครตายกอนตายหลัง
2.2 สาบสูญ
1. ถาบุคคลใดไปเสียจากภูมิลําเนาและไมมีใครรูวาบุคคลนั้นมีชีวิตอยูหรือไม โดยที่บุคคลนั้น
ไมไดตั้งตัวแทนในการจัดการทรัพยสินไว ผูมีสวนไดเสียหรือพนักงานอัยการสามารถรองขอตอศาลจัดการ
ทรัพยสินของผูไมอยูไปพลางกอนตามที่จําเปนนั้นได
2. ถาผูไมอยูไปจากภูมิลําเนาเกินกวา 1 ปโดยไมมีผูรับขาวหรือพบเห็น เมื่อผูมีสวนไดเสียหรือ
พนักงานอัยการรองขอ ศาลจะตั้งผูจัดการทรัพยสินของผูไมอยูนั้นได
3. ผูไมอยูอาจตั้งตัวแทนรับมอบอํานาจทั่วไป หรือผูรับมอบอํานาจเฉพาะการไวก็ได
4. ผูจัดการทรัพยสินที่ศาลตั้งมีอํานาจหนาที่อยางเดียวกับตัวแทนผูรับมอบอํานาจทั่วไป
5. สาบสูญเปนเหตุแหงการสิ้นสภาพบุคคลโดยกฎหมายใหสันนิษฐานวาบุคคลสาบสูญนั้นถึงแก
ความตาย
6. สาบสูญ คือ สภาพการณที่บุคคลไปจากที่อยู โดยไมรูแนนอนวายังมีชีวิตอยูหรือตายแลว
หากหายไปนาน 5 ป ในกรณีธรรมดา หรือ 2 ป ในกรณีพิเศษ เมื่อผูมีสวนไดเสียหรือพนักงานอัยการรอง
ขอ ศาลจะสั่งใหบุคคลผูไมอยูนั้นเปนคนสาบสูญ
7. บุคคลที่ศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญใหถือวาตายเมื่อครบกําหนดระยะเวลาดังที่กฎหมายกําหนด
นั้น
8. หากพิสูจนไดวาคนสาบสูญยังมีชีวิตอยู หรือตายในเวลาอื่นผิดจากเวลาที่กฎหมายกําหนด
ศาลสั่งถอนคําสั่งใหเปนคนสาบสูญนั้นได เมื่อคนสาบสูญนั้นเอง ผูมีสวนไดเสีย หรือพนักงานอัยการรอง
ขอตอศาล แตการถอนคําสั่งนั้นยอมไมกระทบกระเทือนถึงความสมบูรณแหงการทั้งหลายอันไดทําไปโดย
สุจริตในระหวางที่ศาลมีคําสั่งใหเปนคนสาบสูญ
2.2.1 ผูไมอยูและผูจัดการทรัพยสินของผูไมอยู
ก. หายไปจากที่อยูตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2500 เขียนจดหมายลงวันที่ 5 มีนาคม
2505 มาถึงญาตพี่นองสงขาวคราวใหทราบ จดหมายถึงวันที่ 10 มีนาคม 2505 ตอมา วันที่ 10
เมษายน 2510 มีผูพบเห็น ก. ที่จังหวัดภูเก็ต แลวไมมีใครทราบขาวคราวของ ก. อีกเลยวาเปน
ตายรายดีอยางไร จนกระทั่งถึงปจจุบันนี้ เชนนี้ สภาพการณการเปนผูไมอยูของ ก. เริ่มและ
สิ้นสุดเมื่อใด
เริ่มเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2510 แตระยะเวลาการเปนผูไมอยู คงมีเรื่อยไปไมสิ้นสุด
เพราะไมมีเหตุสิ้นสุดคือ ก. ไมไดกลับมา ไมปรากฏแนชัดวา ก. ตายแลว และไมมีผูใดรองขอใหศาลสั่งวา
ก. เปนคนสาบสูญ
หลักเกณฑการรองขอเขาจัดการทรัพยสินของผูไมอยูมีประการใดบาง และผู
รองมีสิทธิขอจัดการไดเพียงใด
พิจารณาตาม ปพพ. มาตรา 48 คือ หลักเกณฑ
(1) ผูไมอยูตองมีสภาพการณเปนผูใหญ คือหายไปจากที่อยูไมรูวามีชีวิตอยูหรือตายแลว
(2) ไมไดตั้งตัวแทนมอบอํานาจทั่วไปแลว และไดบัญญัติไดบัญญัติใหผูมีสวนไดเสีย
และพนักงานอัยการเปนผูรองขอ
2.2.2 การจัดการทรัพยสินของผูไมอยูโดยที่ศาลสั่ง
อํานาจของผูจัดการทรัพยของผูไมอยูที่ศาลตั้งมีประการใดบาง
ผูจัดการทรัพยสินตาม ปพพ. มาตรา 54 ใหผูจัดการมีอํานาจจัดการมีอํานาจจัดการอยาง
ตัวแทนรับมอบอํานาจทั่วไปคือทํากิจการแทนผูไมอยูได ยกเวนตามขอหาม 6 ประการตามมาตรา 801 ซึ่ง
จะตองขออนุญาตศาลกอนจึงจะทําได
8
2.2.3 การจัดการทรัพยสินของผูไมอยูโดยบุคคลผูไมอยูตั้ง
ตัวแทนมอบอํานาจทั่วไปที่ผูไมอยูแตงตั้งไวมีอํานาจจัดการทรัพยสิน
เชนเดียวกับตัวแทนมอบอํานาจทั่วไปตามกฎหมายลักษณะตัวแทนหรือไม
มีอํานาจเชนเดียวกัน เพราะ ปพพ. มาตรา 60 ใหนําบทบัญญัติกฎหมายลักษณะตัวแทน
มาใชบังคับในเรื่องการจัดการทรัพยสินของผูไมอยู เพียงที่ไมขัดแยงกับกฎหมายเรื่องบุคคล เวนแตขอ
หาม 6 ประการ ตาม ปพพ. มาตรตา 801 หากจําเปนตองกระทํา มีกฎหมาย มาตรา 51 บัญญัติใหขอ
อนุญาตศาล เพราะไมมีตัวการจะใหคําอนุญาตได
2.2.4 สาบสูญ
มีหลักสําคัญประการใดบางที่ศาลจะมีคําสั่งใหบุคคลเปนคนสาบสูญ
การที่ศาลจะสั่งใหบุคคลเปนคนสาบสูญไดตามที่มีผูรองขอ ตองพิจารณาไดความ 2
ประการ คือ (1) บุคคลไดหายไปจากที่อยู โดยไมมีใครรูแนชัดวา ยังมีชีวิตอยูหรือตายแลว (2) มีกําหนด
5 ป ในกรณีธรรมดา และ 2 ป ในกรณีพิเศษ
เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2515 ก. เดินทางทองเที่ยวทางทะเลกับเพื่อน แลวพัด
ตกเรือจมหายลงไปในน้ํา คนหาศพไมพบจะถือวา ก. จมน้ําตายในวันที่ 10 พฤษภาคม 25015
ไดหรือไมเพราะเหตุใด
จะถือวา ก. จมน้ําตายเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2515 ไมไดเพราะไมพบศพ จึงไมมี
หลักฐานแนชัดวา ก. ตายแลว ตองนําบทบัญญัติเรื่องสาบสูญมาใชบังคับ และเมื่อศาลมีคําสั่งแลวจึงถือวา
ก. ตายเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2518
ก. ไปรบในสมรภูมิสงครามเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2500 และหายไประหวาง
สงคราม สงครามสงบลงเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2502 ตอมา ก. เขียนจดหมายลงวันที่ 5 มีนาคม
2503 สงขาวใหญาติพี่นองทราบวาแตงงานแลวกับสาวชาวเวียดนาม จดหมายถึงวันที่ 10
มีนาคม 2503 หลังจากนั้นไมมีใครทราบขาวคราวของ ก. อีกเลย ดังนี้ภรรยาของ ก. จะรอง
ขอให ก. เปนคนสาบสูญไดเร็วที่สุดเมื่อวันที่เทาใด
10 มีนาคม 2508
เจาหนี้มีสิทธิรองขอใหลูกหนี้ของตนเปนคนสาบสูญไดหรือไม เพราะเหตุใด
เจาหนี้ไมมีสิทธิรองขอใหลูกหนี้ของตนเปนคนสาบสูญ เพราะไมใชผูมีสวนไดเสีย
การรองขอใหบุคคลเปนคนสาบสูญ จะรองขอ ณ ศาลใด
ศาลจังหวัดซึ่งบุคคลนั้นเคยมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลกอนที่จะจากไป
2.2.5 ผลของการสาบสูญ
คําสั่งศาลใหบุคคลเปนคนสาบสูญ มีผลกระทบถึงการสมรสหรือไม เพียงใด
สาบสูญไมเปนเหตุใหขาดการสมรส แตเปนเหตุใหฟองหยาไดเทานั้น
2.2.6 การถอนคําสั่งแสดงความสาบสูญ
กรณีใดบางที่จะรองขอใหศาลถอนคําสั่งสาบสูญได และผลของกฎหมายของ
การถอนคําสั่งแสดงสาบสูญนั้นมีประการใดบาง
กรณีที่รองขอใหศาลถอนคําสั่งแสดงสาบสูญ มี 2 ประการคือ (1) ผูสาบสูญยังมีชีวิตอยู
(2) ผูสาบสูญตายในเวลาอื่นผิดไปจากเวลา 5 ป หรือ 2 ป ตามที่กฎหมายสันนิษฐานไว
2.3 ชื่อและสถานะของบุคคล
1. ชื่อคือสิ่งที่ใชเรียกขานเพื่อจําแนกตัวบุคคลทั้งนี้เพื่อประโยชนแกการใชสิทธิและปฏิบัติหนาที่
2. กฎหมายบัญญัติใหบุคคลทุกคนตองมีชื่อตัวและชื่อสกุล แตบุคคลอาจมีชื่ออื่นๆ ไดอีก เชน
ชื่อรอง ชื่อฉายา ชื่อแฝงและชื่อบรรดาศักดิ์
3. ชื่ออื่นๆนั้น บุคคลอาจตั้งขึ้นเองหรือผูอื่นตั้งให แตชื่อสกุลเปนชื่อที่บุตรไดรับสืบเนื่องมาจาก
บิดา หรือภริยาไดรับสืบเนื่องมาจากสามี ถาเด็กไมปรากฏบิดามารดา ไมอาจไดชื่อสกุลจากบิดามารดาได
ก็ตองตั้งชื่อสกุลใหใหม
4. บุคคลอาจเปลี่ยนชื่อตัวและชื่อรองไดตามใจสมัคร แตชื่อสกุลนั้น บุคคลหนึ่งบุคคลใดในวงศ
สกุลหามีสิทธิจะเปลี่ยนแปลงตามใจชอบไดไม จะเปลี่ยนไดก็แตโดยตั้งชื่อสกุลขึ้นใหม หรือเปลี่ยนแปลง
9
โดยผลของกฎหมายประการอื่น เปนตนวา หญิงเปลี่ยนไปใชนามสกุลของสามี ฯลฯ กรณีเหลานี้เปนเรื่อง
เฉพาะตัวของบุคคลนั้น การเปลี่ยนชื่อสกุลใหมไมมีผลใชชื่อสกุลเดิมตองเปลี่ยนแปลงไปดวย
5. กฎหมายใหความคุมครองทั้งชื่อบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ในกรณีที่มีผูโตแยงการใชชื่อ
และกรณีผูอื่นใชชื่อโดยไมมีอํานาจ โดยเจาของชื่อมีสิทธิใหระงับความเสียหาย หากไมเปนผล มีสิทธิรอง
ขอใหศาลสั่งหาม และยังมีสิทธิเรียกคาเสียหายไดดวย
6. สถานะของบุคคลเปนสิ่งประกอบสภาพบุคคลที่ชี้บงฐานะหรือตําแหนงของบุคคล ในการใช
สิทธิและปฏิบัติหนาที่ เชน เปนชายหญิง ผูเยาว ผูบรรลุนิติภาวะ บิดามารดา บุตร หรือสามี ภรรยาเปนตน
7. บุคคลไดสถานะตั้งแตเกิด เพราะมีสิทธิหนาที่ตั้งแตเริ่มสภาพบุคคลหรืออาจกอใหเกิดขึ้น
ภายหลัง เนื่องจากเปลี่ยนแปลงสถานะใหม เชน การสมรส การหยา เปนตน
8. สถานะของบุคคลบางประการตองจดทะเบียนการกอหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อใหมีผลสมบูรณ
ตามกฎหมาย
9. สถานะของบุคคลที่กฎหมายบังคับใหจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2499
ไดแก การเกิด การตาย และตาม ปพพ. คือ การจดทะเบียนครอบครัว ไดแก การสมรส การหยา การ
รับรองบุตร การรับบุตรบุญธรรม และการเลิกรับบุตลบุญธรรม
2.3.1 ประเภทของชื่อบุคคล
ชื่อบุคคลมีกี่ประเภท แตละประเภทไดแกชื่ออะไรบาง
มี 3 ประเภท คือ (1) ชื่อที่กฎหมายบังคับใหมีประจําตัวบุคคล ไดแก ชื่อตัวและชื่อสกุล
(2) ชื่อที่บุคคลอาจตั้งขึ้นไดอีก ไดแกชื่อรอง ชื่อฉายา และชื่อแฝง (3) ชื่อบรรดาศักดิ์ ไดแกชื่อตามราช
ทินนามที่พระมหากษัตริยตั้งให
การไดมาซึ่งชื่อตัวและชื่อสกุลแตกตางกันหรือไม
แตกตางกัน คือ ชื่อตัว ไดมาตั้งแตเกิดโดยตั้งขึ้นใหม ชื่อสกุล ไดสืบสกุลตอเนื่องมาจาก
บิดา หรือตั้งใหม หรือกรณีไดชื่อสกุลจากสามี
จําเปนหรือไมที่เด็กไมปรากฏบิดามารดาจะตองมีชื่อสกุลหากจําเปน วิธีการใดจะ
หาชื่อสกุลใหเด็ก
มีความจําเปน เพราะกฎหมายบังคับ เมื่อไมมีชื่อสกุลของบิดามารดา ก็ตองตั้งชื่อสกุลขึ้น
ใหมใหเด็กนั้น
ชื่อบุคคลมีลักษณะสําคัญประการใด
ชื่อสกุลมีลักษณะสําคัญคือ (1) จําเปนตองมีประจําตัวบุคคล (2) ตองแนนอนคงที่ (3)
ไมอาจไดมาหรือสูญเสียไปโดยอายุความ (4) ไมอาจจําหนายใหกันได
2.3.2 การเปลี่ยนชื่อบุคคลและการคุมครองชื่อบุคคล
กรณีที่เปนเหตุแหงการโตแยงชื่อมีประการใดบาง และกฎหมายใหความคุมครอง
อยางไร
การโตแยงเรื่องชื่อมี 2 กรณี คือ (1) มีผูโตแยงการใชชื่อของเรา (2) ผูอื่นเอาชื่อเราไป
ใชโดยไมมีอํานาจ และกฎหมายใหความคุมครอง 3 ประการ คือ (ก) ใหระงับความเสียหาย (ข) ขอใหศาล
สั่งหาม (ค) เรียกคาเสียหายได
2.3.3 สถานะและการจดทะเบียนสถานะบุคคล
สถานะของบุคคลคืออะไร ไดมาจากไหน และเหตุใดบุคคลตองมีสถานะ
สถานะของบุคคลคือ ฐานะหรือตําแหนงซึ่งบุคคลดํารงอยูในประเทศชาติและครอบครัว
บุคคลไดสถานะตั้งแตเกิดมีสภาพบุคคล และอาจไดมาโดยการกอขึ้นเองอีก เพราะเปลี่ยนสถานะใหม เหตุ
ที่ตองมีสถานะเปนสิ่งที่บอกใหทราบถึงความแตกตางและความสามารถของบุคคล ในการใชสิทธิและ
ปฏิบัติหนาที่
2.4 ภูมิลําเนา
1. ภูมิลําเนาเปนที่กฎหมายกําหนดใหมีประกอบตัวบุคคล เพื่อชี้บงใหเปนที่รูกันทั่วไปวาเขามีที่
อยูเปนประจําที่ไหน ดังนั้นจึงอาจใหความหมายไดอีกนัยหนึ่งวา ภูมิลําเนาคือที่อยูตามกฎหมายของบุคคล
10
2. การรูภูมิลําเนามีประโยชนเมื่อบุคคลตองการติดตอสัมพันธกัน โดยเฉพาะในทางกฎหมายที่
เกี่ยวกับการฟองคดี การสงคําคูความหรือเอกสาร การชําระหนี้หรือสาบสูญ ทั้งยังเปนประโยชนตอรัฐใน
การจัดระเบียบการปกครอง และบังคับใหเปนไปตามกฎหมายอีกดวย
3. กฎหมายบัญญัติเปนหลักทั่วไปกําหนดใหที่อยูซึ่งเปนแหลงสําคัญเปนภูมิลําเนาของบุคคล
แตหลักทั่วไปนี้ไมอาจครอบคลุมไป กําหนดภูมิลําเนาของบุคคลไดทุกประเภท จึงมีบทบัญญัติขยายความ
หลักเกณฑทั่วไป หรือลดหยอนหลักเกณฑทั่วไปลงมา เพื่อคนหาภูมิลําเนาของบุคคลทุกคนใหจนได
กลาวคือ บุคคลมีที่อยูหลายแหง ใหถือแหงสําคัญเปนภูมิลําเนา ถาสําคัญเทากัน แตละแหงเปนภูมิลําเนา
ถาไมมีที่อยูแหลงสําคัญเลย ใหถือที่อยูเปนภูมิลําเนา และทายที่สุดถาไมมีที่อยูแนนอนเลย ใหถือวาที่นั้น
เปนภูมิลําเนา
4. จากหลักเกณฑที่วาบุคคลมีที่อยูหลายแหง ใหถือแหงสําคัญเปนภูมิลําเนานั้น หมายความวา
บุคคลอาจเลือกถือภูมิลําเนาไดโดยใจสมัคร เพราะเขาจะเลือกเอาที่อยูใดเปนแหลงสําคัญก็ได สวน
หลักเกณฑขอที่วา บุคคลมีที่อยูแหลงสําคัญหลายแหง ใหถือวาแตละแหงเปนภูมิลําเนานั้น มีความหมาย
อยูในตัววา บุคคลอาจมีภูมิลําเนาไดหลายแหง
5. แมหลักเกณฑมีวา บุคคลอาจเลือกถือภูมิลําเนาไดตามใจสมัคร แตมีขอยกเวนสําหรับบุคคล
บางประเภทที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนาใหเลย ไดแก ผูเยาวและคนไรความสามารถ กฎหมายใหถือ
ภูมิลําเนาของผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูอนุบาล ขาราชการใหมีภูมิลําเนาอยู ณ ที่ทํางานประจํา แต
ขาราชการอาจถือภูมิลําเนาเดิมอีกแหงก็ได คนที่ถูกจําคุก กฎหมายใหถือเอาเรือนจํา หรือทัณฑสถานที่
ถูกจําคุกอยูเปนภูมิลําเนาจนกวาจะไดรับการปลอยตัว สวนสามีและภรรยา กฎหมายใหถือถิ่นที่อยูของสามี
และภรรยาอยูกินดวยกันฉันสามีภริยาเปนภูมิลําเนา
6. นอกจากภูมิลําเนาธรรมดาแลว บุคคลอาจเลือกเอาถิ่นที่ใดที่หนึ่งเปนภูมิลําเนาเฉพาะการเพื่อ
ทํากิจการอยางใดอยางหนึ่งอีกก็ได
7. ภูมิลําเนานั้น อาจเปลี่ยนแปลงไปโดย (1) ยายที่อยู และ (2) มีเจตนาจงใจจะเปลี่ยน
ภูมิลําเนาเปนหลักเกณฑ 2 ประการประกอบกัน หากพฤติการณเขาหลักเกณฑเพียงขอเดียวไมถือวา
ภูมิลําเนาไดเปลี่ยนแปลงไป
2.4.1 ประโยชนของภูมิลําเนา
ภูมิลําเนาของบุคคลมีประโยชนในทางกฎหมายเอกชนอยางไร
มีประโยชนคือ (1) การฟองคดี ทําใหทราบเขตอํานาจศาล (2) การสงคําคูความหรือ
เอกสาร สง ณ ภูมิลําเนา (3) การชําระหนี้ ชําระ ณ ภูมิลําเนาของเจาหนี้ (4) การสาบสูญ ถือหลักการไป
จากภูมิลําเนา
2.4.2 การกําหนดภูมิลําเนา
คําวาบุคคลอาจมีภูมิลําเนาไดหลายแหง นั้น หมายความวาอยางไร
ตาม ปพพ. มาตรา 44 คือผูเยาวใชภูมิลําเนาของผูแทนโดยชอบธรรม กรณีบิดามารดา
ของผูเยาวแยกกันอยูใหถือภูมิลําเนาของบิดาหรือมารดาตนอยูดวย ปพพ. มาตรา 45 ภูมิลําเนาของคนไร
ความสามารถไดแก ภูมิลําเนาของผูอนุบาล
ก. มีบุตรภรรยาและบานพักอยูที่กรุงเทพฯ แตมีอาชีพเปนเซลแมน เดินเรขาย
สินคาไปในที่ตางๆ ไมมีสํานักทําการงานแนนอน เดือนหนึ่งหรือสองเดือนจึงกลับบานและพักอยู
2-3 วัน ก็ออกเดินทางคาขายตอ ดังนี้ ภูมิลําเนาของ ก. จะอยูที่ใด
กรุงเทพฯ
2.4.3 บุคคลที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนาให
ผูเยาวเปนคนไรความสามารถเลือกถือภูมิลําเนาของตนไดตามใจสมัครหรือไม
เพราะเหตุใด
เลือกภูมิลําเนาเองไมได เพราะผูเยาวและคนไรความสามารถเปนผูหยอนความสามารถ
ถูกตัดทอนสิทธิในการทํานิติกรรม หากผูเยาวจะทํานิติกรรม ตองไดรับความยินยอมหรือใหผูแทนโดยชอบ
ธรรมทําแทน สวนคนไรความสามารถทํานิติกรรมไมไดเลย หากทําจะเปนโมฆียะ ตองใหผูอนุบาลทําแทน
ดวยเหตุนี้ กฎหมายจึงกําหนดใหถือภูมิลําเนาของผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูอนุบาล ทั้งนี้ เพื่อความ
สะดวกและเหมาะสมในการควบคุมดูแลและใชอํานาจปกครอง
ก. รับราชการประจําอยูในกรุงเทพฯ แตทางราชการสงไปชวยราชการที่จังหวัด
เชียงใหมเปนเวลา 1 ป ดังนี้ ถือวา ก. มีภูมิลําเนาที่ไหนเพราสะเหตุใด
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf
jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf

More Related Content

Similar to jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf

ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
CUPress
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
ssuser04a0ab
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
AJ Por
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
AJ Por
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย IsLawsom
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
AJ Por
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 

Similar to jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf (19)

ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf41231_Criminal_1.pdf
41231_Criminal_1.pdf
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
40101_.pdf
40101_.pdf40101_.pdf
40101_.pdf
 

More from PawachMetharattanara

BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptxBIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
PawachMetharattanara
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
PawachMetharattanara
 
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptxSmart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
PawachMetharattanara
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
PawachMetharattanara
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
PawachMetharattanara
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
PawachMetharattanara
 
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdfหนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
PawachMetharattanara
 
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
PawachMetharattanara
 
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.pptPresentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
PawachMetharattanara
 
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptxอบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
PawachMetharattanara
 
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptxpresentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
PawachMetharattanara
 
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
PawachMetharattanara
 
แผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdfแผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdf
PawachMetharattanara
 

More from PawachMetharattanara (20)

BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptxBIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
 
DLS_CP_Payment Rev.00.pdf
DLS_CP_Payment Rev.00.pdfDLS_CP_Payment Rev.00.pdf
DLS_CP_Payment Rev.00.pdf
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
 
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptxSmart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
 
KPI 2021 Sale ( Nov ).pptx
KPI 2021 Sale ( Nov ).pptxKPI 2021 Sale ( Nov ).pptx
KPI 2021 Sale ( Nov ).pptx
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
 
Presentation1333.pptx
Presentation1333.pptxPresentation1333.pptx
Presentation1333.pptx
 
Presentation1unv2.pptx
Presentation1unv2.pptxPresentation1unv2.pptx
Presentation1unv2.pptx
 
Presentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptxPresentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptx
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
 
Univiwe Training 2023.pdf
Univiwe Training 2023.pdfUniviwe Training 2023.pdf
Univiwe Training 2023.pdf
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
 
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdfหนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
 
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
 
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.pptPresentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
 
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptxอบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
 
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptxpresentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
 
Catalog Quick.pdf
Catalog Quick.pdfCatalog Quick.pdf
Catalog Quick.pdf
 
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
 
แผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdfแผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdf
 

jn40kcvr8c6gfn9phvtkttaln141211.pdf

  • 1. 1 41211 กฎหมายแพง 1 (Civil Law1) หนวยที่ 1 การใชการตีความกฎหมายและบททั่วไป 1. วิชานิติศาสตรเปนวิชาที่มีหลักเกณฑพื้นฐานหลายประการ ที่ผูศึกษากฎหมายจําเปนตองศึกษา หลักเกณฑพื้นฐานทางความคิดเหลานี้ ซึ่งจะชวยทําใหการศึกษากฎหมายเปนไปอยางมีหลักเกณฑ และ มีความคิดที่เปนระบบ 2. การศึกษากฎหมายก็เพื่อใชกฎหมาย และในการใชกฎหมายนั้นก็จําเปนจะตองมีการตีความ กฎหมายโดยผูที่ใชกฎหมายดวย 3. หลักเกณฑที่สําคัญประการหนึ่งของกฎหมายก็คือกฎหมายจะกําหนดสิทธิและหนาที่ของบุคคล และบุคคลผูมีสิทธินั้นก็ตองใชสิทธิใหถูกตอง 4. ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 หลักทั่วไป ไดบัญญัติบทเบ็ดเสร็จทั่วไป ซึ่งเปน หลักเกณฑทั่วไปที่อาจนําไปใชกับกรณีตางๆ ไวในลักษณะ 1 1.1 การใชและการตีความกฎหมาย 1. การใชกฎหมายมีความหมาย 2 ประการ คือ การบัญญัติกฎหมายตามที่กฎหมายแมบทให อํานาจไวประการหนึ่ง และการใชกฎหมายกับขอเท็จจริงอีกประการหนึ่ง 2. การใชกฎหมายกับขอเท็จจริงนั้นผูเกี่ยวของ และไดรับผลจากกฎหมายก็อยูในฐานะที่เปนผูใช กฎหมายทั้งสิ้น 3. การใชกฎหมายกับขอเท็จจริงยังอาจแบงเปนการใชโดยตรงและโดยเทียบเคียง 4. การตีความกฎหมายของกฎหมายแตละระบบ หรือแตละประเทศก็มีการตีความที่แตกตางกัน และกฎหมายแตละประเภทกันก็ยังมีหลักเกณฑในการตีความที่แตกตางกัน 5. กฎหมายที่ใชอยูอาจมีชองวางในการใชกฎหมายเกิดขึ้น จึงตองมีการอุดชองวางของกฎหมาย ซึ่งกฎหมายนั้นอาจกําหนดวิธีการไวหรือบทกฎหมายมิไดกําหนดวิธีการไว ก็ตองเปนไปตามหลักทั่วไป 1.1.1 การใชกฎหมาย การใชกฎหมายมี 2 ประเภท คือ การใชกฎหมายโดยตรงและ การใชกฎหมายโดย เทียบเคียง การใชกฎหมายกับขอเท็จจริงโดยตรงกับการใชโดยเทียบเคียงเกิดขึ้นพรอมกันได การใช กฎหมายโดยตรงตองเริ่มจากตัวบทกฎหมายกอน โดยการศึกษากฎหมายในเรื่องนั้นๆ เพื่อใหรูถึง ความหมายหรือเจตนารมยของกฎหมายกอน แลวจึงมาพิจารณาวาตัวบทกฎหมายนั้นสามารถปรับใชกับ ขอเท็จจริงไดหรือไม การใชกฎหมายโดยการเทียบเคียง กฎหมายที่บัญญัติไวเปนลายลักษณอักษรแม พยายามใหรอบคอบเพียงใดบอยครั้งพบวาขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นไมมีกฎหมายลายลักษณอักษรที่บัญญัติไว โดยตรงที่สามารถยกมาปรับแกคดีได จําเปนตองหากฎหมายมาใชปรับแกคดีใหได โดยพยายามหา กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งที่พอจะใชปรับแกขอเท็จจริงนั้นๆ 1.1.2 การตีความกฎหมาย การตีความตามเจตนารมณกับการตีความตามตัวอักษร การตีความในกรณีนี้จะเกิดขึ้นเมื่อ กฎหมายมีความกํากวมไมชัดเจน หรืออาจแปลความหมายไปไดหลายทางการตีความตามกฎหมายจะแยก พิจารณาจะตองแยกพิจารณาออกเปน หลักการตีความกฎหมายทั่วไป กับหลักการตีความกฎหมายพิเศษ หลักเกณฑการตีความกฎหมายทั่วไป เปนการหาความหมายที่แทจริงของกฎหมาย จําเปนตองพิเคราะหตัวกฎหมายและเหตุผลที่อยูเบื้องหลังของกฎหมาย หรือเจตนารมยของกฎหมาย การ พิเคราะหกฎหมายมี 2 ดาน คือ (1) พิเคราะหตัวอักษร (2) พิเคราะหเจตนารมย หรือเหตุผลหรือความมุงหมายของกฎหมาย การตีความตามกฎหมายพิเศษ มีหลักการตีความของตนเองโดยเฉพาะ หลักเกณฑในการหาเจตนารมณของกฎหมาย มีหลักเกณฑบางประการที่จะชวยหา เจตนารมณบางประการของกฎหมายหลักคือ 1) หลักที่ถือวากฎหมายมีความมุงหมายที่จะใชบังคับไดในบางกรณี กฎหมายอาจแปล ความไดหลายนัย ทําใหกฎหมายไรผลบังคับ ปญหาวาเจตนารมณของกฎหมายจะใชความหมายใดตอง ถือวากฎหมายมีเจตนาจะใหมีผลบังคับไดจึงตองถือเอานัยที่มีผลบังคับได 2) กฎหมายที่เปนขอยกเวนไมมีความมุงหมายที่จะใหขยายความออกไป กลาวคือ กฎหมายที่เปนบทยกเวนจากบททั่วไปหรือกฎหมายที่เปนบทบัญญัติตัดสิทธินั้นหากมีกรณีที่แปลความได
  • 2. 2 อยางกวางหรืออยางขยาย กับแปลความอยางแคบ ตองถือหลักแปลความอยางแคบเพราะกฎหมาย ประเภทนี้ไมมีความมุงหมายใหแปลความอยางขยายความ การตีความกฎหมายทั่วไปกับการตีความตามกฎหมายเฉพาะ มีหลักเกณฑตางกัน คือการตีความ กฎหมายโดยทั่วไป คือการหาความหมายที่แทจริงของกฎหมาย ซึ่งจําเปนตองพิเคราะหตัวกฎหมาย และ เหตุผลที่อยูเบื้องหลังของกฎหมาย หรือเจตนารมณของกฎหมาย การตีความกฎหมายตองพิเคราะห 2 ดานคือ (1) พิเคราะหตัวอักษร และ (2) พิเคราะหเจตนารมย หรือเหตุผลหรือความมุงหมายของกฎหมาย การแสวงหาเจตนารมณของกฎหมายมีทฤษฎี 2 ทฤษฎี คือ (ก) ทฤษฎีอัตตวิสัย หรือทฤษฎีอําเภอจิต (ข) ทฤษฎีภววิสัย หรือทฤษฎีอําเภอการณ การตีความกฎหมายพิเศษ มีหลักเกณฑการตีความของตนเองโดยเฉพาะ จะนําหลักทั่วไปในการ ตีความมาใชโดยดวยมิได เชนกฎหมายพิเศษไดแก กฎหมายอาญา ซึ่งมีหลักเกณฑพิเศษคือ (1) กฎหมายอาญาเปนกฎหมายที่กําหนดความผิดและโทษจึงตองตีความเครงคัด (2) จะตีความโดยขยายความใหเปนการลงโทษหรือเพิ่มโทษผูกระทําผิดใหหนักขึ้นไมได หลักการตีความตองตีความตามตัวอักษรกอนหากตัวอักษรมีถอยคําชัดเจนก็ใชกฎหมายไปตามนั้น แตหากตัวอักษรไมชัดเจนหรือมีปญหา จึงมาพิจารณาความมุงหมายหรือเจตนารมยของกฎหมายนั้น ไป พรอมๆ กัน เปนหลักการตีความ ไมใชถือหลักวาหากตัวอักษรไมมีปญหาแลวก็ตองพิจารณาถึงเจตนารมย เลยซึ่งเปนเรื่องไมถูกตอง 1.1.3 การอุดชองวางของกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไดกําหนดวิธีอุดชองวางของกฎหมายไวในมาตรา 4 1.2 สิทธิและการใชสิทธิ 1. สิทธิเปนสถาบันหลักในกฎหมาย เมื่อกฎหมายกําหนดสิทธิแลวจะตองมีบุคคลผูมีหนาที่ที่ จะตองปฏิบัติหรือตองไมปฏิบัติเพื่อใหเปนไปตามสิทธิของผูทรงสิทธินั้น 2. สิทธิอาจแบงออกไดเปนสิทธิตามกําหมายมหาชน และสิทธิตามกฎหมายเอกชน ซึ่งแตละ ประเภทยังอาจแบงออกยอยๆ ไดอีก 3. การมีสิทธิกับการใชสิทธิมีความแตกตางกัน การใชสิทธิก็ตองเปนไปตามหลักเกณฑของ กฎหมาย เชน ตองใชสิทธิโดยสุจริต 1.2.1 สิทธิและแนวคิดเรื่องสิทธิ สิทธิ ตามความเห็นของ ศ.ดร.หยุด แสงอุทัย คือ ประโยชนที่กฎหมายรับรองและ คุมครองให สิทธิเปนทั้งอํานาจ และเปนทั้งประโยชน จึงถือไดวา สิทธิ คือ อํานาจที่กฎหมายใหเพื่อให สําเร็จประโยชนที่กฎหมายคุมครอง สิทธิคือ อํานาจที่กฎหมายรับรองใหแกบุคคลในอันที่จะกระทําการเกี่ยวของกับทรัพยสิน หรือบุคคลอื่น เชน อํานาจที่กฎหมายรับรองใหแกบุคคลในอันที่จะเรียกรองใหบุคคลอีกบุคคลหนึ่งกระทํา การหรืองดการกระทําบางอยางเพื่อประโยชนแกตน เชนเรียกใหชําระหนี้ เรียกใหงดเวนการประกอบ กิจการแขงขันกับตนหรือการมีกรรมสิทธิ์ ซึ่งกรรมสิทธิ์ที่แทจริงแลวก็คืออํานาจของผูที่จะเปนเจาของใน อันที่จะใชสอยแสวงหาประโยชนจากทรัพยสิน ตลอดจนจําหนาย จาย โอน หามผูอื่นเขามาใชสอย เกี่ยวของสัมพันธกับหนาที่คือ สิทธิและหนาที่เปนของคูกัน เมื่อกฎหมายกําหนดรับรองสิทธิของผูใดแลวก็ เกิดมีหนาที่แกบุคคลซึ่งตองกระทําหรืองดเวนการกระทําบางอยางตามสิทธิที่กฎหมายรับรอง คุมครอง ใหแกบุคคลนั้น เชน กฎหมายรับรองสิทธิในชีวิต ก็กอใหเกิดหนาที่แกบุคคลอื่นที่จะตองไมไปฆาเขา กฎหมายรับรองสิทธิในรางกาย ก็กอหนาที่แกบุคคลอื่นที่จะไมไปทํารายเขา กฎหมายรับรองสิทธิในหนี้ ของเจาหนี้ ก็กอใหเกิดสิทธิแกลูกหนี้ที่จะตองชําระหนี้ เสรีภาพ ไดแกภาวะของมนุษยที่ไมอยูภายใตการครอบงําของผูอื่น หรือภาวะที่ปราศจาก การหนวงเหนี่ยวขัดขวาง เสรีภาพจึงเปนเรื่องของบุคคลที่จะกําหนดตนเองจะกระทําการใดๆ โดยตนเอง โดยอิสระปราศจากการแทรกแซงขัดขวางจากภายนอก เสรีภาพมีลักษณะตางจากสิทธิหลายประการ ไดแก (1) ทั้งสิทธิและเสรีภาพกอใหเกิดหนาที่แกผูอื่นที่จะตองเคารพแตสิทธิ อาจกอใหเกิดหนาที่ แกบุคคลทั่วไปก็ได เชน มีสิทธิในทรัพยสิน กอใหเกิดหนาที่แกบุคคลที่จะตองเคารพในสิทธินี้ไมเขาไป ขัดขวางการใชสอย ไมถือเอามาเปนของตน แตเสรีภาพกอใหเกิดหนาที่แกบุคคลทั่วไปจะตองเคารพ เชน เสรีภาพในการนับถือศาสนา เสรีภาพในรางกายก็กอใหเกิดหนาที่แกบุคคลทั่วไปที่จะตองเคารพ (2) หนาที่ซึ่งเกิดจากสิทธินั้นอาจเปนหนาที่ ที่ตองกระทําหรืองดเวนการกระทํา เชนสิทธิใน ทรัพยสิน กอใหเกิดหนาที่งดเวนไมเขาแทรกแซงการใชสอย ไมยุงกับทรัพยสินของเขา ผูเอาทรัพยสิน ของเขาไปก็มีหนาที่ตองกระทําคือตองสงคืนเขา หนาที่ที่เกิดจากเสรีภาพ กอใหผูอื่นมีหนาที่ตองงดเวน
  • 3. 3 กระทําคือไมเขาขัดขวางหรือไมเขาแทรกแซงเสรีภาพของเขา เชน เสรีภาพในการนับถือศาสนา ผูอื่นก็มี หนาที่ที่จะไมขัดขวางตอการนับถือศาสนาของเขา (3) เสรีภาพนั้นกลาวกันมากในกฎหมายมหาชน เชนในรัฐธรรมนูญแหงราชอนาจักรไทย พ.ศ. 2534 มาตรา 24 บัญญัติวา บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพภายใตบังคับบทบัญญัติแหงรํฐธรรมนูญ ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน การกําจัดสิทธิและเสรีภาพอันเปนการฝาฝนเจตนารมณตามบทบัญญัติ แหงรัฐธรรมนูญจะกระทํามิได องคประกอบแหงสิทธิมีสาระสําคัญ 4 ประการคือ (ก) ผูทรงสิทธิ (ข) การกระทําหรือละเวนการกระทํา (ค) วัตถุแหงสิทธิ (ง) บุคคลซึ่งมีหนาที่ การแบงสิทธิตามกฎหมายเอกชนนั้นเปนสิทธิที่รัฐยอมรับรองและบังคับการให เพราะเปน สิทธิของเอกชนที่จะใชยันกับเอกชน ไมกอผลมายันตอรัฐไมกระทบถึงอํานาจรัฐมากนัก แบงตาม หลักเกณฑตางๆ ดังนี้ (ก) การแบงแยกตามสภาพของสิทธิ - สิทธิสมบูรณ - สิทธิสัมพัทธ (ข) การแบงแยกตามวัตถุแหงสิทธิ - สิทธิเกี่ยวกับบุคคล - สิทธิเกี่ยวกับครอบครัว - สิทธิเกี่ยวกับทรัพยสิน (ค) การแบงแยกตามเนื้อหา - สิทธิในทางลับ - สิทธิในทางปฏิเสธ (ง) การแบงแยกตามขอบเขตที่ถูกกระทบกระทั่งโดยสิทธิอื่นๆ - สิทธิที่เปนประธาน หมายถึงสิทธิที่เกิดขึ้นและดํารงอยูโดยตัวเองมิไดขึ้นอยูกับสิทธิ อื่น สิทธิที่เกิดขึ้นและเปนอิสสระไมขึ้นกับสิทธิอื่น - สิทธิอุปกรณ หมายถึงสิทธิที่เกิดขึ้นเนื่องมาแตสิทธิอื่น การดํารงอยูก็ขึ้นอยูกับสิทธิ อื่น สิทธิอุปกรณมิไดเปนอิสระของตนเองแตขึ้นอยูกับสิทธิอื่น 1.2.2 การใชสิทธิ การมีสิทธิกับการใชสิทธิ เหมือนกันและแตกตางกันอยางไร การมีสิทธิกับการใชสิทธินั้นแตกตางกัน การมีสิทธินั้นเมื่อกฎหมายรับรองก็มีสิทธิ แตอาจ ถูกจํากัดการใชสิทธิได เชน ผูเยาวแมจะมีสิทธิในทรัพยสินแตอาจถูกจํากัดสิทธิทํานิติกรรมเกี่ยวกับ ทรัพยสินได กฎหมายกําหนดแนวทางการใชสิทธิไวอยางไร กฎหมายกําหนดแนวทางการใชสิทธิเอาไว โดยทั่วไปก็คือตองไมใชสิทธิใหเปนการฝาฝน กฎหมาย และตองใชสิทธิโดยสุจริต 1.3 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป 1. บทบัญญัติที่เปนบทเบ็ดเสร็จทั่วไปนี้เปนหลักเกณฑที่อาจนําไปใชกับกรณีตางๆ ในประมวล กฎหมายแพงพาณิชยที่ไมมีบทบัญญัติเรื่องนี้โดยเฉพาะ 2. การทําเอกสารที่กฎหมายกําหนดวาตองทําเปนหนังสือนั้น กฎหมายวางหลักเกณฑวาตองลง ลายมือชื่อ 3. เหตุสุดวิสัยเปนเหตุใดๆ ที่จะเกิดขึ้นก็ดีจะใหผลพิบัติก็ดีเปนเหตุที่ไมอาจปองกันได แมทั้ง บุคคลผูใกลจะประสบเหตุนั้น จะไดจัดการระมัดระวังตามสมควร อันจะพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะ และภาวะเชนนั้น 4. ดอกเบี้ยเปนดอกผลนิตินัยอยางหนึ่ง กฎหมายกําหนดเปนหลักเกณฑทั่วไปวา ถาจะตองเสีย ดอกเบี้ย แตมิไดกําหนดอัตราไวใหใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป 1.3.1 การทําและการตีความเอกสาร การที่กฎหมายกําหนดวา สัญญาเชาซื้อตองทําเปนหนังสือนั้น คูสัญญาเชาซื้อไมตองเขียน สัญญานั้นเอง แตตองลงลายมือชื่อหรือลงเครื่องหมายแทนการลงมือชื่อโดยชอบตามมาตรา 9
  • 4. 4 สัญญากูมีขอความซึ่งอาจแปลความไดสองนัย ถาแปลความนัยแรกจะเปนคุณแกผูใหกู ถา แปลตามความนัยที่สองจะเปนคุณแกผูกู เมื่อเปนดังนี้จะตองตีความตามนัยสอง คือ ตองตีความใหเปนคุณ แกคูกรณี ฝายที่ตองเปนผูเสียในมูลหนี้คือลูกหนี้นั่นเอง ตามมาตรา 11 1.3.2 เหตุสุดวิสัย เหตุสุดวิสัยกับภัยธรรมชาติ ไมเหมือนกันเพราะเหตุสุดวิสัยอาจเกิดจากภัยธรรมชาติ หรือ อาจเกิดจากการกระทําของคนก็ได และภัยธรรมชาติก็อาจไมเปนเหตุสุดวิสัยก็ได การวินิจฉัยวา กรณีใดเปนเหตุสุดวิสัยหรือไม มีจุดสําคัญในประเดนสําคัญที่วาบุคคลผู ประสบหรือใกลจะตองประสบไมอาจปองกันไดดี แมจะไดใชความระมัดระวังตามสมควรแลว 1.3.3 ขอกําหนดเรื่องดอกเบี้ย กฎหมายในบทเบ็ดเสร็จทั่วไปกําหนดเกี่ยวกับดอกเบี้ยไวอยางไร กฎหมายในบทเบ็ดเสร็จทั่วไป กําหนดเกี่ยวกับดอกเบี้ยไว โดยกําหนดตามมาตรา 7 ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย แบบประเมินผล หนวยที่ 1 การใชการตีความหมาย และบททั่วไป 1. การตีความกฎหมายพิเศษจะตอง ตีความโดยเครงครัด 2. การอุดชองวางของกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 4 ไดกําหนดลําดับไวหากไมมี กฎหมายลายลักษณอักษรใชบังคับแลวจะตองนําหลักเกณฑ จารีตประเพณีแหงทองถิ่น มาใชบังคับ (มาตรา 4 กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติใดๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของ บทบัญญัตินั้นๆ เมื่อไมมีกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีนั้นตามจารีตประเพณีแหงทองถิ่น ถาไมมีจารีตประเพณีเชนวานั้น ใหวินิจฉัย คดีเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และถาบทกฎหมายเชนนั้นก็ไมมีดวย ใหวินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป) 3. คําวา เสรีภาพ ไมใชองคประกอบของสิทธิ คําวา “สิทธิ” เปนถอยคําที่มีบัญญัติในกฎหมายเปนขอความที่เปนรากฐานของกฎหมาย สิทธิ คือความชอบธรรมที่บุคคลอาจใชยันตอ ผูอื่น เพื่อคุมครองหรือรักษาผลประโยชน อันเปนสวนอันพึงมีพึงไดของบุคคล สิทธิตามกฎหมายประกอบดวย (ก) ความชอบธรรม คือความถูกตอง ความรับผิดชอบ โดยความชอบธรรมนั้นจะตองอยูภายใตขอบเขตของกฎหมาย เพราะมีบางกรณี ที่อาจมิใชความชอบธรรม แตกฎหมายก็ยอมรับวาการกระทําเชนนั้นเปนความชอบธรรม เชน กรณีขาดอายุความ ลูกหนี้ปฏิเสธไมชําระหนี้ได จะ เรียกวาความชอบธรรมนั้นนั้นไมถูกตอง เพราะลูกหนี้มีหนี้ แตไมยอมชําระหนี้โดยอางสิทธิตามกฎหมาย หรือกรณีครอบครองปรปกษตามมาตรา 1382 กฎหมายยอมใหไดกรรมสิทธิ์ทั้งๆ ที่ผูครอบครองปรปกษไมใชเจาของกรรมสิทธิ์ เชนนี้เปนความชอบธรรมตามกฎหมายแตไมใชเรื่องของ ความถูกตอง (ข) ผูทรงสิทธิ สิทธิจะตองมีบุคคลเปนผูถือสิทธิ หรือที่เรียกวา “ผูทรงสิทธิ” ซึ่งมีไดทั้งบุคคลธรรมดาและ นิติบุคคล (ค) การกระทําหรือละเวนการกระทํา สิทธิเปนสิ่งที่ใชยืนยันกับบุคคลอื่นได การจะเกิดรูวาสิทธิถูกรบกวนเมื่อใดนั้นก็ตองรอใหเกิดการ กระทําหรือละเวนการกระทําเสียกอน ผูทรงสิทธิจึงอางถึงสิทธิความชอบธรรมที่มีอยูตามกฎหมายได เชน การที่ลูกหนี้ปฏิเสธไมยอมชําระหนี้ การ กระทําที่เกิดขึ้นจากลูกหนี้คือ การปฏิเสธ ทําใหเจาหนี้มีสิทธิเรียกรองบังคับใหลูกหนี้ชําระหนี้ได ดวยการใชสิทธิฟองคดีตอศาลขอใหบังคับ (ง) วัตถุแหงหนี้ วัตถุคือสิ่งของวัตถุแหงหนี้จึงหมายถึงสิ่งของที่เปนหนี้ เชน กรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน สิ่งของที่เปนวัตถุแหงหนี้ก็คือ ทรัพยสิน สิทธิในชีวิตรางกาย สิ่งที่เปนวัตถุแหงหนี้ก็คือตัวบุคคล (จ) บุคคลซึ่งมีหนาที่ กฎหมายคุมครองรับรองใหสิทธิแกบุคคล เมื่อใดเกิดการฝาฝนสิทธิจึงเกิดสภาพบังคับแหงสิทธิเกิดขึ้นตามมา บุคคลผูถูกฝาฝนความชอบธรรมคือ ผูทรงสิทธิ สวนบุคคลที่ทําการฝาฝน คือบุคคลซึ่งมีหนาที่ และมีหนาที่จะตองปฏิบัติการชําระหนี้ตอผูทรงสิทธิ เชน สิทธิของเจาหนี้ เจาหนี้คือ ผูทรงสิทธิ ลูกหนี้คือบุคคลซึ่งมีหนาที่ชําระหนี้ 4. หลักเกณฑของการใชสิทธิคือ ตองใชโดยสุจริต (มาตรา 5 ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต) (มาตรา 6 ใหสันนิษฐานไวกอนวา บุคคลทุกคนกระทําการโดยสุจริต) 5. นาย ก ทําสัญญากูเงินนาย ข 10,000 บาท แตเนื่องจากนาย ก ไมรูหนังสือจึงไดลงลายพิมพนิ้วมือแทน การลงลายมือมือชื่อ โดยมีนายนิดอายุ 16 ป และ นางสาวนอย อายุ 16 ป ลงลายมือชื่อเปนพยานรับรองการพิมพ ลายนิ้วมือของนาย ก สัญญากูฉบับนี้ จะมีผลสมบูรณตามกฎหมาย (มาตรา 9 เมื่อมีกิจการอันใดซึ่งกฎหมายบังคับใหทําเปนหนังสือ บุคคลผูจะตองทําหนังสือ ไมจําเปนตองเขียนเองแตหนังสือนั้นตอง ลงลายมือชื่อของบุคคลนั้น ลายพิมพนิ้วมือ แกงได ตราประทับ หรือเครื่องหมายอื่นทํานองเชนวานั้นที่ทําลงในเอกสารแทนการลงลายมือชื่อ หากมีพยานลง ลายมือชื่อรับรองไวดวยสองคนแลวใหถือเสมอกับลงลายมือชื่อ ความในวรรคสอง ไมใชบังคับแกการลงลายพิมพนิ้วมือ แกงได ตราประทับ หรือเครื่องหมายอื่นทํานองเชนวานั้น ซึ่งทําลงในเอกสารที่ ทําตอหนาพนักงานเจาหนาที่) 6. หลักในการตีความเอกสารคือ ตีความใหเปนคุณแกคูกรณีที่ซึ่งจะเปนผูตองเสียในมูลหนี้ (มาตรา 10 เมื่อขอความขอใดขอหนึ่งในเอกสารอาจตีความไดสองนัย นัยไหนจะทําใหเปนผลบังคับไดใหถือเอาตามนัยนั้นดีกวาที่จะ ถือเอานัยที่ไรผล) (มาตรา 11 ในกรณีที่มีขอสงสัยใหตีความไปในทางที่เปนคุณแกคูกรณีฝายหนึ่งซึ่งจะตองเปนผูเสียหายในมูลหนี้นั้น) 7. เหตุสุดวิสัยกอใหเกิดผลในทางกฎหมายคือ เปนเหตุยกเวนความผิดของลูกหนี้ (มาตรา 8 คําวา “เหตุสุดวิสัย” หมายความวาเหตุใดๆอันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจปองกันไดแมทั้งบุคคลผู ประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุนั้น จะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะและภาวะเชนนั้น) 8. ในสัญญากูยืมฉบับหนึ่ง กําหนดวาจะตองเสียดอกเบี้ยในเงินกูยืมนั้น แตคูสัญญามิไดกําหนดอัตราดอกเบี้ย ไว ในกรณีเชนนี้ลูกหนี้จะตองเสียดอกเบี้ยในอัตรา รอยละเจ็ดครึ่งตอป (มาตรา 7 ถาจะตองเสียดอกเบี้ยแกกันและมิไดกําหนดอัตราดอกเบี้ยไวโดยนิติกรรมหรือโดยบทกฎหมายอันชัดแจง ใหใชอัตรารอย ละเจ็ดครึ่งตอป) 9. สิทธิที่เกี่ยวกับสถานะของบุคคล เปนสิทธิตามกฎหมายมหาชน
  • 5. 5 10. บทกฎหมายที่ใชโดยวิธีเทียบเคียงไมไดคือ บทยกเวน หนวยที่ 2 บุคคลธรรมดา 1. บุคคลธรรมดาคือมนุษย ซึ่งสามารถมีสิทธิและใชสิทธิได 2. สภาพบุคคลเมื่อเริ่มคลอด แลวอยูรอดเปนทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตายตามธรรมดา หรือตายโดย ผลของกฎหมายคือสาบสูญ 3. สาบสูญ เปนการสิ้นสภาพบุคคล โดยขอสันนิษฐานของกฎหมาย หากบุคคลไปเสียจากภูมิลําเนา หรือถิ่นที่อยูโดยไมมีใครทราบแนนอนวายังมีชีวิตอยูหรือตายไปแลว เมื่อครบกําหนดระยะเวลา 5 ป หรือ 2 ป ตามกรณีที่กฎหมายกําหนดและมีผูรองขอ เมื่อศาลมีคําสั่งแสดงความสาบสูญแลวใหถือวาบุคคลนั้น ตายเมื่อครบกําหนดระยะเวลาดังกลาวแลว 4. กฎหมายบัญญัติใหบุคคลตองมีชื่อตัว และชื่อสกุล เพื่อเปนสิ่งที่เรียกขานบุคคลและกําหนดใหแน ชัดลงไปอีกวาบุคคลนั้นเปนใคร 5. สถานะของบุคคลเปนสิ่งประกอบสภาพบุคคลที่แสดงฐานะหรือตําแหนงของบุคคล ซึ่งดํารงอยูใน ประเทศชาติและครอบครัวทําใหทราบสิทธิและหนาที่ของบุคคลที่พึงมีตอประเทศชาติและครอบครัว 6. ภูมิลําเนาเปนสิ่งบงชี้วาบุคคลมีที่อยูประจําที่ไหน ทําใหการกําหนดตัวบุคคลสมบูรณยิ่งขึ้น ภูมิลําเนาที่บุคคลอาจเลือกถือไดตามใจสมัครและอาจมีหลายแหง 2.1 สภาพบุคคล 1. หลักเกณฑการเริ่มสภาพบุคคลมี 2 ประการประกอบกันคือ การคลอด และการมีชีวิตรอดเปน ทารก ดังนั้น ทารกในครรภมารดาจึงยังไมมีสภาพบุคคล 2. การคลอดหมายความถึง คลอดเสร็จเรียบรอยบริบูรณ โดยทารกคลอดหมดตัวพนชองคลอด ไมมีสวนหนึ่งสวนใดของรางการเหลือติดอยู 3. การมีชีวิตรอดอยูเปนทารก หมายถึงการที่ทารกมีชีวิตอยูโดยลําพังตนเองแยกตางหากจาก มารดา โดยถือการหายใจเปนสาระสําคัญในการวินิจฉัยการเริ่มมีชีวิต 4. ทารกในครรภมารดาหมายถึง ทารกที่อยูในครรภนับแตวันที่ปฏิสนธิเปนทารกจนถึงวันคลอด การหาวันปฏิสนธินั้นใหคํานวณนับแตวันคลอดยอนหลังขึ้นไป 30 วัน 5. ทารกในครรภมารดาสามารถมีสิทธิตางๆ ไดตอเมื่อมีชีวิตอยูอยูภายหลังคลอด คือ มีสภาพ บุคคลแลว และมีสิทธิยอนหลังขึ้นไปถึงระยะเวลาที่กฎหมายสันนิษฐานวาเริ่มปฏิสนธิ 6. การนับอายุของบุคคลใหเริ่มนับแตวันเกิด ในกรณีที่บุคคลรูเฉพาะเดือนเกิดแตไมรูวันเกิดให นับวันที่หนึ่งแหงเดือนนั้นเปนวันเกิด หากไมรูเดือนและวันเกิด ใหนับวันตนปที่บุคคลนั้นเกิดเปนวันเกิด 7. การตายธรรมดาเปนเหตุแหงการสิ้นสภาพบุคคลโดยถือตามคําวินิจฉัยของแพทยวาระบบ สําคัญของรางกายเพื่อการดํารงชีวิตหยุดทํางานหมด 8. กรณีมี่บุคคลหลายคนประสบเหตุราย รวมกันและตายโดยไมรูลําดับแนนอนแหงการตาย จะ กําหนดวาใครตายกอนตายหลังตองนําสืบถึงขอเท็จจริงเปนรายๆไป หากพิสูจนไมไดตองถือตามขอ สันนิษฐานของกฎหมายวาบุคคลหลายคนนั้นตายพรอมกัน 2.1.1 การเริ่มสภาพบุคคล (1) ประโยชนและความจําเปนที่จะตองรูวามนุษยมีสภาพบุคคลเกิดขึ้นเมื่อใด สิ้นสุดเมื่อใด ก็เพื่อวินิจฉัยปญหาในทางกฎหมายบางประการ เชน (ก) ในทางแพง การรูวาสภาพบุคคลเกิดขึ้นเมื่อใดก็เพื่อวินิจฉัยถึงสิทธิหนาที่ของบุคคล นั้นเอง รวมทั้งสิทธิหนาที่และความชอบที่เกี่ยวโยงและผูกพันถึงบุคคลอื่นดวย เพราะสิทธิของบุคคลจะมี ขึ้นตั้งแตเกิดมารอดมีชีวิตอยู คือ เริ่มมีสภาพบุคคล หรืออาจมียอนขึ้นไปจนถึงวันที่ปฏิสนธิในครรภมารดา เชนสิทธิในการเปนทายาทรับมรดก ตาม ปพพ. มาตรา 1604 สวนการตายทําใหสิทธิและหนาที่ของ บุคคลสิ้นสุดลง และทรัพยมรดกของบุคคลนั้นตกทอดแกทายาท การพิจารณากองมรดก ผูตายมีทรัพยสิน อะไรบาง ผูตายมีสิทธิหนาที่และความรับผิดอยางไร กับพิจารณาหาทายาทรับมรดก กฎหมายใหพิจารณา ในเวลาที่เจามรดกถึงแกความตาย การรูวันเกิดวันตายของบุคคลจึงมีความสําคัญ (ข) ในทางอาญา การวินิจฉัยถึงความรับผิดในทางอาญาของผูกระทําผิดฐานฆาคนตาย ตาม ปอ. มาตรา 288 หรือฐานทําใหแทงลูก ตาม ปอ. มาตรา 301 ถึงมาตรา 305 จําเปนตองวินิจฉัย เสียกอนวาทารกมีสภาพบุคคลหรือไม ทารกตายกอนคลอดหรือตายระหวางคลอด เปนการคลอดออกมา โดยไมมีชีวิตไมมีสภาพบุคคล จึงไมเปนบุคคลที่จะถูกฆาได ความผิดฐานทําใหแทงลูก ตาม ปอ. มาตรา
  • 6. 6 301 ถึง ปอ. มาตรา 305 มีโทษนอยกวาความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนา เมื่อบุคคลตายแลว สิ้นสภาพ บุคคล ก็ไมเปนบุคคลที่จะถูกฆาไดอีก (2) การคลอดเสร็จบริบูรณตามวิชาแพทย แผนปจจุบัน ถือการคลอดเริ่มตนตั้งแตมีการเจ็บ ทองคลอดและสิ้นสุดของการคลอดถือเอาเมื่อเด็กและทารกคลอดแลว รวมทั้งการหดตัวของมดลูกเปนไป โดยเรียบรอย ซึ่งเปนเวลา 15 นาที ถึง 2 ชั่วโมง หลังเด็กคลอด ซึ่งไมเหมือนกันกับ การคลอดแลว ตาม ปพพ. มาตรา 15 นั้น ทารกตองหลุดพนจากชองคลอดของมารดาออกมาหมดตัวกอน โดยไมมีสวน หนึ่งสวนใดของรางกายติดอยูที่ชองคลอด สวนการคลอดของรกหรือการหดตัวของมดลูก ไมมีความหมาย ในการพิจารณาการเริ่มสภาพบุคคลตามกฎหมาย เพราะการพนชองคลอดของทารกหมายถึงการแยกตัว ออกเพื่อมีชีวิตเปนอิสระจากมารดา นักกฎหมายพิจารณาเฉพาะการคลอดที่เกี่ยวกับตัวทารกเทานั้น ไมรวมถึงอาการของการ คลอดในสวนตัวมารดา เพราะกฎหมายมุงที่จะคนหาเวลาเริ่มสภาพบุคคลของทารกเพียงประการเดียว (3) หลักวินิจฉัยการเริ่มมีชีวิตของแพทยและนักกฎหมาย แตกตางกัน และมีผลให หลักเกณฑการเริ่มสภาพบุคคลเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้ นักกฎหมายถือการหายใจเปนหลักฐานแสดงการเริ่มมีชีวิต สวนแพทยถือวานอกจากการ หายใจแลวการเตนของหัวใจ การเตนของสายสะดือ การเคลื่อนไหวรางกาย และหลักฐานอื่นๆก็แสดงวา ทารกมีชีวิตดวย ผลของความเห็นที่แตกตางนี้ ทําใหการวินิจฉัยจุดเริ่มตนของการเริ่มสภาพบุคคลของนัก กฎหมายแตกตางกันเปนสองความเห็น คือ ความเห็นแรก หากยึคดหลักวา การหายใจเปนขอสาระสําคัญของการเริ่มมีชีวิตเพียง ประการเดียว จะถือวาสภาพบุคคลเริ่มเมื่อทารกเริ่มหายใจ โดยเห็นวาการคลอดและการมีชีวิตรอดอยูเปน ทารกเปนหลักเกณฑพิจารณาการเริ่มสภาพบุคคลประกอบกัน ความเห็นที่สอง หากถือตามความเห็นของแพทย เมื่อทารกคลอดหมดตัวพนชองคลอด โดยมีหลักฐานแสดงการมีชีวิตอยางอื่นแลว ถือวาเริ่มสภาพบุคคล จะหารใจหรือไมไมเปนขอสําคัญ และ ยึดหลักวาการคลอดแลวเปนหลักของการเริ่มสภาพบุคคล การอยูรอดเปนพฤติการณประกอบการคลอดวา เปนบุคคลตลอดไป มิใชจุดเริ่มตนของสภาพบุคคล 2.1.2 สิทธิของทารกในครรภมารดา บทบัญญัติมาตรา 15 วรรคสองที่วา ทารกในครรภมารดาก็สามารถมีสิทธิตางๆได หากวา ภายหลังเกิดมารอดอยู หมายความวา โดยหลักแลว บุคคลเทานั้นที่สามารถมีสิทธิหนาที่ตามกฎหมายได แตบทบัญญัติมาตรา 15 วรรคสองนี้เปนขอยกเวน ใหทารกในครรภมารดาแมยังไมมีสภาพบุคคล ก็สามารถมีสิทธิได แตมีเงื่อนไข วา ภายหลังทารกนั้นตองเกิดมารอดอยู ทารกในครรภมารดา ที่เปนบุตรนอกกฎหมายของบิดา ก็สามารถมี สิทธิได หากภายหลังเกิดมารอดอยู และโดยมีพฤติการณที่บิดารับรองทารกในครรภวาเปนบุตรของตน เจตนารมณของกฎหมายมี 2 ประการ คือ (1) เพื่อคุมครองประโยชนของทารกในครรภ มารดา (2) เพื่อขจัดความไมเสมอภาคในเรื่องสิทธิ 2.1.3 การนับอายุบุคคลกรณีไมแนนอนของการเริ่มสภาพบุคคล การกําหนดวันเกิดของบุคคลตอไปนี้ (1) รูแตเพียงวา ก เกิด ป พ.ศ. 2480 >Æ เกิดวันที่ 1 เมษายน 2480 (2) รูแตเพียงวา ข เกิด ป พ.ศ. 2493 >Æ เกิดวันที่ 1 มกราคม 2493 (3) รูเพียงวา ค เกิดเดือนมีนาคม 2500 >Æ เกิดวันที่ 1 มีนาคม 2500 (4) ไมรูวา ง เกิดเมื่อใด >Æ เมื่อเปนเชนนี้ใหสอบสวนปเกิดของ ง กอนวาเกิดในปใด ได ปเกิดแลว นํา ปพพ. มาตรา 16 มาใชหาวันเกิด 2.1.4 การสิ้นสภาพบุคคล (ตาย) 1. หากไมรูลําดับการตายของบุคคลจะเกิดปญหาประการใด เกิดปญหาเมื่อบุคคลสองคนหรือมากกวา ตางเปนทายาทซึ่งกันและกัน ไปเกิดอุบัตุเหตุ หรือเหตุรายรวมกันเปนเหตุใหบุคคลเหลานั้นตาย ไมรูใครตายกอนตายหลัง ทําใหเกิดปญหาเรื่องการรับ มรดก ซึ่งมีหลักเกณฑวา ทรัพยสินของผูตายจะเปนมรดกตกทอดไดก็แตผูที่มีชีวิตอยู ขณะตายมรดกของ ผูตายกอนจึงตกทอดมายังผูตายทีหลัง แลวผานไปยังทายาทของผูตายทีหลังนั้น เมื่อไมรูแนชัดวาใคร ตายกอนตายหลังกฎหมายจึงกําหนดสันนิษฐานไววา ตายพรอมกัน ใครจะเปนทายาทไมได และตางไมมี สิทธิรับมรดกซึ่งกันและกัน 2. คําวา “เหตุอันตรายรวมกัน” นั้นหมายความวา
  • 7. 7 เหตุภยันตรายรวมกัน หมายความวาเหตุภยันตรายเดียวกันที่บุคคลประสบดวยกันในคราว เดียวกัน เชนบุคคลหลายคนโดยสารไปในเครื่องบินลําเดียวกัน แลวเครื่องบินตก หรือโดยสารเครื่องบินไป คนละลําแลวเครื่องบินสองลําเกิดชนกันก็ได แตถาโดยสารเครื่องบินไปคนละลํา แลวเครื่องบินทั้งสองลํา ตางก็เกิดอุบัติเหตุตกเหมือนกัน เชนนี้ ไมถือเปนเหตุภยันตรายรวมกัน 3. ก ปวยเปนอัมพาตเดินไมได สวน ข เปนนักกีฬาวายน้ําทีมชาติ โดยสารเรือออกจาก กรุงเทพฯ ไปสิงคโปรดวยกัน เรือโดนมรสุมจม ตอมามีผูพบศพ ก และ ข ที่ชายฝง เชนนี้ ก และ ข บุคคล ใดจะตายกอนหลัง กฎหมายถือวา ก และ ข ตายพรอมกัน แมขอเท็จจริง ก นาจะตายกอน หากเปนการพน วิสัยที่จะพิสูจนไดวา ใครตายกอนตายหลัง 2.2 สาบสูญ 1. ถาบุคคลใดไปเสียจากภูมิลําเนาและไมมีใครรูวาบุคคลนั้นมีชีวิตอยูหรือไม โดยที่บุคคลนั้น ไมไดตั้งตัวแทนในการจัดการทรัพยสินไว ผูมีสวนไดเสียหรือพนักงานอัยการสามารถรองขอตอศาลจัดการ ทรัพยสินของผูไมอยูไปพลางกอนตามที่จําเปนนั้นได 2. ถาผูไมอยูไปจากภูมิลําเนาเกินกวา 1 ปโดยไมมีผูรับขาวหรือพบเห็น เมื่อผูมีสวนไดเสียหรือ พนักงานอัยการรองขอ ศาลจะตั้งผูจัดการทรัพยสินของผูไมอยูนั้นได 3. ผูไมอยูอาจตั้งตัวแทนรับมอบอํานาจทั่วไป หรือผูรับมอบอํานาจเฉพาะการไวก็ได 4. ผูจัดการทรัพยสินที่ศาลตั้งมีอํานาจหนาที่อยางเดียวกับตัวแทนผูรับมอบอํานาจทั่วไป 5. สาบสูญเปนเหตุแหงการสิ้นสภาพบุคคลโดยกฎหมายใหสันนิษฐานวาบุคคลสาบสูญนั้นถึงแก ความตาย 6. สาบสูญ คือ สภาพการณที่บุคคลไปจากที่อยู โดยไมรูแนนอนวายังมีชีวิตอยูหรือตายแลว หากหายไปนาน 5 ป ในกรณีธรรมดา หรือ 2 ป ในกรณีพิเศษ เมื่อผูมีสวนไดเสียหรือพนักงานอัยการรอง ขอ ศาลจะสั่งใหบุคคลผูไมอยูนั้นเปนคนสาบสูญ 7. บุคคลที่ศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญใหถือวาตายเมื่อครบกําหนดระยะเวลาดังที่กฎหมายกําหนด นั้น 8. หากพิสูจนไดวาคนสาบสูญยังมีชีวิตอยู หรือตายในเวลาอื่นผิดจากเวลาที่กฎหมายกําหนด ศาลสั่งถอนคําสั่งใหเปนคนสาบสูญนั้นได เมื่อคนสาบสูญนั้นเอง ผูมีสวนไดเสีย หรือพนักงานอัยการรอง ขอตอศาล แตการถอนคําสั่งนั้นยอมไมกระทบกระเทือนถึงความสมบูรณแหงการทั้งหลายอันไดทําไปโดย สุจริตในระหวางที่ศาลมีคําสั่งใหเปนคนสาบสูญ 2.2.1 ผูไมอยูและผูจัดการทรัพยสินของผูไมอยู ก. หายไปจากที่อยูตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2500 เขียนจดหมายลงวันที่ 5 มีนาคม 2505 มาถึงญาตพี่นองสงขาวคราวใหทราบ จดหมายถึงวันที่ 10 มีนาคม 2505 ตอมา วันที่ 10 เมษายน 2510 มีผูพบเห็น ก. ที่จังหวัดภูเก็ต แลวไมมีใครทราบขาวคราวของ ก. อีกเลยวาเปน ตายรายดีอยางไร จนกระทั่งถึงปจจุบันนี้ เชนนี้ สภาพการณการเปนผูไมอยูของ ก. เริ่มและ สิ้นสุดเมื่อใด เริ่มเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2510 แตระยะเวลาการเปนผูไมอยู คงมีเรื่อยไปไมสิ้นสุด เพราะไมมีเหตุสิ้นสุดคือ ก. ไมไดกลับมา ไมปรากฏแนชัดวา ก. ตายแลว และไมมีผูใดรองขอใหศาลสั่งวา ก. เปนคนสาบสูญ หลักเกณฑการรองขอเขาจัดการทรัพยสินของผูไมอยูมีประการใดบาง และผู รองมีสิทธิขอจัดการไดเพียงใด พิจารณาตาม ปพพ. มาตรา 48 คือ หลักเกณฑ (1) ผูไมอยูตองมีสภาพการณเปนผูใหญ คือหายไปจากที่อยูไมรูวามีชีวิตอยูหรือตายแลว (2) ไมไดตั้งตัวแทนมอบอํานาจทั่วไปแลว และไดบัญญัติไดบัญญัติใหผูมีสวนไดเสีย และพนักงานอัยการเปนผูรองขอ 2.2.2 การจัดการทรัพยสินของผูไมอยูโดยที่ศาลสั่ง อํานาจของผูจัดการทรัพยของผูไมอยูที่ศาลตั้งมีประการใดบาง ผูจัดการทรัพยสินตาม ปพพ. มาตรา 54 ใหผูจัดการมีอํานาจจัดการมีอํานาจจัดการอยาง ตัวแทนรับมอบอํานาจทั่วไปคือทํากิจการแทนผูไมอยูได ยกเวนตามขอหาม 6 ประการตามมาตรา 801 ซึ่ง จะตองขออนุญาตศาลกอนจึงจะทําได
  • 8. 8 2.2.3 การจัดการทรัพยสินของผูไมอยูโดยบุคคลผูไมอยูตั้ง ตัวแทนมอบอํานาจทั่วไปที่ผูไมอยูแตงตั้งไวมีอํานาจจัดการทรัพยสิน เชนเดียวกับตัวแทนมอบอํานาจทั่วไปตามกฎหมายลักษณะตัวแทนหรือไม มีอํานาจเชนเดียวกัน เพราะ ปพพ. มาตรา 60 ใหนําบทบัญญัติกฎหมายลักษณะตัวแทน มาใชบังคับในเรื่องการจัดการทรัพยสินของผูไมอยู เพียงที่ไมขัดแยงกับกฎหมายเรื่องบุคคล เวนแตขอ หาม 6 ประการ ตาม ปพพ. มาตรตา 801 หากจําเปนตองกระทํา มีกฎหมาย มาตรา 51 บัญญัติใหขอ อนุญาตศาล เพราะไมมีตัวการจะใหคําอนุญาตได 2.2.4 สาบสูญ มีหลักสําคัญประการใดบางที่ศาลจะมีคําสั่งใหบุคคลเปนคนสาบสูญ การที่ศาลจะสั่งใหบุคคลเปนคนสาบสูญไดตามที่มีผูรองขอ ตองพิจารณาไดความ 2 ประการ คือ (1) บุคคลไดหายไปจากที่อยู โดยไมมีใครรูแนชัดวา ยังมีชีวิตอยูหรือตายแลว (2) มีกําหนด 5 ป ในกรณีธรรมดา และ 2 ป ในกรณีพิเศษ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2515 ก. เดินทางทองเที่ยวทางทะเลกับเพื่อน แลวพัด ตกเรือจมหายลงไปในน้ํา คนหาศพไมพบจะถือวา ก. จมน้ําตายในวันที่ 10 พฤษภาคม 25015 ไดหรือไมเพราะเหตุใด จะถือวา ก. จมน้ําตายเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2515 ไมไดเพราะไมพบศพ จึงไมมี หลักฐานแนชัดวา ก. ตายแลว ตองนําบทบัญญัติเรื่องสาบสูญมาใชบังคับ และเมื่อศาลมีคําสั่งแลวจึงถือวา ก. ตายเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2518 ก. ไปรบในสมรภูมิสงครามเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2500 และหายไประหวาง สงคราม สงครามสงบลงเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2502 ตอมา ก. เขียนจดหมายลงวันที่ 5 มีนาคม 2503 สงขาวใหญาติพี่นองทราบวาแตงงานแลวกับสาวชาวเวียดนาม จดหมายถึงวันที่ 10 มีนาคม 2503 หลังจากนั้นไมมีใครทราบขาวคราวของ ก. อีกเลย ดังนี้ภรรยาของ ก. จะรอง ขอให ก. เปนคนสาบสูญไดเร็วที่สุดเมื่อวันที่เทาใด 10 มีนาคม 2508 เจาหนี้มีสิทธิรองขอใหลูกหนี้ของตนเปนคนสาบสูญไดหรือไม เพราะเหตุใด เจาหนี้ไมมีสิทธิรองขอใหลูกหนี้ของตนเปนคนสาบสูญ เพราะไมใชผูมีสวนไดเสีย การรองขอใหบุคคลเปนคนสาบสูญ จะรองขอ ณ ศาลใด ศาลจังหวัดซึ่งบุคคลนั้นเคยมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลกอนที่จะจากไป 2.2.5 ผลของการสาบสูญ คําสั่งศาลใหบุคคลเปนคนสาบสูญ มีผลกระทบถึงการสมรสหรือไม เพียงใด สาบสูญไมเปนเหตุใหขาดการสมรส แตเปนเหตุใหฟองหยาไดเทานั้น 2.2.6 การถอนคําสั่งแสดงความสาบสูญ กรณีใดบางที่จะรองขอใหศาลถอนคําสั่งสาบสูญได และผลของกฎหมายของ การถอนคําสั่งแสดงสาบสูญนั้นมีประการใดบาง กรณีที่รองขอใหศาลถอนคําสั่งแสดงสาบสูญ มี 2 ประการคือ (1) ผูสาบสูญยังมีชีวิตอยู (2) ผูสาบสูญตายในเวลาอื่นผิดไปจากเวลา 5 ป หรือ 2 ป ตามที่กฎหมายสันนิษฐานไว 2.3 ชื่อและสถานะของบุคคล 1. ชื่อคือสิ่งที่ใชเรียกขานเพื่อจําแนกตัวบุคคลทั้งนี้เพื่อประโยชนแกการใชสิทธิและปฏิบัติหนาที่ 2. กฎหมายบัญญัติใหบุคคลทุกคนตองมีชื่อตัวและชื่อสกุล แตบุคคลอาจมีชื่ออื่นๆ ไดอีก เชน ชื่อรอง ชื่อฉายา ชื่อแฝงและชื่อบรรดาศักดิ์ 3. ชื่ออื่นๆนั้น บุคคลอาจตั้งขึ้นเองหรือผูอื่นตั้งให แตชื่อสกุลเปนชื่อที่บุตรไดรับสืบเนื่องมาจาก บิดา หรือภริยาไดรับสืบเนื่องมาจากสามี ถาเด็กไมปรากฏบิดามารดา ไมอาจไดชื่อสกุลจากบิดามารดาได ก็ตองตั้งชื่อสกุลใหใหม 4. บุคคลอาจเปลี่ยนชื่อตัวและชื่อรองไดตามใจสมัคร แตชื่อสกุลนั้น บุคคลหนึ่งบุคคลใดในวงศ สกุลหามีสิทธิจะเปลี่ยนแปลงตามใจชอบไดไม จะเปลี่ยนไดก็แตโดยตั้งชื่อสกุลขึ้นใหม หรือเปลี่ยนแปลง
  • 9. 9 โดยผลของกฎหมายประการอื่น เปนตนวา หญิงเปลี่ยนไปใชนามสกุลของสามี ฯลฯ กรณีเหลานี้เปนเรื่อง เฉพาะตัวของบุคคลนั้น การเปลี่ยนชื่อสกุลใหมไมมีผลใชชื่อสกุลเดิมตองเปลี่ยนแปลงไปดวย 5. กฎหมายใหความคุมครองทั้งชื่อบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ในกรณีที่มีผูโตแยงการใชชื่อ และกรณีผูอื่นใชชื่อโดยไมมีอํานาจ โดยเจาของชื่อมีสิทธิใหระงับความเสียหาย หากไมเปนผล มีสิทธิรอง ขอใหศาลสั่งหาม และยังมีสิทธิเรียกคาเสียหายไดดวย 6. สถานะของบุคคลเปนสิ่งประกอบสภาพบุคคลที่ชี้บงฐานะหรือตําแหนงของบุคคล ในการใช สิทธิและปฏิบัติหนาที่ เชน เปนชายหญิง ผูเยาว ผูบรรลุนิติภาวะ บิดามารดา บุตร หรือสามี ภรรยาเปนตน 7. บุคคลไดสถานะตั้งแตเกิด เพราะมีสิทธิหนาที่ตั้งแตเริ่มสภาพบุคคลหรืออาจกอใหเกิดขึ้น ภายหลัง เนื่องจากเปลี่ยนแปลงสถานะใหม เชน การสมรส การหยา เปนตน 8. สถานะของบุคคลบางประการตองจดทะเบียนการกอหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อใหมีผลสมบูรณ ตามกฎหมาย 9. สถานะของบุคคลที่กฎหมายบังคับใหจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2499 ไดแก การเกิด การตาย และตาม ปพพ. คือ การจดทะเบียนครอบครัว ไดแก การสมรส การหยา การ รับรองบุตร การรับบุตรบุญธรรม และการเลิกรับบุตลบุญธรรม 2.3.1 ประเภทของชื่อบุคคล ชื่อบุคคลมีกี่ประเภท แตละประเภทไดแกชื่ออะไรบาง มี 3 ประเภท คือ (1) ชื่อที่กฎหมายบังคับใหมีประจําตัวบุคคล ไดแก ชื่อตัวและชื่อสกุล (2) ชื่อที่บุคคลอาจตั้งขึ้นไดอีก ไดแกชื่อรอง ชื่อฉายา และชื่อแฝง (3) ชื่อบรรดาศักดิ์ ไดแกชื่อตามราช ทินนามที่พระมหากษัตริยตั้งให การไดมาซึ่งชื่อตัวและชื่อสกุลแตกตางกันหรือไม แตกตางกัน คือ ชื่อตัว ไดมาตั้งแตเกิดโดยตั้งขึ้นใหม ชื่อสกุล ไดสืบสกุลตอเนื่องมาจาก บิดา หรือตั้งใหม หรือกรณีไดชื่อสกุลจากสามี จําเปนหรือไมที่เด็กไมปรากฏบิดามารดาจะตองมีชื่อสกุลหากจําเปน วิธีการใดจะ หาชื่อสกุลใหเด็ก มีความจําเปน เพราะกฎหมายบังคับ เมื่อไมมีชื่อสกุลของบิดามารดา ก็ตองตั้งชื่อสกุลขึ้น ใหมใหเด็กนั้น ชื่อบุคคลมีลักษณะสําคัญประการใด ชื่อสกุลมีลักษณะสําคัญคือ (1) จําเปนตองมีประจําตัวบุคคล (2) ตองแนนอนคงที่ (3) ไมอาจไดมาหรือสูญเสียไปโดยอายุความ (4) ไมอาจจําหนายใหกันได 2.3.2 การเปลี่ยนชื่อบุคคลและการคุมครองชื่อบุคคล กรณีที่เปนเหตุแหงการโตแยงชื่อมีประการใดบาง และกฎหมายใหความคุมครอง อยางไร การโตแยงเรื่องชื่อมี 2 กรณี คือ (1) มีผูโตแยงการใชชื่อของเรา (2) ผูอื่นเอาชื่อเราไป ใชโดยไมมีอํานาจ และกฎหมายใหความคุมครอง 3 ประการ คือ (ก) ใหระงับความเสียหาย (ข) ขอใหศาล สั่งหาม (ค) เรียกคาเสียหายได 2.3.3 สถานะและการจดทะเบียนสถานะบุคคล สถานะของบุคคลคืออะไร ไดมาจากไหน และเหตุใดบุคคลตองมีสถานะ สถานะของบุคคลคือ ฐานะหรือตําแหนงซึ่งบุคคลดํารงอยูในประเทศชาติและครอบครัว บุคคลไดสถานะตั้งแตเกิดมีสภาพบุคคล และอาจไดมาโดยการกอขึ้นเองอีก เพราะเปลี่ยนสถานะใหม เหตุ ที่ตองมีสถานะเปนสิ่งที่บอกใหทราบถึงความแตกตางและความสามารถของบุคคล ในการใชสิทธิและ ปฏิบัติหนาที่ 2.4 ภูมิลําเนา 1. ภูมิลําเนาเปนที่กฎหมายกําหนดใหมีประกอบตัวบุคคล เพื่อชี้บงใหเปนที่รูกันทั่วไปวาเขามีที่ อยูเปนประจําที่ไหน ดังนั้นจึงอาจใหความหมายไดอีกนัยหนึ่งวา ภูมิลําเนาคือที่อยูตามกฎหมายของบุคคล
  • 10. 10 2. การรูภูมิลําเนามีประโยชนเมื่อบุคคลตองการติดตอสัมพันธกัน โดยเฉพาะในทางกฎหมายที่ เกี่ยวกับการฟองคดี การสงคําคูความหรือเอกสาร การชําระหนี้หรือสาบสูญ ทั้งยังเปนประโยชนตอรัฐใน การจัดระเบียบการปกครอง และบังคับใหเปนไปตามกฎหมายอีกดวย 3. กฎหมายบัญญัติเปนหลักทั่วไปกําหนดใหที่อยูซึ่งเปนแหลงสําคัญเปนภูมิลําเนาของบุคคล แตหลักทั่วไปนี้ไมอาจครอบคลุมไป กําหนดภูมิลําเนาของบุคคลไดทุกประเภท จึงมีบทบัญญัติขยายความ หลักเกณฑทั่วไป หรือลดหยอนหลักเกณฑทั่วไปลงมา เพื่อคนหาภูมิลําเนาของบุคคลทุกคนใหจนได กลาวคือ บุคคลมีที่อยูหลายแหง ใหถือแหงสําคัญเปนภูมิลําเนา ถาสําคัญเทากัน แตละแหงเปนภูมิลําเนา ถาไมมีที่อยูแหลงสําคัญเลย ใหถือที่อยูเปนภูมิลําเนา และทายที่สุดถาไมมีที่อยูแนนอนเลย ใหถือวาที่นั้น เปนภูมิลําเนา 4. จากหลักเกณฑที่วาบุคคลมีที่อยูหลายแหง ใหถือแหงสําคัญเปนภูมิลําเนานั้น หมายความวา บุคคลอาจเลือกถือภูมิลําเนาไดโดยใจสมัคร เพราะเขาจะเลือกเอาที่อยูใดเปนแหลงสําคัญก็ได สวน หลักเกณฑขอที่วา บุคคลมีที่อยูแหลงสําคัญหลายแหง ใหถือวาแตละแหงเปนภูมิลําเนานั้น มีความหมาย อยูในตัววา บุคคลอาจมีภูมิลําเนาไดหลายแหง 5. แมหลักเกณฑมีวา บุคคลอาจเลือกถือภูมิลําเนาไดตามใจสมัคร แตมีขอยกเวนสําหรับบุคคล บางประเภทที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนาใหเลย ไดแก ผูเยาวและคนไรความสามารถ กฎหมายใหถือ ภูมิลําเนาของผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูอนุบาล ขาราชการใหมีภูมิลําเนาอยู ณ ที่ทํางานประจํา แต ขาราชการอาจถือภูมิลําเนาเดิมอีกแหงก็ได คนที่ถูกจําคุก กฎหมายใหถือเอาเรือนจํา หรือทัณฑสถานที่ ถูกจําคุกอยูเปนภูมิลําเนาจนกวาจะไดรับการปลอยตัว สวนสามีและภรรยา กฎหมายใหถือถิ่นที่อยูของสามี และภรรยาอยูกินดวยกันฉันสามีภริยาเปนภูมิลําเนา 6. นอกจากภูมิลําเนาธรรมดาแลว บุคคลอาจเลือกเอาถิ่นที่ใดที่หนึ่งเปนภูมิลําเนาเฉพาะการเพื่อ ทํากิจการอยางใดอยางหนึ่งอีกก็ได 7. ภูมิลําเนานั้น อาจเปลี่ยนแปลงไปโดย (1) ยายที่อยู และ (2) มีเจตนาจงใจจะเปลี่ยน ภูมิลําเนาเปนหลักเกณฑ 2 ประการประกอบกัน หากพฤติการณเขาหลักเกณฑเพียงขอเดียวไมถือวา ภูมิลําเนาไดเปลี่ยนแปลงไป 2.4.1 ประโยชนของภูมิลําเนา ภูมิลําเนาของบุคคลมีประโยชนในทางกฎหมายเอกชนอยางไร มีประโยชนคือ (1) การฟองคดี ทําใหทราบเขตอํานาจศาล (2) การสงคําคูความหรือ เอกสาร สง ณ ภูมิลําเนา (3) การชําระหนี้ ชําระ ณ ภูมิลําเนาของเจาหนี้ (4) การสาบสูญ ถือหลักการไป จากภูมิลําเนา 2.4.2 การกําหนดภูมิลําเนา คําวาบุคคลอาจมีภูมิลําเนาไดหลายแหง นั้น หมายความวาอยางไร ตาม ปพพ. มาตรา 44 คือผูเยาวใชภูมิลําเนาของผูแทนโดยชอบธรรม กรณีบิดามารดา ของผูเยาวแยกกันอยูใหถือภูมิลําเนาของบิดาหรือมารดาตนอยูดวย ปพพ. มาตรา 45 ภูมิลําเนาของคนไร ความสามารถไดแก ภูมิลําเนาของผูอนุบาล ก. มีบุตรภรรยาและบานพักอยูที่กรุงเทพฯ แตมีอาชีพเปนเซลแมน เดินเรขาย สินคาไปในที่ตางๆ ไมมีสํานักทําการงานแนนอน เดือนหนึ่งหรือสองเดือนจึงกลับบานและพักอยู 2-3 วัน ก็ออกเดินทางคาขายตอ ดังนี้ ภูมิลําเนาของ ก. จะอยูที่ใด กรุงเทพฯ 2.4.3 บุคคลที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนาให ผูเยาวเปนคนไรความสามารถเลือกถือภูมิลําเนาของตนไดตามใจสมัครหรือไม เพราะเหตุใด เลือกภูมิลําเนาเองไมได เพราะผูเยาวและคนไรความสามารถเปนผูหยอนความสามารถ ถูกตัดทอนสิทธิในการทํานิติกรรม หากผูเยาวจะทํานิติกรรม ตองไดรับความยินยอมหรือใหผูแทนโดยชอบ ธรรมทําแทน สวนคนไรความสามารถทํานิติกรรมไมไดเลย หากทําจะเปนโมฆียะ ตองใหผูอนุบาลทําแทน ดวยเหตุนี้ กฎหมายจึงกําหนดใหถือภูมิลําเนาของผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูอนุบาล ทั้งนี้ เพื่อความ สะดวกและเหมาะสมในการควบคุมดูแลและใชอํานาจปกครอง ก. รับราชการประจําอยูในกรุงเทพฯ แตทางราชการสงไปชวยราชการที่จังหวัด เชียงใหมเปนเวลา 1 ป ดังนี้ ถือวา ก. มีภูมิลําเนาที่ไหนเพราสะเหตุใด