SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
กฎหมายในชีวิตประจาวัน
การบรรยายครั้งที่ 12
บุคคล
• บุคคลธรรมดา สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก
และสิ้นสุดลงเมื่อตาย
• นิติบุคคล เป็นบุคคลตามกฎหมาย
– ทบวงทางการเมือง กระทรวง ทบวง กรม มหาวิทยาลัย
– วัดในพระพุทธศาสนา
– ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียน บริษัท สมาคม มูลนิธิ
ผู้เยาว์
• บุคคลจะบรรลุนิติภาวะ เมื่อ
1. เมื่อมีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์
2. เมื่อทาการสมรส
• การจากัดความสามารถของผู้เยาว์ ผู้เยาว์จะทานิติกรรมใดๆ ต้องได้รับ
ความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม ไม่เช่นนั้น นิติกรรมนั้นจะเป็นโมฆียะ
เว้นแต่
1. ทาพินัยกรรม เมื่ออายุ 15 ปี
2. นิติกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เยาว์ฝ่ายเดียว
3. นิติกรรมที่ต้องทาเองเฉพาะตัว
4. นิติกรรมที่สมควรแก่ฐานานุรูป
5. เมื่อผู้เยาว์ได้รับอนุญาตให้ประกอบการค้า
สัญญาซื้อขาย
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาที่ผู้ซื้อตกลงจะให้ราคาแก่ผู้ขาย โดยผู้ขายตกลงจะโอนกรรมสิทธิ์
ในทรัพย์นั้นให้ผู้ซื้อ กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อนับแต่เวลาทาสัญญาซื้อขาย
• การใช้ราคาต้องชาระเป็นเงินเท่านั้น
• สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ราคา 20,000 บาทขึ้นไปต้องมีหลักฐานเป็น
หนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้องรับผิดมิฉะนั้นฟ้ องร้องไม่ได้
• สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษต้องทาเป็น
หนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงาน มิฉะนั้นเป็นโมฆะ
สัญญากู้ยืมเงิน
• หลัก ในการกู้ยืมเงินจานวนเกินกว่า 2,000 บาท ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
ลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ มิฉะนั้นฟ้ องร้องไม่ได้ หลักฐานนั้นมีเมื่อไหร่ก็
ได้ก่อนฟ้ องคดี
• การคิดดอกเบี้ย
– ดอกเบี้ยเป็นเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้
– คิดดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละ 15 ต่อปีไม่ได้ ไม่เช่นนั้นเป็นโมฆะ
– หากกาหนดให้คิดดอกเบี้ยแต่ไม่ได้มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ย ให้คิด
ร้อยละ 7.5 ต่อปี (ม.7)
เช่าทรัพย์
คือ สัญญาซึ่งผู้ให้เช่า ตกลงให้ผู้เช่า ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินในระยะเวลามี
จากัด และผู้เช่าตกลงให้ค่าเช่า
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาต่างตอบแทน
• อสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ก็ได้
• การกาหนดค่าเช่าเป็นเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้
• สิทธิในการใช้หรือรับประโยชน์ในทรัพย์ที่เช่าต้องมีการกาหนดระยะเวลาอันเป็นการจากัด
• ไม่สามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นได้ไม่ว่าจะเช่านานแต่ไหน
แบบ
- โดยทั่วไปไม่มีแบบ เว้นแต่
- เช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้องรับผิด
ไม่เช่นนั้นฟ้ องร้องไม่ได้
- เช่าอสังหาริมทรัพย์ เกิน 3 ปี ต้องทาเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงาน โมฆะ
เช่าซื้อ
คือ สัญญาซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่า และให้คามั่นว่าจะขายหรือจะ
ให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นของผู้เช่า โดยมีเงื่อนไขที่ผู้เช่าได้ให้เงินครบตามที่
กาหนด
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาต่างตอบแทน
• อสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ก็ได้
• ค่าเช่าซื้อต้องเป็นเงินเท่านั้น
• นอกจากมีสิทธิครอบครองแล้วอาจได้กรรมสิทธิ์หากชาระเงินครบตามสัญญา
แบบ
• ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สัญญาทั้งสองฝ่าย ไม่เช่นนั้นสัญญาตกเป็น
โมฆะ
ความแตกต่างระหว่าง เช่าทรัพย์- เช่าซื้อ
เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
ไม่สามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นได้ไม่
ว่านานแต่ไหน
ได้กรรมสิทธิ์หากชาระเงินครบตาม
สัญญา
การกาหนดค่าเช่าเป็นเงินหรือทรัพย์สิน
อย่างอื่นก็ได้
ค่าเช่าซื้อต้องเป็นเงินเท่านั้น
เช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี ต้องมี
หลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้อง
รับผิด ไม่เช่นนั้นฟ้ องร้องไม่ได้
เช่าอสังหาริมทรัพย์ เกิน 3 ปี ต้องทาเป็น
หนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่
ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อทั้งสอง
ฝ่าย ไม่เช่นนั้นสัญญาตกเป็นโมฆะ
จานอง
คือ สัญญาซึ่งผู้จานองเอาทรัพย์สินตราไว้แก่ผู้รับจานอง เป็นประกันการ
ชาระหนี้โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินให้ผู้รับจานอง
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาอุปกรณ์
• ทรัพย์ที่จานอง เป็นอสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ หรือ
สังหาริมทรัพย์ที่กฎหมายกาหนดให้มีการจดทะเบียน
• ผู้จานองไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สิน ยังคงมีกรรมสิทธิ์อยู่
• ผู้จานองในสัญญาจานองจะเป็นตัวลูกหนี้เองหรือบุคคลภายนอกก็ได้
• ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ
การบังคับชาระหนี้ เจ้าหนี้ต้องฟ้ องร้องเพื่อบังคับจานอง โดยนาทรัพย์สิน
นั้นไปขายทอดตลาด
จานา
คือ สัญญาซึ่งผู้จานา ส่งมอบสังหาริมทรัพย์ให้ผู้รับจานาเพื่อเป็น
ประกันการชาระหนี้
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาอุปกรณ์
• ทรัพย์ที่จานา เป็นสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
• ผู้จานาต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาให้แก่ผู้รับจานา
• ผู้จานาในสัญญาจานาจะเป็นตัวลูกหนี้เองหรือบุคคลภายนอกก็ได้
การบังคับชาระหนี้ บังคับจานาได้เลยไม่ต้องฟ้ องร้อง โดยเอา
ทรัพย์สินไปขายทอดตลาดได้เองไม่ต้องอาศัยคาสั่งศาล
ค้าประกัน
คือ สัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้ค้าประกัน ผูกพันตนต่อ
เจ้าหนี้คนหนึ่งเพื่อชาระหนี้เมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้
สาระสาคัญ
• เป็นสัญญาอุปกรณ์
• ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ค้าประกันมิฉะนั้นฟ้ องร้องบังคับคดีไม่ได้
การบังคับชาระหนี้ถ้าลูกหนี้ไม่ชาระหนี้เจ้าหนี้ชอบที่จะเรียกให้ผู้ค้า
ประกันชาระหนี้ได้เมื่อนั้น แต่ผู้ค้าประกันเกี่ยงได้ หากพิสูจน์ได้ว่าลูกหนี้ยังมี
ทางที่จะชาระได้ และการบังคับชาระจากลูกหนี้เป็นการไม่ยาก
- เมื่อผู้ค้าประกันชาระหนี้แทนลูกหนี้แล้วสามารถไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ได้
- ข้อตกลงที่ให้ผู้ค้าประกันต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมเป็นโมฆะ
ค้าประกัน- จานอง-จานา
ค้าประกัน จานอง จานา
ทรัพย์สินทุกอย่าง อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์
ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ ส่งมอบทรัพย์ที่จานา
บุคคลภายนอก ลูกหนี้/บุคคลภายนอก ลูกหนี้/บุคคลภายนอก
เรียกให้ผู้ค้าฯ ชาระแทนได้ ฟ้ องร้องบังคับจานอง ขาย
ทอดตลาด
บังคับจานาได้เลย ขาย
ทอดตลาด
ทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อ
ผู้ค้าฯ =ฟ้ องไม่ได้
ทาเป็นหนังสือ+จด
ทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่= โมฆะ
ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้
ได้
ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้
ไม่ได้
ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้
ไม่ได้
ทายาทโดยธรรมตาม ม.1629
1 ผู้สืบสันดาน
2 บิดามารดา
3 พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
4 พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
5 ปู่ ย่า ตา ยาย
6 ลุง ป้ า น้า อา
ทายาทโดยธรรมภายใต้บทบัญญัติพิเศษ แห่ง ม.1635
คู่สมรส
หลัก ญาติสนิทตัดญาติห่าง
หลัก ทายาทในชั้นเดียวกันได้ส่วนแบ่งเท่ากัน
หลักการได้รับส่วนแบ่งของคู่สมรส
• หากมีทายาทชั้นผู้สืบสันดาน คู่สมรสได้ส่วนแบ่งเท่าชั้น
ผู้สืบสันดาน
• หากทายาทที่มีเป็นชั้นที่ 2 หรือ ชั้นที่ 3 คู่สมรสได้ส่วนแบ่งกึ่ง
หนึ่ง
• หากทายาทที่มีเป็นชั้นที่ 4 ชั้นที่ 5 หรือชั้นที่ 6 คู่สมรสได้ส่วน
แบ่งสองในสาม
ข้อสอบ
• นายชีพ เป็นบุตรโดยชอบของนายเสือกับนางสิงห์ ได้สมรสกับนาง
ลั่นทม มีบุตรด้วยกัน 2 คน คือ นายเอื้อกับนางสาวเกนหลง ต่อมานาง
ลั่นทมเสียชีวิต นายชีพจึงได้ไปอยู่กินกับนางรสสุคนธ์โดยไม่ได้จด
ทะเบียนสมรส และมีบุตรด้วยกันหนึ่งคน คือ นายเขมชาติ โดยนายชีพ
ได้ส่งเสียเลี้ยงดู ให้ใช้นามสกุล แต่ไม่ได้จดทะเบียนรับรองบุตร ต่อมา
นายชีพเสียชีวิตปรากฏว่ามีทรัพย์มรดก 6,000,000 บาท ทรัพย์ดังกล่าว
จะตกเป็นของใครบ้าง และได้จานวนเท่าไหร่ จงอธิบาย

More Related Content

What's hot

กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใสDbeat Dong
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมีnn ning
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายChi Wasana
 
ข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาPhichak Penpattanakul
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57AJ Por
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์Jitjaree Lertwilaiwittaya
 

What's hot (20)

ภาษาไทย ม.6
ภาษาไทย ม.6ภาษาไทย ม.6
ภาษาไทย ม.6
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ข้อสอบเนติ ภาค 2 สมัย 63 กลุ่มกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
 
ข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษา
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
ภูมิแพ้
ภูมิแพ้ภูมิแพ้
ภูมิแพ้
 

Viewers also liked

กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันAJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57AJ Por
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนAJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57AJ Por
 
Computational Geometry Laboratory
Computational Geometry LaboratoryComputational Geometry Laboratory
Computational Geometry LaboratoryCelso Furukawa
 
Ventricular Assist Device
Ventricular Assist DeviceVentricular Assist Device
Ventricular Assist DeviceCelso Furukawa
 
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษาChonnikarn Sangsuwan
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestreaquileoagustin
 
Embedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source MechatronicsEmbedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source MechatronicsCelso Furukawa
 

Viewers also liked (20)

กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
 
Computational Geometry Laboratory
Computational Geometry LaboratoryComputational Geometry Laboratory
Computational Geometry Laboratory
 
Ventricular Assist Device
Ventricular Assist DeviceVentricular Assist Device
Ventricular Assist Device
 
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
Listas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. BimestreListas 2dos. 4to. Bimestre
Listas 2dos. 4to. Bimestre
 
Embedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source MechatronicsEmbedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source Mechatronics
 

กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12

  • 2. บุคคล • บุคคลธรรมดา สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย • นิติบุคคล เป็นบุคคลตามกฎหมาย – ทบวงทางการเมือง กระทรวง ทบวง กรม มหาวิทยาลัย – วัดในพระพุทธศาสนา – ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียน บริษัท สมาคม มูลนิธิ
  • 3. ผู้เยาว์ • บุคคลจะบรรลุนิติภาวะ เมื่อ 1. เมื่อมีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ 2. เมื่อทาการสมรส • การจากัดความสามารถของผู้เยาว์ ผู้เยาว์จะทานิติกรรมใดๆ ต้องได้รับ ความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม ไม่เช่นนั้น นิติกรรมนั้นจะเป็นโมฆียะ เว้นแต่ 1. ทาพินัยกรรม เมื่ออายุ 15 ปี 2. นิติกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เยาว์ฝ่ายเดียว 3. นิติกรรมที่ต้องทาเองเฉพาะตัว 4. นิติกรรมที่สมควรแก่ฐานานุรูป 5. เมื่อผู้เยาว์ได้รับอนุญาตให้ประกอบการค้า
  • 4. สัญญาซื้อขาย สาระสาคัญ • เป็นสัญญาที่ผู้ซื้อตกลงจะให้ราคาแก่ผู้ขาย โดยผู้ขายตกลงจะโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์นั้นให้ผู้ซื้อ กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อนับแต่เวลาทาสัญญาซื้อขาย • การใช้ราคาต้องชาระเป็นเงินเท่านั้น • สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ราคา 20,000 บาทขึ้นไปต้องมีหลักฐานเป็น หนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้องรับผิดมิฉะนั้นฟ้ องร้องไม่ได้ • สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษต้องทาเป็น หนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงาน มิฉะนั้นเป็นโมฆะ
  • 5. สัญญากู้ยืมเงิน • หลัก ในการกู้ยืมเงินจานวนเกินกว่า 2,000 บาท ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ มิฉะนั้นฟ้ องร้องไม่ได้ หลักฐานนั้นมีเมื่อไหร่ก็ ได้ก่อนฟ้ องคดี • การคิดดอกเบี้ย – ดอกเบี้ยเป็นเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้ – คิดดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละ 15 ต่อปีไม่ได้ ไม่เช่นนั้นเป็นโมฆะ – หากกาหนดให้คิดดอกเบี้ยแต่ไม่ได้มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ย ให้คิด ร้อยละ 7.5 ต่อปี (ม.7)
  • 6. เช่าทรัพย์ คือ สัญญาซึ่งผู้ให้เช่า ตกลงให้ผู้เช่า ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินในระยะเวลามี จากัด และผู้เช่าตกลงให้ค่าเช่า สาระสาคัญ • เป็นสัญญาต่างตอบแทน • อสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ก็ได้ • การกาหนดค่าเช่าเป็นเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้ • สิทธิในการใช้หรือรับประโยชน์ในทรัพย์ที่เช่าต้องมีการกาหนดระยะเวลาอันเป็นการจากัด • ไม่สามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นได้ไม่ว่าจะเช่านานแต่ไหน แบบ - โดยทั่วไปไม่มีแบบ เว้นแต่ - เช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้องรับผิด ไม่เช่นนั้นฟ้ องร้องไม่ได้ - เช่าอสังหาริมทรัพย์ เกิน 3 ปี ต้องทาเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงาน โมฆะ
  • 7. เช่าซื้อ คือ สัญญาซึ่งเจ้าของเอาทรัพย์สินออกให้เช่า และให้คามั่นว่าจะขายหรือจะ ให้ทรัพย์สินนั้นตกเป็นของผู้เช่า โดยมีเงื่อนไขที่ผู้เช่าได้ให้เงินครบตามที่ กาหนด สาระสาคัญ • เป็นสัญญาต่างตอบแทน • อสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ก็ได้ • ค่าเช่าซื้อต้องเป็นเงินเท่านั้น • นอกจากมีสิทธิครอบครองแล้วอาจได้กรรมสิทธิ์หากชาระเงินครบตามสัญญา แบบ • ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สัญญาทั้งสองฝ่าย ไม่เช่นนั้นสัญญาตกเป็น โมฆะ
  • 8. ความแตกต่างระหว่าง เช่าทรัพย์- เช่าซื้อ เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ ไม่สามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นได้ไม่ ว่านานแต่ไหน ได้กรรมสิทธิ์หากชาระเงินครบตาม สัญญา การกาหนดค่าเช่าเป็นเงินหรือทรัพย์สิน อย่างอื่นก็ได้ ค่าเช่าซื้อต้องเป็นเงินเท่านั้น เช่าอสังหาริมทรัพย์ไม่เกิน 3 ปี ต้องมี หลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ต้อง รับผิด ไม่เช่นนั้นฟ้ องร้องไม่ได้ เช่าอสังหาริมทรัพย์ เกิน 3 ปี ต้องทาเป็น หนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อทั้งสอง ฝ่าย ไม่เช่นนั้นสัญญาตกเป็นโมฆะ
  • 9. จานอง คือ สัญญาซึ่งผู้จานองเอาทรัพย์สินตราไว้แก่ผู้รับจานอง เป็นประกันการ ชาระหนี้โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินให้ผู้รับจานอง สาระสาคัญ • เป็นสัญญาอุปกรณ์ • ทรัพย์ที่จานอง เป็นอสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ หรือ สังหาริมทรัพย์ที่กฎหมายกาหนดให้มีการจดทะเบียน • ผู้จานองไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สิน ยังคงมีกรรมสิทธิ์อยู่ • ผู้จานองในสัญญาจานองจะเป็นตัวลูกหนี้เองหรือบุคคลภายนอกก็ได้ • ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ การบังคับชาระหนี้ เจ้าหนี้ต้องฟ้ องร้องเพื่อบังคับจานอง โดยนาทรัพย์สิน นั้นไปขายทอดตลาด
  • 10. จานา คือ สัญญาซึ่งผู้จานา ส่งมอบสังหาริมทรัพย์ให้ผู้รับจานาเพื่อเป็น ประกันการชาระหนี้ สาระสาคัญ • เป็นสัญญาอุปกรณ์ • ทรัพย์ที่จานา เป็นสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ • ผู้จานาต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาให้แก่ผู้รับจานา • ผู้จานาในสัญญาจานาจะเป็นตัวลูกหนี้เองหรือบุคคลภายนอกก็ได้ การบังคับชาระหนี้ บังคับจานาได้เลยไม่ต้องฟ้ องร้อง โดยเอา ทรัพย์สินไปขายทอดตลาดได้เองไม่ต้องอาศัยคาสั่งศาล
  • 11. ค้าประกัน คือ สัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้ค้าประกัน ผูกพันตนต่อ เจ้าหนี้คนหนึ่งเพื่อชาระหนี้เมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้ สาระสาคัญ • เป็นสัญญาอุปกรณ์ • ต้องทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ค้าประกันมิฉะนั้นฟ้ องร้องบังคับคดีไม่ได้ การบังคับชาระหนี้ถ้าลูกหนี้ไม่ชาระหนี้เจ้าหนี้ชอบที่จะเรียกให้ผู้ค้า ประกันชาระหนี้ได้เมื่อนั้น แต่ผู้ค้าประกันเกี่ยงได้ หากพิสูจน์ได้ว่าลูกหนี้ยังมี ทางที่จะชาระได้ และการบังคับชาระจากลูกหนี้เป็นการไม่ยาก - เมื่อผู้ค้าประกันชาระหนี้แทนลูกหนี้แล้วสามารถไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ได้ - ข้อตกลงที่ให้ผู้ค้าประกันต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมเป็นโมฆะ
  • 12. ค้าประกัน- จานอง-จานา ค้าประกัน จานอง จานา ทรัพย์สินทุกอย่าง อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ ส่งมอบทรัพย์ที่จานา บุคคลภายนอก ลูกหนี้/บุคคลภายนอก ลูกหนี้/บุคคลภายนอก เรียกให้ผู้ค้าฯ ชาระแทนได้ ฟ้ องร้องบังคับจานอง ขาย ทอดตลาด บังคับจานาได้เลย ขาย ทอดตลาด ทาเป็นหนังสือลงลายมือชื่อ ผู้ค้าฯ =ฟ้ องไม่ได้ ทาเป็นหนังสือ+จด ทะเบียนต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่= โมฆะ ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้ ได้ ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้ ไม่ได้ ฟ้ องเรียกเงินคืนจากลูกหนี้ ไม่ได้
  • 13. ทายาทโดยธรรมตาม ม.1629 1 ผู้สืบสันดาน 2 บิดามารดา 3 พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 4 พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน 5 ปู่ ย่า ตา ยาย 6 ลุง ป้ า น้า อา ทายาทโดยธรรมภายใต้บทบัญญัติพิเศษ แห่ง ม.1635 คู่สมรส
  • 14. หลัก ญาติสนิทตัดญาติห่าง หลัก ทายาทในชั้นเดียวกันได้ส่วนแบ่งเท่ากัน หลักการได้รับส่วนแบ่งของคู่สมรส • หากมีทายาทชั้นผู้สืบสันดาน คู่สมรสได้ส่วนแบ่งเท่าชั้น ผู้สืบสันดาน • หากทายาทที่มีเป็นชั้นที่ 2 หรือ ชั้นที่ 3 คู่สมรสได้ส่วนแบ่งกึ่ง หนึ่ง • หากทายาทที่มีเป็นชั้นที่ 4 ชั้นที่ 5 หรือชั้นที่ 6 คู่สมรสได้ส่วน แบ่งสองในสาม
  • 15. ข้อสอบ • นายชีพ เป็นบุตรโดยชอบของนายเสือกับนางสิงห์ ได้สมรสกับนาง ลั่นทม มีบุตรด้วยกัน 2 คน คือ นายเอื้อกับนางสาวเกนหลง ต่อมานาง ลั่นทมเสียชีวิต นายชีพจึงได้ไปอยู่กินกับนางรสสุคนธ์โดยไม่ได้จด ทะเบียนสมรส และมีบุตรด้วยกันหนึ่งคน คือ นายเขมชาติ โดยนายชีพ ได้ส่งเสียเลี้ยงดู ให้ใช้นามสกุล แต่ไม่ได้จดทะเบียนรับรองบุตร ต่อมา นายชีพเสียชีวิตปรากฏว่ามีทรัพย์มรดก 6,000,000 บาท ทรัพย์ดังกล่าว จะตกเป็นของใครบ้าง และได้จานวนเท่าไหร่ จงอธิบาย