SlideShare a Scribd company logo
บทที่4
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
ความหมายของนิติกรรม
• การใดๆอันกระทาลงโดยชอบด้วยกฎหมาย
ด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
นิติกรรม
• หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการกระทา
ของบุคคลหรือเกิดขึ้นตามธรรมชาติซึ่ง
เหตุการณ์นั้นไม่มีผู้ใดสมัครใจจะให้เกิดผล
กฎหมาย แต่กฎหมายได้กาหนดให้
เหตุการณ์เหล่านั้นมีผลทางกฎหมายและ
ก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวแห่งสิทธิขึ้น
นิติเหตุ
องค์ประกอบของนิติกรรม
• นิติกรรมต้องเป็ นการกระทาของบุคคล แต่หากเป็ นการ
กระทาของสัตว์หรือสิ่งของย่อมไม่เป็ นนิติกรรม
1.การแสดงเจตนาของ
บุคคล
• การกระทาที่ชอบหรือถูกกฎหมาย หากบุคคลแสดง
เจตนาทานิติกรรมโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย แม้
บุคคลนั้นจะประสงค์ให้เกิดผลผูกพันก็ตาม กฎหมายก็
จะกาหนดให้นิติกรรมนั้นเสียไป
2.การกระทาที่ชอบด้วย
กฎหมาย
• หากบุคคลกระทาการโดยไม่มุ่งผูกพันทางกฎหมายต่อ
บุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็ นการพูดจาล้อเล่น การแสดง
อัธยาศัยไมตรีทางสังคม การกระทาเหล่านี้ย่อมไม่เป็ น
นิติกรรม
3.การกระทาที่มุ่งผูกนิติ
สัมพันธ์ระหว่างบุคคล
องค์ประกอบของนิติกรรม
• การแสดงเจตนาออกโดยอิสระและตรงกับความรู้สึก
นึกคิดหลอกลวงหรือขู่เข็ญบังคับหากบุคคลแสดง
เจตนาโดยไม่สมัครใจอาจทาให้นิติกรรมนั้นมีผลเป็ น
โมฆะ
4.การกระทาโดยสมัครใจ
• การเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ ได้แก่ การก่อ เปลี่ยนแปลง
โอนทานิติกรรมซื้อไปยังผู้ขายเป็ นการโอนกรรมสิทธิ์
ในทรัพย์สินจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อและโอนกรรมสิทธิ์ใน
เงินจากผู้ซื้อไปยังผู้ขายการชาระหนี้ทาให้หนี้ระงับลง
เป็ นต้น
5.การกระทาที่ก่อให้เกิด
การเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ
แบ่งตามฝ่ายที่เข้าทานิติกรรม แบ่งเป็น 2 ประเภท
1) นิติกรรมฝ่ายเดียว หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการ
แสดงเจตนาของบุคคลเพียงฝ่ายเดียว เช่น การทาพินัยกรรม การ
ปลดหนี้
2) นิติกรรมหลายฝ่าย หมายถึง นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการ
แสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป นิติกรรมประเภทนี้
เรียกว่า “สัญญา” เช่น สัญญาซื้อขาย สัญญากู้ยืมเงิน
แบ่งตามเวลาที่นิติกรรมมีผล แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
1) นิติกรรมที่มีผลในระหว่างที่ตนยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งอาจ
เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวหรือนิติกรรมหลายฝ่ายก็ได้ เช่น การปลด
หนี้การบอกเลิกสัญญา
2) นิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้ทานิติกรรมตายแล้ว หมายถึง
นิติกรรมที่เกิดขึ้นแล้วในขณะที่ผู้ทานิติกรรมยังมีชีวิตอยู่ เช่น การ
ทาพินัยกรรม เป็นต้น
 แบ่งตามวิธีการที่ทาให้นิติกรรมสมบูรณ์ แบ่งออกได้เป็น 2
ประเภท
1) นิติกรรมที่สมบูรณ์ด้วยการแสดงเจตนา
หมายถึง นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์และบังคับใช้ได้ทันทีเมื่อมี
การแสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรม เช่น สัญญาจ้างแรงงาน
เป็นต้น
2) นิติกรรมที่สมบูรณ์เมื่อได้ทาตามแบบที่
กฎหมายกาหนด หมายถึง นิติกรรมที่ลาพังเพียงแต่การ
แสดงเจตนาของผู้ทานิติกรรมยังไม่ทาให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์
เช่น สัญญาซื้อขาย อสังหาริมทรัพย์
นิติกรรมที่ไม่สมบูรณ์ หมายถึง นิติกรรมที่มีความผิดปกติ
บางอย่างในการก่อนิติกรรมนั้น ซึ่งความผิดปกตินี้ทาให้กฎหมายไม่
ยอมรับให้นิติกรรมมีผลในทางกฎหมายเลยอันได้แก่ โมฆะกรรม
หรือยอมรับให้มีผลในทางกฎหมายเพียงชั่วคราวจนกว่าจะมีการ
บอกล้างอันได้แก่ โมฆียะกรรม
4. ความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม
โมฆะกรรม
โมฆะกรรม หมายถึง การที่นิติกรรมเสียเปล่าไม่ก่อให้เกิดผลใดๆ
ในทางกฎหมายมาตั้งแต่ทานิติกรรม เหตุที่ทาให้นิติกรรมเป็นโมฆะมีดังนี้
1. วัตถุประสงค์ นิติกรรมใดมีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็น
การพ้นวิสัยหรือเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน นิติกรรม
นั้นย่อมตกเป็นโมฆะ เช่น
1) มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
2) มีวัตถุประสงค์เป็นการพ้นวิสัย
3) มีวัตถุประสงค์ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน
2. แบบ นิติกรรมใดไม่ได้ทาให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมาย
กาหนดไว้นิติกรรมนั้นย่อมตกเป็นโมฆะ ซึ่งแบบที่กฎหมาย
กาหนดให้ทานั้นมีอยู่หลายประเภทด้วยกัน เช่น
1) นิติกรรมที่ต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่
2) นิติกรรมที่ต้องทาเป็นหนังสือต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่
3) นิติกรรมที่ต้องทาเป็นหนังสือระหว่างคู่สัญญา
ด้วยกัน
3. การแสดงเจตน่าซ่อนเร้น หมายถึงกรณีที่ผู้ทานิติกรรมอย่าง
หนึ่งแต่ด้วยเหตุผลบางประการในเวลาที่แสดงเจตนากับแสดง
เจตนาทานิติกรรมอย่างหนึ่งที่ไม่ตรงกับที่ตัดสินใจไว้ด้วยความ
ตั้งใจของตนเอง มีลักษณะเป็นการซ่อนเจตนาที่แท้จริงเอาไว้
4. การแสดงเจตนาลวง หมายถึง การแสดงเจตนาที่เกิดจาการ
สมคบกันระหว่างคู่กรณีแห่งนิติกรรมโดยแสดงเจตนาทานิติ
กรรมออกมาเพื่อลวงบุคคลอื่นแต่ในความเป็นจริงไม่ต้องการ
ผูกพันตามนิติกรรมที่ได้แสดงออกมา
5. การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในสาระสาคัญ หมายถึง การ
แสดงเจตนาที่เกิดจากการที่ผู้แสดงเจตนาเข้าใจข้อเท็จจริงไม่
ถูกต้องหรือไม่ตรงความเป็นจริงและข้อเท็จจริงที่เข้าใจผิดไปนั้น
เป็นสาระสาคัญของนิติกรรม เช่น
1) สาคัญผิดในลักษณะของนิติกรรม
2) สาคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณีแห่งนิติกรรม
3) สาคัญผิดในทรัพย์สินซึ่งเป็นวัตถุแห่งนิติกรรม
4) สาคัญผิดราคา
ผลของโมฆะกรรม
นิติกรรมที่ตกเป็นกฎหมายเสียเปล่าไม่ก่อให้เกิดผล
ในทางกฎหมายใดๆทั้งสิ้น สิทธิและหน้าที่ระหว่างคู่กรณีมีผล
เสมือนไม่ได้ทานิติกรรมกันเลย นิติกรรมที่เป็นโมฆะจึงไม่อาจ
ให้สัตยาบันแก่กันได้และผู้มีส่วนได้เสียคนใดคนหนึ่งชอบที่จะ
ยกความเสียเปล่าของนิติกรรมที่เป็นโมฆะขึ้นมากล่าวอ้าง
เมื่อใดก็ได้
• โมฆียะกรรม
โมฆียกรรม หมายถึง นิติกรรมที่กฎหมายได้ถือว่าสมบูรณ์
จนกว่าจะถูกบอกล้าง เนื่องจากเหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ
นั้นยังบกพร่องไม่ร้ายแรงถึงขนาดที่จะทาให้นิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะ
สาเหตุที่ทาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ
1) ความสามารถหากนิติกรรมใดไม่ได้ทาโดยถูกต้องตาม
กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลในการทานิติกรรม นิติ
กรรมนั้นย่อมตกเป็นโมฆียะ
2) การแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดในคุณสมบัติ การแสดงเจตนา
โดยเข้าใจข้อเท็จจริงไม่ตรงกับความเป็นจริง
3) การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉล การแสดงเจตนา
โดยสาคัญผิดหรือเข้าใจผิดในข้อเท็จจริงเพราะถูกหลอกลวงโดย
คู่สัญญาหรือบุคคลภายนอก
4) การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่ การแสดงเจตนาเพราะ
ถูกคู่กรณีหรือบุคคลภายนอกข่มขู่ด้วยภัยอันใกล้จะถึง อีกทั้งต้อง
ร้ายแรงถึงขนาดที่จะทาให้ผู้ถูกข่มขู่กลัวจนยอมทาตามที่ถูกข่มขู่
 ผลของโมฆียกรรม
นิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะย่อมมีผลสมบูรณ์จนกว่าจะมีผล
บอกล้างโดยผู้ทานิติกรรมที่ตกเป็นโมฆียะเลือกได้ว่าจะให้
สัตยาบันหรือบอกล้างให้นิติกรรมนั้นเสียเปล่าตั้งแต่เริ่มต้นอันจะ
ทาให้สถานะทางกฎหมายกลับคืนสู่สภาพเดิม
บุคคลที่มีสิทธิให้สัตยาบันหรือบอกล้างโมฆียกรรม ได้แก่
1) นิติกรรมที่เกิดจากความบกพร่องในความสามารถของ
ผู้ทานิติกรรม
2) นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาโดยสาคัญผิดใน
คุณสมบัติ
3) นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาโดยถูกกลฉ้อฉล
4) นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาโดยถูกข่มขู่
การแสดงเจตนา
1. การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งอยู่เฉพาะหน้า
หมายถึงการแสดงเจตนาที่ผู้แสดงเจตนาสามารถติดต่อสื่อสารทาความเข้าใจ
ต่อผู้รับการแสดงเจตนาได้ทันทีโดยไม่ต้องรอ ได้แก่การคุยต่อหน้า การคุยกันทาง
โทรศัพท์
2. การแสดงเจตนาต่อผู้รับซึ่งไม่ได้อยู่เฉพาะหน้า
มีลักษณะที่ผู้รับไม่สามารถทราบเจตนาได้ทันทีแต่ต้องทิ้งช่วงเวลา ได้แก่ การ
แสดงด้วยการส่งจดหมาย การส่งโทรเลข การส่งโทรสารที่ผู้รับไม่ได้รอรับอยู่ที่ปลายทาง
การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( E-mail)
เงื่อนไข
หมายถึง ข้อความที่บังคับให้นิติกรรมเป็นผลหรือผลสิ้นผลต่อเมื่อมีเหตุการณ์อัน
ไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคต มี 2 ประเภท คือ
1. เงื่อนไขบังคับก่อน
หมายถึง ข้อความที่ระบุเหตุการณ์อันไม่แน่นอนไว้ และ ถ้าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นนิติกรรม
ก็จะมีผล
2. เงื่อนไขบังคับหลัง
หมายถึง ข้อความที่ระบุเหตุการณ์อันไม่แน่นอนไว้ และ ถ้าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นนิติกรรม
ผลก็สิ้นสุดไป
เงื่อนไขเวลา
หมายถึง ข้อความที่บังคับไว้ให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อถึง
กาหนดระยะเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต มี 2 ประเภท คือ
1. เงื่อนไขเวลาเริ่มต้น
ระยะเวลาที่ผู้ทานิติกรรมกาหนดขึ้น เมื่อครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าวนิติกรรมก็จะมีผล
บังคับใช้ปฏิบัติตามนิติกรรมนั้น
2. เงื่อนไขเวลาสิ้นสุด
ระยะเวลาที่ผู้ทานิติกรรมกาหนดขึ้น เมื่อครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าว นิติกรรมก็จะ
สิ้นสุดไป
อายุความ
อายุความ
การกาหนดระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดให้เจ้าหนี้
สามารถใช้สิทธิเรียกร้องของตนด้วยการฟ้ องร้องต่อ
ศาล หากไม่ได้ใช้สิทธิของตนภายในเวลากาหนดสิทธิ
เรียกร้องจะขาดอายุความ
คดีตัวอย่าง
เปิดเบื้องหลังคดี พจนมาน-บรรณพจน์'ใช้'นิติกรรม
อาพราง'เลี่ยงภาษีโอนหุ้นชินฯ546ล้าน
ศาลอาญามีคาพิพากษาเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2551 จาคุกนายบรรณ
พจน์ ดามาพงศ์ อดีตประธานคณะกรรมการชินคอร์ปอเรชั่น จากัด
(มหาชน) คุณหญิงพจมาน ชินวัตร ภรรยา พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีต
นายกรัฐมนตรีคนละ 3 ปี และนางกาญจนาภา หงษ์เหิน เลขานุการ
คุณหญิงพจมาน 2 ปี ฐานร่วมกันจงใจหลีกเลี่ยงภาษีการโอนหุ้นชินคอร์ป
มูลค่า 546ล้านบาท
คดีตัวอย่าง
มติครม.ถมเงินระบายข้าวถุง 7พันล.ชงผ่านกลั่นกรองชุด“กิตติ
รัตน์”...
เปิดเส้นทาง "มติ ครม."ถมเงินโครงการทุจริตระบายข้าวถุง 7,100
ล้าน พบชงผ่านคณะกรรมการกลั่นกรองชุด “กิตติรัตน์” ก่อนไฟ
เขียวตามข้อเสนอกระทรวงพาณิชย์ ไร้ข้อทักท้วง?
สมาชิกกลุ่ม
 1 นางสาวมาลัย กะโห้ รหัส 531120915
 2 นางสาวพรพิมล พรหมมีเนตร รหัส 531120916
 3 นางสาวรัตนาภรณ์ อยู่เจริญ รหัส 531120920
 4 นางสาวกมลทิพย์ รอดกระสิกรรม รหัส 531120940

More Related Content

What's hot

กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
Nurat Puankhamma
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายNurat Puankhamma
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
Chi Wasana
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
Warinthorn Limpanakorn
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
AJ Por
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
AJ Por
 
บทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญาบทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญา
Chi Wasana
 
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
Pannatut Pakphichai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
kingkarn somchit
 

What's hot (20)

กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
บทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญาบทที่ 3สัญญา
บทที่ 3สัญญา
 
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 

More from Yosiri

กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
Yosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
Yosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
Yosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
Yosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
Yosiri
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
Yosiri
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
Yosiri
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
Yosiri
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์
Yosiri
 

More from Yosiri (18)

กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์
 

กฎหมายนิติกรรม