SlideShare a Scribd company logo
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
การบรรยายครั้งที่ 5
สอบย่อย ครั้งที่ 1
กฎหมายมีกี่ระบบ จงอธิบาย และปัจจุบันประเทศไทยใช้ระบบกฎหมายใด
•สิทธิ
•เสรีภาพ
•หน้าที่
สิทธิ หมายถึง ความชอบธรรมที่บุคคลสามารถใช้ยันกับบุคคลอื่น เพื่อคุ้มครองหรือ
รักษาประโยชน์อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น
ฏี.124/2487 “พูดถึงสิทธิ หากจะกล่าวโดยย่อและรวบรัดแล้วก็ได้แก่ประโยชน์อันบุคคลมีอยู่ แต่
ประโยชน์อันบุคคลมีอยู่ แต่ประโยชน์จะเป็นสิทธิหรือไม่ก็แล้วแต่ว่าบุคคลอื่นมีหน้าที่ต้อง
เคารพหรือไม่ ถ้าบุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องเคารพ ประโยชน์นั้นก็เป็นสิทธิ กล่าวคือได้รับความ
คุ้มครองตามกฎหมาย”
- สิทธิต้องเป็นความชอบธรรม ---- คือ เป็นเรืองของความถูกต้องในการรักษาผลประโยชน์ของตน เช่น เรามีสิทธิ
ใช้รถ ก็หมายความว่า เรามีความชอบธรรมที่จะขับรถหรือใช้รถนั้น คนอื่นมาใช้โดยไม่ได้ขออนุญาต ถือว่าไม่มี
ความชอบธรรม เว้นแต่ในบางบางกรณีสิทธิอาจไม่ใช่ความชอบธรรมแต่กฎหมายยอมรับ เช่น การครอบครอง
ปรปักษ์ สิทธิเรียกร้องอายุความ
- สิทธิต้องมีบุคคลเป็นผู้ถือสิทธิ ---- ผู้ทรงสิทธิ อาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ สัตว์หรือสิ่งของไม่อาจ
ถือสิทธิหรือใช้สิทธิได้ สิทธิย่อมสงวนไว้สาหรับบุคคลเท่านั้น เช่น สิทธิของเจ้าหนี้ก็ย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้ลุกนี้ชาระ
หนี้กรณีนี้เจ้าหนี้คือผู้ทรงสิทธิ
- บุคคลผู้มีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิ สิทธินั้นต้องเป็นสิ่งที่ยันกับคนอื่นได้ คือบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งตรงข้ามกับผู้ถือ
สิทธิ เรียกว่า ผู้มีหน้าที่ อาจเป็นหน้าที่โดยเฉพาะ หรือหน้าที่โดยทั่วไปก็ได้
ตามสัญญาซื้อขายผู้ซื้อมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ขายส่งมอบทรัพย์ ในขณะเดียวกันผู้ซื้อก็มีหน้าที่จาต้องรับมอบทรัพย์สินที่
ตนซื้อไว้ และใช้ราคาตามสัญญา
หน้าที่โดยทั่วไป ก มีกรรมสิทธิ์เหนือบ้านของตน ทุกคนต้องเคารพสิทธิ์ของ ก ห้ามเข้าบ้าน ก จนกว่าได้รับอนุญาต
สิทธิและหน้าที่เป็นของคู่กัน เป็นหลักที่ไม่มีข้อยกเว้น
- สิทธิต้องมีเนื้อหา ---- หมายถึงข้อความที่เป็นประโยชน์ที่จะยืนยันคุ้มครองรักษาประโยชน์ โดยอาจกาหนดให้
กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใด งดเว้นกระทาการ ส่งมอบทรัพย์ เช่น เนื้อหาสิทธิของเจ้าหนี้คือ เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะ
เรียกร้องให้ลูกหนี้ชาระหนี้ถ้าเป็นหนี้เงินต้องชาระด้วยต้นเงินและดอกเบี้ย
ประเภทของสิทธิ
• สิทธิมหาชน --- เป็นสิทธิซึ่งเกิดขึ้นจากกฎหมายมหาชน โดยทั่วไปเป็นสิทธิของ
พลเมืองที่ดีต่อรัฐ เช่น สิทธิในการชุมนุม สิทธิในการแสดงความคิดเห็นของเอกชน
การยอมรับสิทธิที่เกิดจากกฎหมาย ทาให้รัฐย่อมผูกพันตนเองเพื่อประโยชน์ของ
เอกชน ดังนั้น สิทธิตามกฎหมายมหาชนเป็นสิทธิของราษฎรที่มีต่อรัฐและหน่วยงาน
สามธารณะอื่นๆ
ประเภทของสิทธิมหาชน
- สิทธิปฏิเสธ เช่น สิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญประเภทเสรีภาพของพลเมือง
- สิทธิกระทาการ เช่น สิทธิที่จะเข้ามามีส่วนช่วยในการปกครอง
- สิทธิเรียกร้องให้รัฐดาเนินการ เช่น สิทธิเรียกร้องให้จ่ายเงินเดือน
• สิทธิเอกชน --- เป็นสิทธิระหว่างเอกชนกับเอกชนซึ่งเกิดจากกฎหมายเอกชน
- สิทธิมิใช่ทางทรัพย์สิน หรือสิทธิทางบุคคล --- แบ่งเป็น 2 ประเภท
(1) สิทธิบุคคลภาพ คือ สิทธิที่ติดตามมาตั้งแต่เกิด เช่น สิทธิในร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ชื่อเสียง
(2) สิทธิสถานะ คือ สิทธิที่เกิดจากสถานะของบุคล แยกเป็นสิทธิสถานะในครอบครัว เช่น สิทธิของบิดา
มารดา สิทธิการเป็นสามีภรรยา และสิทธิสถานะอื่นๆเช่น สถานะในการเป็นผู้จัดการมรดก ผู้อนุบาล เป็น
ต้น
- สิทธิทางทรัพย์สิน --- ได้แก่
(1) ทรัพยสิทธิ เป็นสิทธิที่มีวัตถุแห่งสิทธิเป็นทรัพย์ ได้แก่ กรรมสิทธิ์ และทรัพยสิทธิเหนือทรัพย์ของบุคคลอื่น
(2) สิทธิเสมือนทรัพยสิทธิ คือ สิทธิที่เกือบเหมือนทรัพยสิทธิ เช่น สิทธิในการทาเหมืองแร่
(3) สิทธิในสิ่งไม่มีรูปร่าง เช่น ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ทรัพย์สินทางปัญญา
(4) สิทธิทางหนี้คือ สิทธิที่เกิดจากนิติสัมพันธ์ตามกฎหมายว่าด้วยหนี้
ขอบเขตการใช้สิทธิ
1 การใช้สิทธิในทางที่ผิด เดิมเห็นว่าการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย ย่อมไม่เป็นการทาความเสียหายแก่ผู้อื่น ต่อมา
เกิดความคิดใหม่ว่า การการใช้สิทธินั้นถ้าหากเป็นการใช้ไปในทางที่ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่นเป็นการกระทาที่ไม่
ชอบ
• ปพพ. ม. 421 “การใช้สิทธิที่มีแต่จะให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นนั้น ท่านว่าเป็นการอันมิชอบด้วยกฎหมาย”
2 การใช้สิทธิโดยสุจริต
• ปพพ. ม. 5 “ในการใช้สิทธิแห่งตนก็ดี ในการชาระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนต้องกระทาโดยสุจริต”
การคุ้มครองสิทธิ
เป็นกรณีการทาความเสียหายให้เกิดแก่บุคคลอื่นโดยกฎหมายอนุญาต โดยเป็นการกระทา
เพื่อป้ องกันสิทธิหรือประโยชน์ของตนโดยชอบด้วยกฎหมาย
• การกระทาเพื่อป้ องกัน --- ปพพ. ม.449 ลักษณะคล้ายการป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมายทางอาญา
• การกระทาโดยความจาเป็น --- ปพพ. ม.450
• การใช้สิทธิช่วยเหลือตนเอง --- เจ้าของสิทธิย่อมสามารถใช้สิทธิได้โดยไม่ต้องพึ่งพาคนอื่น ทั้งนี้หากเป็น
สิทธิเรียกร้องตามกฎหมายผู้มีสิทธิต้องขอศาลให้บังคับให้เป็นไปตามสิทธิจะใช้กาลังโดยพลการไม่ได้
หน้าที่ หมายถึง ความชอบธรรมในทางที่เป็นความผูกพันให้บุคคลตกอยู่ในสถานะจะต้อง กระทา
งดเว้นกระทา หรือยอมให้เขากระทา เพื่อให้เป็นไปตามผลประโยชน์อันชอบธรรมของบุคคลอื่น
ความแตกต่างระหว่างหน้าที่ กับ สิทธิ
• หน้าที่เป็นความชอบธรรมในด้านเสียประโยชน์ --- สิทธิเป็นความชอบธรรมในด้านได้ประโยชน์
• ผู้มีหน้าที่เลือกไม่ได้จะต้องปฏิบัติ --- ผู้มีสิทธิเลือกที่จะรับสิทธินั้นหรือไม่ก็ได้
• ถ้ามีหน้าที่เกิดขึ้น ไม่จาเป็นต้องมีสิทธิตาม --- ถ้ามีสิทธิแล้วต้องมีหน้าที่ตามมาเสมอ
เสรีภาพ หมายถึง อานาจตัดสินใจด้วยตนเองของมนุษย์ที่จะเลือกดาเนินพฤติกรรม
ของตนเอง โดยไม่มีบุคคลอื่นใดอ้างหรือใช้อานาจแทรกแซงเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
นั้น ทั้งนี้ต้องไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย
• ข้อแตกต่างระหว่าง “สิทธิ”และ “เสรีภาพ”
• เสรีภาพ เป็นอานาจที่บุคคลมีอยู่เหนือตนเอง ไม่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่บุคคลอื่นแต่อย่างใด ต่าง
จากสิทธิที่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่รัฐ
• สิทธิ เป็นอานาจที่บุคคลมีเพื่อเรียกร้องให้ผู้อื่นกระทาการหรือละเว้นการกระทาการอย่างใดอย่าง
หนึ่ง เพื่อประโยชน์ของตน
สรุป ความเหมือนและแตกต่างระหว่าง สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่
สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่
- สิทธิเป็นความชอบธรรมในด้านได้
ประโยชน์
- เป็นอานาจที่บุคคลมีอยู่เหนือตนเอง
สื่อออกมาในรูปแบบของการ
แสดงออก
- หน้าที่เป็นความชอบธรรมในด้าน
เสียประโยชน์
- ถ้ามีสิทธิแล้วต้องมีหน้าที่ตามมา
เสมอ
- ไม่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่บุคคลอื่นแต่
อย่างใด
- ถ้ามีหน้าที่เกิดขึ้น ไม่จาเป็นต้องมี
สิทธิตามมา
- ผู้มีสิทธิเลือกที่จะรับสิทธินั้นหรือไม่
ก็ได้
- ผู้มีหน้าที่เลือกไม่ได้จะต้องปฏิบัติ
- อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย - อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย - อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย
สิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ
• สิทธิตามรัฐธรรมนูญ หมายถึง
1 สิทธิที่ถูกกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
2 เป็นสิทธิที่กฎหมายอื่นจะมาขัดหรือแย้งไม่ได้
3 เป็นศูนย์รวมและหลักของกฎหมายอื่น
4 ถูกกาหนดไว้ในหมวด 3
• บททั่วไป
- การจากัดสิทธิและเสรีภาพจะกระทามิได้ เว้นแต้ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติของกฎหมายซึ่งต้องไม่
กระทบกระเทือนต่อสิทธิและเสรีภาพนั้น
• ความเสมอภาค
- ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน
- การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความต่างในเรื่อง ถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ
อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจ ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความ
คิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทามิได้
• สิทธิและเสรีภาพทั่วไป
- บุคคลย่อมเสรีภาพในเคหะสถาน การเดินทาง การเลือกถิ่นที่อยู่ การเลือกศาสนา กรประกอบอาชีพ การ
ชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ
- การเนรเทศ หรือห้ามเข้ามาในประเทศ ซึ่งบุคคลผู้มีสัญชาติไทยจะกระทามิได้
• สิทธิในทรัพย์สิน
- สิทธิของบุคคลในทรัพย์สินย่อมได้รับความคุ้มครอง
- การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระทามิได้ เว้นแต่ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติของกฎหมาย
• บุคคลย่อมมีสิทธิเสอมกันในการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี
• ผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
• บุคคลซึ่งมีอายุเกิน 60 ปีและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ
• บุคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ
• บุคคลจะใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น
ประมุขไม่ได้
หน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ
• บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
• บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
• บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร เสียภาษีอากร

More Related Content

What's hot

กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
Yosiri
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
Yosiri
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
Kanin Wongyai
 
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่chonlataz
 
Human1
Human1Human1
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นMac Legendlaw
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวMac Legendlaw
 
Human1.2
Human1.2Human1.2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายKroo Mngschool
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
montira
 

What's hot (13)

กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิดอาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
อาญาภาค 1 บท 3 โครงสร้างที่ 2 การกระทำที่ไม่ผิด
 
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
Human1
Human1Human1
Human1
 
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้นชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
ชีทสรุปกฎหมายปกครองเบื้องต้น
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติว
 
Human1.2
Human1.2Human1.2
Human1.2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลายหน้าที่พลเมืองมอปลาย
หน้าที่พลเมืองมอปลาย
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 

Viewers also liked

ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันAJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
AJ Por
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
AJ Por
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57AJ Por
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
AJ Por
 
3 solutions for your food, motivation & self care challenges.
3 solutions for your food, motivation & self  care challenges. 3 solutions for your food, motivation & self  care challenges.
3 solutions for your food, motivation & self care challenges.
Nicole Torrens
 
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreListas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
aquileoagustin
 
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
Chonnikarn Sangsuwan
 
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
Chonnikarn Sangsuwan
 
Livestrong
LivestrongLivestrong
Livestrong
kadyeknox
 
Embedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source MechatronicsEmbedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source Mechatronics
Celso Furukawa
 

Viewers also liked (20)

ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 22 กพ 57
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 11
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 17 พค 2557
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
กฎหมายในชีวิตประจำวันครั้งที่ 12
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุนพยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
พยายามตัวการผู้ใช้ผู้สนับสนุน
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันครั้งที่ 10
 
3 solutions for your food, motivation & self care challenges.
3 solutions for your food, motivation & self  care challenges. 3 solutions for your food, motivation & self  care challenges.
3 solutions for your food, motivation & self care challenges.
 
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestreListas calificaciones 2dos, 5to bimestre
Listas calificaciones 2dos, 5to bimestre
 
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษานำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
นำเสนอหลักสูตรสาขาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา
 
Livestrong
LivestrongLivestrong
Livestrong
 
Embedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source MechatronicsEmbedded Systems & Open Source Mechatronics
Embedded Systems & Open Source Mechatronics
 

วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 5

  • 2. สอบย่อย ครั้งที่ 1 กฎหมายมีกี่ระบบ จงอธิบาย และปัจจุบันประเทศไทยใช้ระบบกฎหมายใด
  • 4. สิทธิ หมายถึง ความชอบธรรมที่บุคคลสามารถใช้ยันกับบุคคลอื่น เพื่อคุ้มครองหรือ รักษาประโยชน์อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น ฏี.124/2487 “พูดถึงสิทธิ หากจะกล่าวโดยย่อและรวบรัดแล้วก็ได้แก่ประโยชน์อันบุคคลมีอยู่ แต่ ประโยชน์อันบุคคลมีอยู่ แต่ประโยชน์จะเป็นสิทธิหรือไม่ก็แล้วแต่ว่าบุคคลอื่นมีหน้าที่ต้อง เคารพหรือไม่ ถ้าบุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องเคารพ ประโยชน์นั้นก็เป็นสิทธิ กล่าวคือได้รับความ คุ้มครองตามกฎหมาย”
  • 5. - สิทธิต้องเป็นความชอบธรรม ---- คือ เป็นเรืองของความถูกต้องในการรักษาผลประโยชน์ของตน เช่น เรามีสิทธิ ใช้รถ ก็หมายความว่า เรามีความชอบธรรมที่จะขับรถหรือใช้รถนั้น คนอื่นมาใช้โดยไม่ได้ขออนุญาต ถือว่าไม่มี ความชอบธรรม เว้นแต่ในบางบางกรณีสิทธิอาจไม่ใช่ความชอบธรรมแต่กฎหมายยอมรับ เช่น การครอบครอง ปรปักษ์ สิทธิเรียกร้องอายุความ - สิทธิต้องมีบุคคลเป็นผู้ถือสิทธิ ---- ผู้ทรงสิทธิ อาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ สัตว์หรือสิ่งของไม่อาจ ถือสิทธิหรือใช้สิทธิได้ สิทธิย่อมสงวนไว้สาหรับบุคคลเท่านั้น เช่น สิทธิของเจ้าหนี้ก็ย่อมมีสิทธิเรียกร้องให้ลุกนี้ชาระ หนี้กรณีนี้เจ้าหนี้คือผู้ทรงสิทธิ - บุคคลผู้มีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิ สิทธินั้นต้องเป็นสิ่งที่ยันกับคนอื่นได้ คือบุคคลอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งตรงข้ามกับผู้ถือ สิทธิ เรียกว่า ผู้มีหน้าที่ อาจเป็นหน้าที่โดยเฉพาะ หรือหน้าที่โดยทั่วไปก็ได้ ตามสัญญาซื้อขายผู้ซื้อมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ขายส่งมอบทรัพย์ ในขณะเดียวกันผู้ซื้อก็มีหน้าที่จาต้องรับมอบทรัพย์สินที่ ตนซื้อไว้ และใช้ราคาตามสัญญา หน้าที่โดยทั่วไป ก มีกรรมสิทธิ์เหนือบ้านของตน ทุกคนต้องเคารพสิทธิ์ของ ก ห้ามเข้าบ้าน ก จนกว่าได้รับอนุญาต สิทธิและหน้าที่เป็นของคู่กัน เป็นหลักที่ไม่มีข้อยกเว้น - สิทธิต้องมีเนื้อหา ---- หมายถึงข้อความที่เป็นประโยชน์ที่จะยืนยันคุ้มครองรักษาประโยชน์ โดยอาจกาหนดให้ กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใด งดเว้นกระทาการ ส่งมอบทรัพย์ เช่น เนื้อหาสิทธิของเจ้าหนี้คือ เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะ เรียกร้องให้ลูกหนี้ชาระหนี้ถ้าเป็นหนี้เงินต้องชาระด้วยต้นเงินและดอกเบี้ย
  • 6. ประเภทของสิทธิ • สิทธิมหาชน --- เป็นสิทธิซึ่งเกิดขึ้นจากกฎหมายมหาชน โดยทั่วไปเป็นสิทธิของ พลเมืองที่ดีต่อรัฐ เช่น สิทธิในการชุมนุม สิทธิในการแสดงความคิดเห็นของเอกชน การยอมรับสิทธิที่เกิดจากกฎหมาย ทาให้รัฐย่อมผูกพันตนเองเพื่อประโยชน์ของ เอกชน ดังนั้น สิทธิตามกฎหมายมหาชนเป็นสิทธิของราษฎรที่มีต่อรัฐและหน่วยงาน สามธารณะอื่นๆ ประเภทของสิทธิมหาชน - สิทธิปฏิเสธ เช่น สิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญประเภทเสรีภาพของพลเมือง - สิทธิกระทาการ เช่น สิทธิที่จะเข้ามามีส่วนช่วยในการปกครอง - สิทธิเรียกร้องให้รัฐดาเนินการ เช่น สิทธิเรียกร้องให้จ่ายเงินเดือน
  • 7. • สิทธิเอกชน --- เป็นสิทธิระหว่างเอกชนกับเอกชนซึ่งเกิดจากกฎหมายเอกชน - สิทธิมิใช่ทางทรัพย์สิน หรือสิทธิทางบุคคล --- แบ่งเป็น 2 ประเภท (1) สิทธิบุคคลภาพ คือ สิทธิที่ติดตามมาตั้งแต่เกิด เช่น สิทธิในร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ชื่อเสียง (2) สิทธิสถานะ คือ สิทธิที่เกิดจากสถานะของบุคล แยกเป็นสิทธิสถานะในครอบครัว เช่น สิทธิของบิดา มารดา สิทธิการเป็นสามีภรรยา และสิทธิสถานะอื่นๆเช่น สถานะในการเป็นผู้จัดการมรดก ผู้อนุบาล เป็น ต้น - สิทธิทางทรัพย์สิน --- ได้แก่ (1) ทรัพยสิทธิ เป็นสิทธิที่มีวัตถุแห่งสิทธิเป็นทรัพย์ ได้แก่ กรรมสิทธิ์ และทรัพยสิทธิเหนือทรัพย์ของบุคคลอื่น (2) สิทธิเสมือนทรัพยสิทธิ คือ สิทธิที่เกือบเหมือนทรัพยสิทธิ เช่น สิทธิในการทาเหมืองแร่ (3) สิทธิในสิ่งไม่มีรูปร่าง เช่น ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ทรัพย์สินทางปัญญา (4) สิทธิทางหนี้คือ สิทธิที่เกิดจากนิติสัมพันธ์ตามกฎหมายว่าด้วยหนี้
  • 8. ขอบเขตการใช้สิทธิ 1 การใช้สิทธิในทางที่ผิด เดิมเห็นว่าการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย ย่อมไม่เป็นการทาความเสียหายแก่ผู้อื่น ต่อมา เกิดความคิดใหม่ว่า การการใช้สิทธินั้นถ้าหากเป็นการใช้ไปในทางที่ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่นเป็นการกระทาที่ไม่ ชอบ • ปพพ. ม. 421 “การใช้สิทธิที่มีแต่จะให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นนั้น ท่านว่าเป็นการอันมิชอบด้วยกฎหมาย” 2 การใช้สิทธิโดยสุจริต • ปพพ. ม. 5 “ในการใช้สิทธิแห่งตนก็ดี ในการชาระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนต้องกระทาโดยสุจริต”
  • 9. การคุ้มครองสิทธิ เป็นกรณีการทาความเสียหายให้เกิดแก่บุคคลอื่นโดยกฎหมายอนุญาต โดยเป็นการกระทา เพื่อป้ องกันสิทธิหรือประโยชน์ของตนโดยชอบด้วยกฎหมาย • การกระทาเพื่อป้ องกัน --- ปพพ. ม.449 ลักษณะคล้ายการป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมายทางอาญา • การกระทาโดยความจาเป็น --- ปพพ. ม.450 • การใช้สิทธิช่วยเหลือตนเอง --- เจ้าของสิทธิย่อมสามารถใช้สิทธิได้โดยไม่ต้องพึ่งพาคนอื่น ทั้งนี้หากเป็น สิทธิเรียกร้องตามกฎหมายผู้มีสิทธิต้องขอศาลให้บังคับให้เป็นไปตามสิทธิจะใช้กาลังโดยพลการไม่ได้
  • 10. หน้าที่ หมายถึง ความชอบธรรมในทางที่เป็นความผูกพันให้บุคคลตกอยู่ในสถานะจะต้อง กระทา งดเว้นกระทา หรือยอมให้เขากระทา เพื่อให้เป็นไปตามผลประโยชน์อันชอบธรรมของบุคคลอื่น ความแตกต่างระหว่างหน้าที่ กับ สิทธิ • หน้าที่เป็นความชอบธรรมในด้านเสียประโยชน์ --- สิทธิเป็นความชอบธรรมในด้านได้ประโยชน์ • ผู้มีหน้าที่เลือกไม่ได้จะต้องปฏิบัติ --- ผู้มีสิทธิเลือกที่จะรับสิทธินั้นหรือไม่ก็ได้ • ถ้ามีหน้าที่เกิดขึ้น ไม่จาเป็นต้องมีสิทธิตาม --- ถ้ามีสิทธิแล้วต้องมีหน้าที่ตามมาเสมอ
  • 11. เสรีภาพ หมายถึง อานาจตัดสินใจด้วยตนเองของมนุษย์ที่จะเลือกดาเนินพฤติกรรม ของตนเอง โดยไม่มีบุคคลอื่นใดอ้างหรือใช้อานาจแทรกแซงเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ นั้น ทั้งนี้ต้องไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย • ข้อแตกต่างระหว่าง “สิทธิ”และ “เสรีภาพ” • เสรีภาพ เป็นอานาจที่บุคคลมีอยู่เหนือตนเอง ไม่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่บุคคลอื่นแต่อย่างใด ต่าง จากสิทธิที่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่รัฐ • สิทธิ เป็นอานาจที่บุคคลมีเพื่อเรียกร้องให้ผู้อื่นกระทาการหรือละเว้นการกระทาการอย่างใดอย่าง หนึ่ง เพื่อประโยชน์ของตน
  • 12. สรุป ความเหมือนและแตกต่างระหว่าง สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ - สิทธิเป็นความชอบธรรมในด้านได้ ประโยชน์ - เป็นอานาจที่บุคคลมีอยู่เหนือตนเอง สื่อออกมาในรูปแบบของการ แสดงออก - หน้าที่เป็นความชอบธรรมในด้าน เสียประโยชน์ - ถ้ามีสิทธิแล้วต้องมีหน้าที่ตามมา เสมอ - ไม่ก่อให้เกิดหน้าที่แก่บุคคลอื่นแต่ อย่างใด - ถ้ามีหน้าที่เกิดขึ้น ไม่จาเป็นต้องมี สิทธิตามมา - ผู้มีสิทธิเลือกที่จะรับสิทธินั้นหรือไม่ ก็ได้ - ผู้มีหน้าที่เลือกไม่ได้จะต้องปฏิบัติ - อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย - อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย - อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย
  • 13. สิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ • สิทธิตามรัฐธรรมนูญ หมายถึง 1 สิทธิที่ถูกกาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ 2 เป็นสิทธิที่กฎหมายอื่นจะมาขัดหรือแย้งไม่ได้ 3 เป็นศูนย์รวมและหลักของกฎหมายอื่น 4 ถูกกาหนดไว้ในหมวด 3
  • 14. • บททั่วไป - การจากัดสิทธิและเสรีภาพจะกระทามิได้ เว้นแต้ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติของกฎหมายซึ่งต้องไม่ กระทบกระเทือนต่อสิทธิและเสรีภาพนั้น • ความเสมอภาค - ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน - การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความต่างในเรื่อง ถิ่นกาเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจ ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความ คิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทามิได้ • สิทธิและเสรีภาพทั่วไป - บุคคลย่อมเสรีภาพในเคหะสถาน การเดินทาง การเลือกถิ่นที่อยู่ การเลือกศาสนา กรประกอบอาชีพ การ ชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ - การเนรเทศ หรือห้ามเข้ามาในประเทศ ซึ่งบุคคลผู้มีสัญชาติไทยจะกระทามิได้
  • 15. • สิทธิในทรัพย์สิน - สิทธิของบุคคลในทรัพย์สินย่อมได้รับความคุ้มครอง - การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระทามิได้ เว้นแต่ โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติของกฎหมาย • บุคคลย่อมมีสิทธิเสอมกันในการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี • ผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย • บุคคลซึ่งมีอายุเกิน 60 ปีและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ • บุคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ • บุคคลจะใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น ประมุขไม่ได้
  • 16. หน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ • บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ • บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง • บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร เสียภาษีอากร