SlideShare a Scribd company logo
 โภชนาการอาหารและอนามัยอาหาร
วัฒนธรรมอาหาร พฤติกรรมการบริโภค และภาวะโภชนาการในปัจจุบัน
ประเทศไทย
ต้มยากุ้ง (Tom Yam Goong) แค่เอ่ยชื่อก็เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า ต้มยากุ้งเป็นอาหารคาวที่เหมาะ
สาหรับรับประทานกับข้าวสวยร้อน ๆ กลิ่นหอมของสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบในต้มยากุ้ง นอกจากจะทาให้รู้สึกสด
ชื่นแล้ว ยังช่วยกระตุ้นการเจริญอาหารได้เป็นอย่างดี
ประเทศกัมพูชา
อาม็อก (Amok) เป็นอาหารคาวยอดนิยมของกัมพูชา มีลักษณะคล้ายห่อหมกของไทย โดยเป็นการนาเนื้อปลา
สด ๆ ลวกพริกเครื่องแกง และกะทิ แล้วทาให้สุกโดยการนาไปนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้เนื้อปลาแล้ว อาจเลือกใช้เนื้อไก่
แทนก็ได้ ส่วนสาเหตุที่คนในประเทศกัมพูชานิยมรับประทานปลา เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของกัมพูชามีแหล่งน้า
อุดมสมบูรณ์ ทาให้ปลาเป็นอาหารที่หารับประทานได้ง่ายนั่นเอง
ประเทศบรูไน
 อัมบูยัต (Ambuyat) เป็นอาหารยอดนิยมของบรูไน มีลักษณะเด่นอยู่ที่ตัวแป้งจะเหนียวข้นคล้ายข้าวต้ม หรือโจ๊ก โดยมี
แป้งสาคูเป็นส่วนผสมหลัก ตัวแป้งอัมบูยัตเอง ไม่มีรสชาติ แต่ความอร่อยจะอยู่ที่การจิ้มกับซอสผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว นอกจากนี้
ยังมีเครื่องเคียงอีก 2-3 ชนิด เช่น ผักสด เนื้อห่อใบตองย่าง หรือเนื้อทอด ทั้งนี้ การรับประทานอัมบูยัตให้ได้รสชาติ ต้อง
รับประทานตอนร้อน ๆ จึงจะดีที่สุด
ประเทศพม่า
หล่าเพ็ด (Lahpet) เป็นอาหารยอดนิยมของพม่า โดยการนาใบชาหมักมาทานกับเครื่องเคียง เช่น กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่าง ๆ
งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว เรียกได้ว่า มีลักษณะคล้ายคลึงกับเมี่ยงคาของประเทศไทย ซึ่งหล่าเพ็ดนี้ จะเป็นเมนูอาหารที่ขาดไม่ได้
ในโอกาสพิเศษหรือเทศกาลสาคัญๆ ของประเทศพม่า โดยกล่าวกันว่า หากงานเลี้ยง หรืองานเฉลิมฉลองใดไม่มีหล่าเพ็ด จะถือว่า
การนั้นเป็นงานที่ขาดความสมบูรณ์ไปเลยทีเดียว
ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
อโดโบ้ (Adobo) เป็น อาหารยอดนิยมของประเทศฟิลิปปินส์ ทาจากเนื้อหมู หรือเนื้อไก่ ที่ผ่านการหมัก และปรุงรส
โดยจะใส่น้าส้มสายชู ซีอิ๊วขาว กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดา นาไปทาให้สุกโดยอบในเตาอบ หรือทอด แล้วนามา
รับประทานกับข้าวสวยร้อน ๆ
ในอดีตอาหารจานนี้เป็นที่นิยมในหมู่นักเดินทาง เนื่องจากส่วนผสมของอโดโบ้สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เหมาะสาหรับ
พกไว้เป็นเสบียงอาหารระหว่างการเดินทาง ซึ่งปัจจุบันอโดโบ้ได้กลายเป็นอาหารยอดนิยมที่นามารับประทานกันได้ทุกที่ทุก เวลา
ประเทศสิงคโปร์
ลักซา(Laksa) อาหารขึ้นชื่อของประเทศสิงคโปร์ ลักซามีลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวต้มยาใส่กะทิ ทาให้รสชาติเข้มข้น คล้ายคลึง
กับข้าวซอยของไทย โดยลักซาจะมีส่วนผสมของ กุ้งแห้งพริก กุ้งต้มและหอยแครง เหมาะสาหรับคนที่ชอบรับประทานอาหารทะเล
เป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตามลักซามีทั้งแบบที่ใส่กะทิ และไม่ใส่กะทิ ทว่า แบบที่ใส่กะทิจะเป็นที่นิยมมากกว่า
ประเทศอินโดนีเซีย
กาโด กาโด (Gado Gado) อาหารยอดนิยมของประเทศอินโดนีเซีย ประกอบไปด้วยผัก และธัญพืช
หลากหลายชนิด ทั้งแครอท มันฝรั่ง กะหล่าปลี ถั่วงอก ถั่วเขียว นอกจากนี้ยังมีเต้าหู้ และไข่ต้มสุกด้วย กาโด กาโดจะนามา
รับประทานกับซอสถั่วที่คล้ายกับซอสสะเต๊ะ อย่างไรก็ตาม ด้วยเครื่องสมุนไพรในซอส อาทิ รากผักชี หอมแดง กระเทียม
ตะไคร้ ทาให้เมื่อรับประทานแล้วจะไม่รู้สึกเลี่ยนกะทิมากจนเกินไปนั่นเอง
ประเทศลาว
สลัดหลวงพระบาง (Luang Prabang Salad) เป็นอาหารขึ้นชื่ออีกชนิดหนึ่ง เนื่องจากมีรสชาติกลาง ๆ ทา
ให้รับประทานได้ทั้งชาวตะวันออก และตะวันตก โดยส่วนประกอบสาคัญคือ ผักน้า ซึ่งเป็นผักป่าที่ขึ้นตามริมธารน้าไหล และยังมี
ส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น มันแกว แตงกวา มะเขือเทศ ไข่ต้ม ผักกาดหอม และหมูสับลวกสุก ส่วนวิธีปรุงรสคือ ราดด้วยน้าสลัด
ชนิดใส คลุกส่วนผสมทั้งหมดเข้าด้วยกัน แล้วโรยหน้าด้วยกระเทียมเจียว และถั่วลิสงคั่ว
ประเทศมาเลเซีย
นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak) อาหารยอดนิยมของประเทศมาเลเซีย โดยนาซิ เลอมัก จะเป็นข้าวหุงกับกะทิ และ
ใบเตย ทานพร้อมเครื่องเคียง 4 อย่าง ได้แก่ ปลากะตักทอดกรอบ แตงกวาหั่น ไข่ต้มสุก และถั่วอบ ซึ่งนาซิ เลอมักแบบดั้งเดิมจะ
ห่อด้วยใบตอง และมักทานเป็นอาหารเช้า แต่ในปัจจุบัน กลายเป็นอาหารยอดนิยมที่ทานได้ทุกมื้อ และแพร่หลายในประเทศเพื่อน
บ้านอีกหลายแห่ง เช่น สิงคโปร์ และภาคใต้ของไทยด้วย
ประเทศเวียดนาม
เปาะเปี๊ยะเวียดนาม (VietnameseSpring Rolls)ถือเป็นหนึ่งในอาหารพื้นเมืองที่โด่งดังที่สุดของประเทศเวียดนามความอร่อย
ของเปาะเปี๊ยะเวียดนาม อยู่ที่การนาแผ่นแป้งซึ่งทาจากข้าวจ้าวมาห่อไส้ซึ่งอาจจะเป็นไก่ หมู กุ้ง หรือหมูยอ โดยนามารวมกับผัก
สมุนไพรอีกหลายชนิด เช่น สะระแหน่ ผักกาดหอม และนามารับประทานคู่กับน้าจิ้มหวาน โดยจะมีถั่วคั่ว แครอทซอย ไชเท้าซอย ให้
เติมตามใจชอบ และบางครั้งอาจมีเครื่องเคียงอย่างอื่นเพิ่มด้วย
ประเทศญี่ปุ่ น
 ซูชิ หรือ ข้าวปั้นมีหน้า เป็นอาหารญี่ปุ่น ที่ข้าวมีส่วนผสมของน้าส้มสายชู และ กินคู่กับปลา เนื้อ หรือ ของคาวชนิดต่างๆ ใน
ประเทศญี่ปุ่น ซูชิมักจะหมายถึงอาหารที่มีส่วนประกอบของซูชิเมะชิ (寿司飯,ข้าวที่ผสมน้าส้มสายชู) และมีหน้าแบบต่างๆ
เป็นหน้า ที่นิยมได้แก่อาหารทะเล ผัก ไข่ เห็ด เนื้อที่ นามาใช้อาจจะเป็นเนื้อดิบ หรือ เนื้อที่ผ่านกระบวนการทาอาหารแล้ว สาหรับ
ในประเทศอื่น และซูชิส่วนใหญ่มักใส่วาซาบิ บนข้าวเพื่อให้ได้ความอร่อยมากยิ่งขึ้นซูชิ หมายถึง การรวมกันระหว่างปลากับข้าว
ซูชิมีวิวัฒนาการมาเมื่อหลายร้อยปีมาแล้วซึ่งเกิดจากความต้องการถนอมอาหารของคนญี่ปุ่น โดยซูชิ นิยมหมายถึง นิงิริซูชิ ที่เป็น
ข้าวมาอัดเป็นก้อนและมีเนื้อปลาวางบนด้านหน้าเท่านั้น

ประเทศเกาหลี
 "กิมจิ" เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สาหรับชาวเกาหลี
 ดังนั้นเวลามีการเดินทางในต่างแดน ก็ไม่ลืมที่จะพกกิมจิติดตัวไปด้วย
 "กิมจิ" จึงได้เริ่มแพร่หลายในวงกว้างโดยช่วงแรกเริ่มเข้าไปในประเทศใกล้เคียงก่อน
 คือ ประเทศจีน รัสเซีย รัฐฮาวาย และญี่ปุ่น
ประเทศจีน
 ติ่มซา เป็นอาหารว่างของจีน นิยมรับประทานกับน้าชา (หยาฉ่า 飲茶 ว่า ดื่มน้ำชำ เสิร์ฟพร้อมติ่มซา)ที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก
เป็นคาเรียกรวมอาหารหลายอย่าง มักเป็นอาหารจาพวกปรุงด้วยการนึ่ง เช่น ขนมจีบ, ซาลาเปา, ฮะเก๋า,เกี๊ยวซ่า เป็นต้น บรรจุใน
ภาชนะขนาดเล็ก เช่น เข่งไม้ไผ่ หรือจานใบเล็ก ในร้านอาหารจีนบางร้านนึ่งติ่มซาไว้บนเตารอลูกค้าสั่งบางร้านใส่รถเข็นหรือใส่
ตะกร้าคล้องคอ ให้พนักงานนาไปเสนอลูกค้าในร้าน ขณะที่กาลังรออาหารอื่นนอกจากนั้นอาหารทอดบางอย่างก็อาจรวมอยู่ใน
เมนูติ่มชาด้วย
ประเทศอิตาลี
 พิซซาป็นอาหารประจาชาติของประเทศอิตาลี แบ่งตามประเภทของอาหารในแต่ละมื้อได้ดังนี้
 อาหารว่างและของกินเล่นระหว่างมื้อที่เป็นที่รู้จักดีคือพิซซา โดยพิซซาในอิตาลีจะเป็นแผ่นแป้งอบทาซอสมะเขือเทศแต่งหน้า
ด้วยเนื้อสัตว์มะเขือเทศ หรือเห็ด เน้นที่ชีสยืดเหนียวด้านบน
 ประเทศฝรั่งเศส
 ฟัวกรา เป็น อาหารประจาชาติของประเทศฝรั่งเศส
 ฟัวกรา(ฝรั่งเศส: foie gras, เสียงอ่านภาษาฝรั่งเศส: [fwɑgʁɑ] แปลว่า "ตับที่มีไขมันสูง") คือตับห่านหรือเป็ดที่ถูกเลี้ยงให้อ้วน
เกิน ฟัวกราได้ชื่อว่าเป็นอาหารฝรั่งเศสที่ดีที่สุด เช่นเดียวกับทรัฟเฟิล มีลักษณะนุ่มมันและมีรสชาติที่แตกต่างจากตับของเป็ดหรือ
ห่านธรรมดา
ประเทศสเปน
 อาหาร สเปนประกอบด้วยอาหารหลายประเภท ซึ่งเป็นผลมาจากความแตกต่างทางด้านภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม และภูมิอากาศเช่น
อาหารทะเลก็หาได้จากพื้นน้าที่ล้อมรอบประเทศอยู่นั้นและเนื่องจากประเทศสเปนมีประวัติความเป็นมายาวนานรวมทั้ง
วัฒนธรรมที่แตกต่าง กันซึ่งทยอยเข้ามามีอิทธิพลในดินแดนนี้ อาหารสเปนจึงมีความหลากหลายอย่างยิ่งแต่เครื่องปรุงและ
ส่วนผสมต่าง ๆ เหล่านั้นก็ได้ประกอบกันขึ้นเป็นอาหารประจาชาติที่มีความเป็นเอกลักษณ์ พร้อมทั้งตารับการประกอบอาหารและ
รสชาตินับพัน อิทธิพลส่วนมากในอาหารสเปนมาจากวัฒนธรรมยิวและมัวร์ พวกมัวร์เป็นชาวมุสลิมจากแอฟริกาซึ่งเคยมีอานาจ
ปกครองสเปนอยู่หลายศตวรรษ และอาหารของพวกมัวร์ก็ยังคงมีรับประทานกันอยู่จนทุกวันนี้
ประเทศสวีเดน
 ปลาherring ผักชีฝรั่งและมะนาว
 แต่ที่ขึ้นชื่อจริงๆและไม่ควรพลาดที่จะลิ้มรสก็คือSwedish meatball หรือที่เรียกกันว่า Köttbullar น่าตาก็คล้ายกับลูกชิ้นบ้านเรา
แต่ลูกชิ้นของสวีเดนจะเป็นลูกชิ้นที่ปรุงรสแล้วมีทั้งเนื้อหมู, เนื้อไก่และเนื้อวัว รับประทานกับมันฝรั่ง ซอสและควบคู่ไปกับแยม
ผลไม้แยมจะมีรสหวานทานง่าย คนสวีเดนส่วนใหญ่จะทานเนื้อสัตว์กับแยมผลไม้เพื่อเป็นการเพิ่มรสชาติของอาหารและแก้เลี่ยน
ไปในตัว
 ประเทศจีน
 ติ่มซา เป็นอาหารว่างของจีน นิยมรับประทานกับน้าชา (หยาฉ่า 飲茶 ว่า ดื่มน้ำชำ เสิร์ฟพร้อมติ่มซา)ที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก
เป็นคาเรียกรวมอาหารหลายอย่าง มักเป็นอาหารจาพวกปรุงด้วยการนึ่ง เช่น ขนมจีบ, ซาลาเปา, ฮะเก๋า,เกี๊ยวซ่า เป็นต้น บรรจุใน
ภาชนะขนาดเล็ก เช่น เข่งไม้ไผ่ หรือจานใบเล็ก ในร้านอาหารจีนบางร้านนึ่งติ่มซาไว้บนเตารอลูกค้าสั่งบางร้านใส่รถเข็นหรือใส่
ตะกร้าคล้องคอ ให้พนักงานนาไปเสนอลูกค้าในร้าน ขณะที่กาลังรออาหารอื่นนอกจากนั้นอาหารทอดบางอย่างก็อาจรวมอยู่ใน
เมนูติ่มชาด้วย
ประเทศฮังการี
 ทามาจากเนี้อหมู ไก่งวง หรือเนื้อก็มี นอกจากนี้ก็มี Toltottkaposztaหรือ กะหล่าปลีห่อข้าวรสเปรี้ยว อีกด้วย เมื่อลองอาหารคาว
แล้ว อย่าลืมชิมขนมพื้นเมืองที่ขึ้นชื่อของฮังการีด้วยเช่นLangose เป็นแป้งเหนียวๆ ป้ายด้วยเนยกระเทียม ราดซอสมะเขือเทศ แล้ว
โรยหน้าด้วยมอสเรลล่าชีส กลิ่นหอมรสชาติดีมากมายแต่ต้องทานร้อนๆหรืออาจลิ้มรส Stuffed Pancake (แพนเค้กสอดไส้) ที่
เลื่องลือมานานนับร้อยๆปีแล้ว และ Sponge Cake ก็อร่อยน่าลองไม่แพ้กันนักท่องเที่ยวอาจไปแวะชิมได้ตามร้านอาหารทั่วไปหรือ
ภัตตาคารภายในที่พักในฮังการีของท่านก็ได้เช่นกัน
อาหารประจาชาติอเมริกา
 สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีผู้อพยพเข้ามาอยู่ตลอดเวลา อาหารในประเทศจึงมีความหลากหลายโดยอาหารพื้นเมือง
ในสหรัฐอเมริกา หรืออาหารชาวอินเดียนแดงคืออาหารที่มีส่วนประกอบของไก่งวง มันสาปะหลังข้าวโพดและ
ฟักทองโดยในปัจจุบันจากการอพยพจากประชากรจากฝั่งยุโรปเป็นจานวนมาก ซึ่งมีบทบาทสาคัญในส่วนของอาหาร
อเมริกัน ซึ่งได้แก่อาหารหลายประเภท เช่น พายแอปเปิล พิซซา ชาวเดอร์ พาสตา แฮมเบอร์เกอร์
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
 ฟองดู (Fondue) อาหารมื้อแรกนี้มักจะนิยมรับประทานกันในฤดูหนาวเพราะมันคือขนมปังก้อนเล็กๆจุ่มลงไปในหม้อร้อนที่มีชีส
อุ่นๆ ผสมกับเครื่องปรุงอย่างไวน์ขาว เหล้าเชอร์รี่ หรือเครื่องเทศอยู่
 ซึ่งคนสวิสเค้าชอบบริโภคชีสกันมากเลยล่ะ เพราะฉะนั้นขอให้เป็นอะไรก็ได้มาจิ้มชีสอุ่นๆก็จะช่วยคลายหนาว และทาให้อิ่มท้อง
ได้ด้วย
ประเทศเม็กซิโก
 ตอติญ่าที่ huevos rancheros
ที่ทาจากแป้งข้าวโพดราดด้วยไข่ดาวและซอสranchera มักเสิร์ฟกับfrijolesอาหารจานนี้เกือบจะเป็นอาหารเช้ามาตรฐานตั้งแต่
Austin ถึง Sohoแต่ที่เม็กซิโกคุณมาสมารถสั่ง huevos ได้หลายแบบHuevos divorciados (ตามในรูปที่สั่งแยกออกเป็นไข่ฟองหนึ่ง
ราดด้วย salsa rojaและอีกฟองหนึ่งราดด้วย alsa verde (ตรงกลางราดด้วยซอสที่ทาจากมะเขือเทศชนิดหนึ่ง)
ประเทศอินเดีย
 คุชราตีถาลี” อาหารพิเศษที่ขึ้นชื่อมากๆของอินเดียคืออาหารชุดแบบมังสวิรัติ มีเครื่องใส่ในถาดหลายอย่าง ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะเป็น
อาหารประเภทข้าว แป้ง และแกงต่างๆถาลี (Thali)เป็นอาหารที่ ชาวอินเดียบอกว่าเป็นอาหารของคนจน เพราะว่า ตามปกตินั้น
การสั่งอาหารนั้น กับข้าวอย่างหนึ่งมีราคาค่อนข้างแพงการจะสั่งหลายๆ เมนู ในครั้งเดียวได้นั้น ต้องถือว่า เป็นคนที่มีฐานะ
พอสมควร แต่ทาอย่างไรได้ล่ะเมื่อมีเงินน้อย แต่อย่างรับประทานหลายๆ อย่าง จะทายังไงดี จึงเกิดเมนูขึ้นมีชื่อว่า ‘ถาด’ หรือ ถาลี
 พฤติกรรมการรับประทานอาหาร (6)
 บทวิเคราะห์
 การทบทวนรายงานวิจัยในกลุ่มความอ้วนของนักศึกษาจานวน 6 เรื่อง พบว่า เป็นรายงานวิจัยที่
ศึกษา ในขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 4796 คน เป็นการศึกษาในประเทศเลบานอน จานวน 2 รายงาน
ที่เหลือจากประเทศบราซิล ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา เยอรมัน โปแลนด์และบัลกาเรีย ประเทศละ 1
ฉบับ
 วิธีการศึกษาทั้งหมดเป็นการศึกษาภาคตัดขวาง มีการใช้มุมมองสังคมการตลาด 1 รายงานเพื่อหากล
ยุทธ์ในการณรงค์ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม4 มีรายงานศึกษาสิ่งแวดล้อมคือหอพักนักศึกษาที่เป็น
แหล่งอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัย1 รายงาน2 มีรายงานเกี่ยวกับนิสัยการบริโภคอาหาร1
แรงจูงใจต่อการเลือกอาหาร4 ความสัมพันธ์กับสุขภาพจิต5 และการควบคุมน้าหนัก6 อย่างละ 1
รายงาน
 ผลการวิเคราะห์พบข้อความรู้ว่าพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัย
ยังมีจุดอ่อนทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพอาหาร รวม ถึงวิธีการควบคุมน้าหนัก โดยเฉพาะ
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม การนาความรู้ไปใช้ในการรณรงค์ควรเน้นการปรับปรุงภาพลักษณ์
เป็นเหตุผลสาคัญใน การเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
 วัฒนธรรมอาหารการกินของคนไทย
สภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้าลาคลองหลายสายไหลผ่าน
จึงเป็นแหล่งเพาะปลูกข้าวชั้นเลิศแห่งหนึ่งของโลก ชีวิตคนไทยในอดีตล้วนผูกพันกับสายน้าอีกทั้ง
ยังมี
ชายฝั่งทะเลเหยียดยาวทั้งด้านอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน อันเป็นแหล่งอาหารประเภทปลานานา
ชนิด
ซึ่งเป็นที่มาของคาพังเพยเปรียบเปรยถึงความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารการกินของไทยว่า
"ในน้ามีปลา ในนามีข้าว"
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)

More Related Content

What's hot

อาหารภาคเหนือ
อาหารภาคเหนืออาหารภาคเหนือ
อาหารภาคเหนือ
พัน พัน
 
อาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาคอาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาค
0870061155
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
อาหารภาคอีสาน
อาหารภาคอีสานอาหารภาคอีสาน
อาหารภาคอีสาน
พัน พัน
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
อาหารไทย
อาหารไทยอาหารไทย
อาหารไทย
TaoTao52
 
ประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิNona Khet
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรกnarueporn
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
Pha C
 
อาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคอาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาค
studentkc3 TKC
 
fuat
fuatfuat
fuat
fuat7777
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1narueporn
 
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาหารไทยและขนมไทย
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาหารไทยและขนมไทยงานนำเสนอ-เรื่อง-อาหารไทยและขนมไทย
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาหารไทยและขนมไทย
TaoTao52
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
Chok Ke
 
เห็ดสามอย่าง
เห็ดสามอย่างเห็ดสามอย่าง
เห็ดสามอย่าง
u musics
 

What's hot (18)

อาหารภาคเหนือ
อาหารภาคเหนืออาหารภาคเหนือ
อาหารภาคเหนือ
 
อาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาคอาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาค
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
Thai food and fruit
Thai food and fruitThai food and fruit
Thai food and fruit
 
อาหารภาคอีสาน
อาหารภาคอีสานอาหารภาคอีสาน
อาหารภาคอีสาน
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารไทย
อาหารไทยอาหารไทย
อาหารไทย
 
ประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิประวัติของซูชิ
ประวัติของซูชิ
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
อาหารอีสาน
อาหารอีสานอาหารอีสาน
อาหารอีสาน
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
อาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาคอาหาร 4 ภาค
อาหาร 4 ภาค
 
fuat
fuatfuat
fuat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาหารไทยและขนมไทย
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาหารไทยและขนมไทยงานนำเสนอ-เรื่อง-อาหารไทยและขนมไทย
งานนำเสนอ-เรื่อง-อาหารไทยและขนมไทย
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
เห็ดสามอย่าง
เห็ดสามอย่างเห็ดสามอย่าง
เห็ดสามอย่าง
 

Viewers also liked

แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมาย
แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมายแก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมาย
แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมายareeluk yosprayoon
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
dnavaroj
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
tumetr
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipointsupreechafkk
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
dnavaroj
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointsupreechafkk
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
โภชนาการ
โภชนาการโภชนาการ
โภชนาการNok Tiwung
 

Viewers also liked (17)

แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมาย
แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมายแก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมาย
แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมาย
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
โภชนาการแ..
โภชนาการแ..โภชนาการแ..
โภชนาการแ..
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipoint
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipoint
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
โภชนาการ
โภชนาการโภชนาการ
โภชนาการ
 

Similar to โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)

ชุติกาญจน์
ชุติกาญจน์ชุติกาญจน์
ชุติกาญจน์
Fon Chutikan Kongchusri
 
น้ำฦน
น้ำฦนน้ำฦน
น้ำฦน
Fon Chutikan Kongchusri
 
นางสาว รสริน ศรีทับทิม สป.11
นางสาว รสริน ศรีทับทิม สป.11นางสาว รสริน ศรีทับทิม สป.11
นางสาว รสริน ศรีทับทิม สป.11
PassakornPhonPraditk
 
อาหารประจำชาติอาเซียน
อาหารประจำชาติอาเซียนอาหารประจำชาติอาเซียน
อาหารประจำชาติอาเซียนwannakan23
 
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมthkitiya
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1prapatsarang
 
japan food
japan foodjapan food
japan food
Victor Ploy
 
อาหารไทย
อาหารไทยอาหารไทย
อาหารไทย
BoOm mm
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Matthew Tewin
 
งานคอมเสร็จแล้ว
งานคอมเสร็จแล้วงานคอมเสร็จแล้ว
งานคอมเสร็จแล้วMatthew Tewin
 
อาหารภาคใต้
อาหารภาคใต้อาหารภาคใต้
อาหารภาคใต้พัน พัน
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรกnarueporn
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรกnarueporn
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
เบลล์
เบลล์เบลล์
เบลล์
kanjana2323
 
อาหารพื้นเมือง
อาหารพื้นเมืองอาหารพื้นเมือง
อาหารพื้นเมือง
Rujruj
 

Similar to โภชนาการอาหาร ล าส ด (2) (19)

ชุติกาญจน์
ชุติกาญจน์ชุติกาญจน์
ชุติกาญจน์
 
น้ำฦน
น้ำฦนน้ำฦน
น้ำฦน
 
นางสาว รสริน ศรีทับทิม สป.11
นางสาว รสริน ศรีทับทิม สป.11นางสาว รสริน ศรีทับทิม สป.11
นางสาว รสริน ศรีทับทิม สป.11
 
อาหารประจำชาติอาเซียน
อาหารประจำชาติอาเซียนอาหารประจำชาติอาเซียน
อาหารประจำชาติอาเซียน
 
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
japan food
japan foodjapan food
japan food
 
อาหารไทย
อาหารไทยอาหารไทย
อาหารไทย
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอมเสร็จแล้ว
งานคอมเสร็จแล้วงานคอมเสร็จแล้ว
งานคอมเสร็จแล้ว
 
อาหารภาคใต้
อาหารภาคใต้อาหารภาคใต้
อาหารภาคใต้
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
Food
FoodFood
Food
 
อนุชา
อนุชาอนุชา
อนุชา
 
Wisdom2
Wisdom2Wisdom2
Wisdom2
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
 
เบลล์
เบลล์เบลล์
เบลล์
 
อาหารพื้นเมือง
อาหารพื้นเมืองอาหารพื้นเมือง
อาหารพื้นเมือง
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)

  • 3. ประเทศไทย ต้มยากุ้ง (Tom Yam Goong) แค่เอ่ยชื่อก็เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า ต้มยากุ้งเป็นอาหารคาวที่เหมาะ สาหรับรับประทานกับข้าวสวยร้อน ๆ กลิ่นหอมของสมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบในต้มยากุ้ง นอกจากจะทาให้รู้สึกสด ชื่นแล้ว ยังช่วยกระตุ้นการเจริญอาหารได้เป็นอย่างดี
  • 4. ประเทศกัมพูชา อาม็อก (Amok) เป็นอาหารคาวยอดนิยมของกัมพูชา มีลักษณะคล้ายห่อหมกของไทย โดยเป็นการนาเนื้อปลา สด ๆ ลวกพริกเครื่องแกง และกะทิ แล้วทาให้สุกโดยการนาไปนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้เนื้อปลาแล้ว อาจเลือกใช้เนื้อไก่ แทนก็ได้ ส่วนสาเหตุที่คนในประเทศกัมพูชานิยมรับประทานปลา เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของกัมพูชามีแหล่งน้า อุดมสมบูรณ์ ทาให้ปลาเป็นอาหารที่หารับประทานได้ง่ายนั่นเอง
  • 5. ประเทศบรูไน  อัมบูยัต (Ambuyat) เป็นอาหารยอดนิยมของบรูไน มีลักษณะเด่นอยู่ที่ตัวแป้งจะเหนียวข้นคล้ายข้าวต้ม หรือโจ๊ก โดยมี แป้งสาคูเป็นส่วนผสมหลัก ตัวแป้งอัมบูยัตเอง ไม่มีรสชาติ แต่ความอร่อยจะอยู่ที่การจิ้มกับซอสผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว นอกจากนี้ ยังมีเครื่องเคียงอีก 2-3 ชนิด เช่น ผักสด เนื้อห่อใบตองย่าง หรือเนื้อทอด ทั้งนี้ การรับประทานอัมบูยัตให้ได้รสชาติ ต้อง รับประทานตอนร้อน ๆ จึงจะดีที่สุด
  • 6. ประเทศพม่า หล่าเพ็ด (Lahpet) เป็นอาหารยอดนิยมของพม่า โดยการนาใบชาหมักมาทานกับเครื่องเคียง เช่น กระเทียมเจียว ถั่วชนิดต่าง ๆ งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว เรียกได้ว่า มีลักษณะคล้ายคลึงกับเมี่ยงคาของประเทศไทย ซึ่งหล่าเพ็ดนี้ จะเป็นเมนูอาหารที่ขาดไม่ได้ ในโอกาสพิเศษหรือเทศกาลสาคัญๆ ของประเทศพม่า โดยกล่าวกันว่า หากงานเลี้ยง หรืองานเฉลิมฉลองใดไม่มีหล่าเพ็ด จะถือว่า การนั้นเป็นงานที่ขาดความสมบูรณ์ไปเลยทีเดียว
  • 7. ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ อโดโบ้ (Adobo) เป็น อาหารยอดนิยมของประเทศฟิลิปปินส์ ทาจากเนื้อหมู หรือเนื้อไก่ ที่ผ่านการหมัก และปรุงรส โดยจะใส่น้าส้มสายชู ซีอิ๊วขาว กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดา นาไปทาให้สุกโดยอบในเตาอบ หรือทอด แล้วนามา รับประทานกับข้าวสวยร้อน ๆ ในอดีตอาหารจานนี้เป็นที่นิยมในหมู่นักเดินทาง เนื่องจากส่วนผสมของอโดโบ้สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เหมาะสาหรับ พกไว้เป็นเสบียงอาหารระหว่างการเดินทาง ซึ่งปัจจุบันอโดโบ้ได้กลายเป็นอาหารยอดนิยมที่นามารับประทานกันได้ทุกที่ทุก เวลา
  • 8. ประเทศสิงคโปร์ ลักซา(Laksa) อาหารขึ้นชื่อของประเทศสิงคโปร์ ลักซามีลักษณะคล้ายก๋วยเตี๋ยวต้มยาใส่กะทิ ทาให้รสชาติเข้มข้น คล้ายคลึง กับข้าวซอยของไทย โดยลักซาจะมีส่วนผสมของ กุ้งแห้งพริก กุ้งต้มและหอยแครง เหมาะสาหรับคนที่ชอบรับประทานอาหารทะเล เป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตามลักซามีทั้งแบบที่ใส่กะทิ และไม่ใส่กะทิ ทว่า แบบที่ใส่กะทิจะเป็นที่นิยมมากกว่า
  • 9. ประเทศอินโดนีเซีย กาโด กาโด (Gado Gado) อาหารยอดนิยมของประเทศอินโดนีเซีย ประกอบไปด้วยผัก และธัญพืช หลากหลายชนิด ทั้งแครอท มันฝรั่ง กะหล่าปลี ถั่วงอก ถั่วเขียว นอกจากนี้ยังมีเต้าหู้ และไข่ต้มสุกด้วย กาโด กาโดจะนามา รับประทานกับซอสถั่วที่คล้ายกับซอสสะเต๊ะ อย่างไรก็ตาม ด้วยเครื่องสมุนไพรในซอส อาทิ รากผักชี หอมแดง กระเทียม ตะไคร้ ทาให้เมื่อรับประทานแล้วจะไม่รู้สึกเลี่ยนกะทิมากจนเกินไปนั่นเอง
  • 10. ประเทศลาว สลัดหลวงพระบาง (Luang Prabang Salad) เป็นอาหารขึ้นชื่ออีกชนิดหนึ่ง เนื่องจากมีรสชาติกลาง ๆ ทา ให้รับประทานได้ทั้งชาวตะวันออก และตะวันตก โดยส่วนประกอบสาคัญคือ ผักน้า ซึ่งเป็นผักป่าที่ขึ้นตามริมธารน้าไหล และยังมี ส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น มันแกว แตงกวา มะเขือเทศ ไข่ต้ม ผักกาดหอม และหมูสับลวกสุก ส่วนวิธีปรุงรสคือ ราดด้วยน้าสลัด ชนิดใส คลุกส่วนผสมทั้งหมดเข้าด้วยกัน แล้วโรยหน้าด้วยกระเทียมเจียว และถั่วลิสงคั่ว
  • 11. ประเทศมาเลเซีย นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak) อาหารยอดนิยมของประเทศมาเลเซีย โดยนาซิ เลอมัก จะเป็นข้าวหุงกับกะทิ และ ใบเตย ทานพร้อมเครื่องเคียง 4 อย่าง ได้แก่ ปลากะตักทอดกรอบ แตงกวาหั่น ไข่ต้มสุก และถั่วอบ ซึ่งนาซิ เลอมักแบบดั้งเดิมจะ ห่อด้วยใบตอง และมักทานเป็นอาหารเช้า แต่ในปัจจุบัน กลายเป็นอาหารยอดนิยมที่ทานได้ทุกมื้อ และแพร่หลายในประเทศเพื่อน บ้านอีกหลายแห่ง เช่น สิงคโปร์ และภาคใต้ของไทยด้วย
  • 12. ประเทศเวียดนาม เปาะเปี๊ยะเวียดนาม (VietnameseSpring Rolls)ถือเป็นหนึ่งในอาหารพื้นเมืองที่โด่งดังที่สุดของประเทศเวียดนามความอร่อย ของเปาะเปี๊ยะเวียดนาม อยู่ที่การนาแผ่นแป้งซึ่งทาจากข้าวจ้าวมาห่อไส้ซึ่งอาจจะเป็นไก่ หมู กุ้ง หรือหมูยอ โดยนามารวมกับผัก สมุนไพรอีกหลายชนิด เช่น สะระแหน่ ผักกาดหอม และนามารับประทานคู่กับน้าจิ้มหวาน โดยจะมีถั่วคั่ว แครอทซอย ไชเท้าซอย ให้ เติมตามใจชอบ และบางครั้งอาจมีเครื่องเคียงอย่างอื่นเพิ่มด้วย
  • 13. ประเทศญี่ปุ่ น  ซูชิ หรือ ข้าวปั้นมีหน้า เป็นอาหารญี่ปุ่น ที่ข้าวมีส่วนผสมของน้าส้มสายชู และ กินคู่กับปลา เนื้อ หรือ ของคาวชนิดต่างๆ ใน ประเทศญี่ปุ่น ซูชิมักจะหมายถึงอาหารที่มีส่วนประกอบของซูชิเมะชิ (寿司飯,ข้าวที่ผสมน้าส้มสายชู) และมีหน้าแบบต่างๆ เป็นหน้า ที่นิยมได้แก่อาหารทะเล ผัก ไข่ เห็ด เนื้อที่ นามาใช้อาจจะเป็นเนื้อดิบ หรือ เนื้อที่ผ่านกระบวนการทาอาหารแล้ว สาหรับ ในประเทศอื่น และซูชิส่วนใหญ่มักใส่วาซาบิ บนข้าวเพื่อให้ได้ความอร่อยมากยิ่งขึ้นซูชิ หมายถึง การรวมกันระหว่างปลากับข้าว ซูชิมีวิวัฒนาการมาเมื่อหลายร้อยปีมาแล้วซึ่งเกิดจากความต้องการถนอมอาหารของคนญี่ปุ่น โดยซูชิ นิยมหมายถึง นิงิริซูชิ ที่เป็น ข้าวมาอัดเป็นก้อนและมีเนื้อปลาวางบนด้านหน้าเท่านั้น 
  • 14. ประเทศเกาหลี  "กิมจิ" เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สาหรับชาวเกาหลี  ดังนั้นเวลามีการเดินทางในต่างแดน ก็ไม่ลืมที่จะพกกิมจิติดตัวไปด้วย  "กิมจิ" จึงได้เริ่มแพร่หลายในวงกว้างโดยช่วงแรกเริ่มเข้าไปในประเทศใกล้เคียงก่อน  คือ ประเทศจีน รัสเซีย รัฐฮาวาย และญี่ปุ่น
  • 15. ประเทศจีน  ติ่มซา เป็นอาหารว่างของจีน นิยมรับประทานกับน้าชา (หยาฉ่า 飲茶 ว่า ดื่มน้ำชำ เสิร์ฟพร้อมติ่มซา)ที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก เป็นคาเรียกรวมอาหารหลายอย่าง มักเป็นอาหารจาพวกปรุงด้วยการนึ่ง เช่น ขนมจีบ, ซาลาเปา, ฮะเก๋า,เกี๊ยวซ่า เป็นต้น บรรจุใน ภาชนะขนาดเล็ก เช่น เข่งไม้ไผ่ หรือจานใบเล็ก ในร้านอาหารจีนบางร้านนึ่งติ่มซาไว้บนเตารอลูกค้าสั่งบางร้านใส่รถเข็นหรือใส่ ตะกร้าคล้องคอ ให้พนักงานนาไปเสนอลูกค้าในร้าน ขณะที่กาลังรออาหารอื่นนอกจากนั้นอาหารทอดบางอย่างก็อาจรวมอยู่ใน เมนูติ่มชาด้วย
  • 16. ประเทศอิตาลี  พิซซาป็นอาหารประจาชาติของประเทศอิตาลี แบ่งตามประเภทของอาหารในแต่ละมื้อได้ดังนี้  อาหารว่างและของกินเล่นระหว่างมื้อที่เป็นที่รู้จักดีคือพิซซา โดยพิซซาในอิตาลีจะเป็นแผ่นแป้งอบทาซอสมะเขือเทศแต่งหน้า ด้วยเนื้อสัตว์มะเขือเทศ หรือเห็ด เน้นที่ชีสยืดเหนียวด้านบน
  • 17.  ประเทศฝรั่งเศส  ฟัวกรา เป็น อาหารประจาชาติของประเทศฝรั่งเศส  ฟัวกรา(ฝรั่งเศส: foie gras, เสียงอ่านภาษาฝรั่งเศส: [fwɑgʁɑ] แปลว่า "ตับที่มีไขมันสูง") คือตับห่านหรือเป็ดที่ถูกเลี้ยงให้อ้วน เกิน ฟัวกราได้ชื่อว่าเป็นอาหารฝรั่งเศสที่ดีที่สุด เช่นเดียวกับทรัฟเฟิล มีลักษณะนุ่มมันและมีรสชาติที่แตกต่างจากตับของเป็ดหรือ ห่านธรรมดา
  • 18. ประเทศสเปน  อาหาร สเปนประกอบด้วยอาหารหลายประเภท ซึ่งเป็นผลมาจากความแตกต่างทางด้านภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม และภูมิอากาศเช่น อาหารทะเลก็หาได้จากพื้นน้าที่ล้อมรอบประเทศอยู่นั้นและเนื่องจากประเทศสเปนมีประวัติความเป็นมายาวนานรวมทั้ง วัฒนธรรมที่แตกต่าง กันซึ่งทยอยเข้ามามีอิทธิพลในดินแดนนี้ อาหารสเปนจึงมีความหลากหลายอย่างยิ่งแต่เครื่องปรุงและ ส่วนผสมต่าง ๆ เหล่านั้นก็ได้ประกอบกันขึ้นเป็นอาหารประจาชาติที่มีความเป็นเอกลักษณ์ พร้อมทั้งตารับการประกอบอาหารและ รสชาตินับพัน อิทธิพลส่วนมากในอาหารสเปนมาจากวัฒนธรรมยิวและมัวร์ พวกมัวร์เป็นชาวมุสลิมจากแอฟริกาซึ่งเคยมีอานาจ ปกครองสเปนอยู่หลายศตวรรษ และอาหารของพวกมัวร์ก็ยังคงมีรับประทานกันอยู่จนทุกวันนี้
  • 19. ประเทศสวีเดน  ปลาherring ผักชีฝรั่งและมะนาว  แต่ที่ขึ้นชื่อจริงๆและไม่ควรพลาดที่จะลิ้มรสก็คือSwedish meatball หรือที่เรียกกันว่า Köttbullar น่าตาก็คล้ายกับลูกชิ้นบ้านเรา แต่ลูกชิ้นของสวีเดนจะเป็นลูกชิ้นที่ปรุงรสแล้วมีทั้งเนื้อหมู, เนื้อไก่และเนื้อวัว รับประทานกับมันฝรั่ง ซอสและควบคู่ไปกับแยม ผลไม้แยมจะมีรสหวานทานง่าย คนสวีเดนส่วนใหญ่จะทานเนื้อสัตว์กับแยมผลไม้เพื่อเป็นการเพิ่มรสชาติของอาหารและแก้เลี่ยน ไปในตัว
  • 20.  ประเทศจีน  ติ่มซา เป็นอาหารว่างของจีน นิยมรับประทานกับน้าชา (หยาฉ่า 飲茶 ว่า ดื่มน้ำชำ เสิร์ฟพร้อมติ่มซา)ที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก เป็นคาเรียกรวมอาหารหลายอย่าง มักเป็นอาหารจาพวกปรุงด้วยการนึ่ง เช่น ขนมจีบ, ซาลาเปา, ฮะเก๋า,เกี๊ยวซ่า เป็นต้น บรรจุใน ภาชนะขนาดเล็ก เช่น เข่งไม้ไผ่ หรือจานใบเล็ก ในร้านอาหารจีนบางร้านนึ่งติ่มซาไว้บนเตารอลูกค้าสั่งบางร้านใส่รถเข็นหรือใส่ ตะกร้าคล้องคอ ให้พนักงานนาไปเสนอลูกค้าในร้าน ขณะที่กาลังรออาหารอื่นนอกจากนั้นอาหารทอดบางอย่างก็อาจรวมอยู่ใน เมนูติ่มชาด้วย
  • 21. ประเทศฮังการี  ทามาจากเนี้อหมู ไก่งวง หรือเนื้อก็มี นอกจากนี้ก็มี Toltottkaposztaหรือ กะหล่าปลีห่อข้าวรสเปรี้ยว อีกด้วย เมื่อลองอาหารคาว แล้ว อย่าลืมชิมขนมพื้นเมืองที่ขึ้นชื่อของฮังการีด้วยเช่นLangose เป็นแป้งเหนียวๆ ป้ายด้วยเนยกระเทียม ราดซอสมะเขือเทศ แล้ว โรยหน้าด้วยมอสเรลล่าชีส กลิ่นหอมรสชาติดีมากมายแต่ต้องทานร้อนๆหรืออาจลิ้มรส Stuffed Pancake (แพนเค้กสอดไส้) ที่ เลื่องลือมานานนับร้อยๆปีแล้ว และ Sponge Cake ก็อร่อยน่าลองไม่แพ้กันนักท่องเที่ยวอาจไปแวะชิมได้ตามร้านอาหารทั่วไปหรือ ภัตตาคารภายในที่พักในฮังการีของท่านก็ได้เช่นกัน
  • 22. อาหารประจาชาติอเมริกา  สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีผู้อพยพเข้ามาอยู่ตลอดเวลา อาหารในประเทศจึงมีความหลากหลายโดยอาหารพื้นเมือง ในสหรัฐอเมริกา หรืออาหารชาวอินเดียนแดงคืออาหารที่มีส่วนประกอบของไก่งวง มันสาปะหลังข้าวโพดและ ฟักทองโดยในปัจจุบันจากการอพยพจากประชากรจากฝั่งยุโรปเป็นจานวนมาก ซึ่งมีบทบาทสาคัญในส่วนของอาหาร อเมริกัน ซึ่งได้แก่อาหารหลายประเภท เช่น พายแอปเปิล พิซซา ชาวเดอร์ พาสตา แฮมเบอร์เกอร์
  • 23. ประเทศสวิตเซอร์แลนด์  ฟองดู (Fondue) อาหารมื้อแรกนี้มักจะนิยมรับประทานกันในฤดูหนาวเพราะมันคือขนมปังก้อนเล็กๆจุ่มลงไปในหม้อร้อนที่มีชีส อุ่นๆ ผสมกับเครื่องปรุงอย่างไวน์ขาว เหล้าเชอร์รี่ หรือเครื่องเทศอยู่  ซึ่งคนสวิสเค้าชอบบริโภคชีสกันมากเลยล่ะ เพราะฉะนั้นขอให้เป็นอะไรก็ได้มาจิ้มชีสอุ่นๆก็จะช่วยคลายหนาว และทาให้อิ่มท้อง ได้ด้วย
  • 24. ประเทศเม็กซิโก  ตอติญ่าที่ huevos rancheros ที่ทาจากแป้งข้าวโพดราดด้วยไข่ดาวและซอสranchera มักเสิร์ฟกับfrijolesอาหารจานนี้เกือบจะเป็นอาหารเช้ามาตรฐานตั้งแต่ Austin ถึง Sohoแต่ที่เม็กซิโกคุณมาสมารถสั่ง huevos ได้หลายแบบHuevos divorciados (ตามในรูปที่สั่งแยกออกเป็นไข่ฟองหนึ่ง ราดด้วย salsa rojaและอีกฟองหนึ่งราดด้วย alsa verde (ตรงกลางราดด้วยซอสที่ทาจากมะเขือเทศชนิดหนึ่ง)
  • 25. ประเทศอินเดีย  คุชราตีถาลี” อาหารพิเศษที่ขึ้นชื่อมากๆของอินเดียคืออาหารชุดแบบมังสวิรัติ มีเครื่องใส่ในถาดหลายอย่าง ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะเป็น อาหารประเภทข้าว แป้ง และแกงต่างๆถาลี (Thali)เป็นอาหารที่ ชาวอินเดียบอกว่าเป็นอาหารของคนจน เพราะว่า ตามปกตินั้น การสั่งอาหารนั้น กับข้าวอย่างหนึ่งมีราคาค่อนข้างแพงการจะสั่งหลายๆ เมนู ในครั้งเดียวได้นั้น ต้องถือว่า เป็นคนที่มีฐานะ พอสมควร แต่ทาอย่างไรได้ล่ะเมื่อมีเงินน้อย แต่อย่างรับประทานหลายๆ อย่าง จะทายังไงดี จึงเกิดเมนูขึ้นมีชื่อว่า ‘ถาด’ หรือ ถาลี
  • 26.  พฤติกรรมการรับประทานอาหาร (6)  บทวิเคราะห์  การทบทวนรายงานวิจัยในกลุ่มความอ้วนของนักศึกษาจานวน 6 เรื่อง พบว่า เป็นรายงานวิจัยที่ ศึกษา ในขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 4796 คน เป็นการศึกษาในประเทศเลบานอน จานวน 2 รายงาน ที่เหลือจากประเทศบราซิล ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา เยอรมัน โปแลนด์และบัลกาเรีย ประเทศละ 1 ฉบับ  วิธีการศึกษาทั้งหมดเป็นการศึกษาภาคตัดขวาง มีการใช้มุมมองสังคมการตลาด 1 รายงานเพื่อหากล ยุทธ์ในการณรงค์ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม4 มีรายงานศึกษาสิ่งแวดล้อมคือหอพักนักศึกษาที่เป็น แหล่งอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัย1 รายงาน2 มีรายงานเกี่ยวกับนิสัยการบริโภคอาหาร1 แรงจูงใจต่อการเลือกอาหาร4 ความสัมพันธ์กับสุขภาพจิต5 และการควบคุมน้าหนัก6 อย่างละ 1 รายงาน
  • 27.  ผลการวิเคราะห์พบข้อความรู้ว่าพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัย ยังมีจุดอ่อนทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพอาหาร รวม ถึงวิธีการควบคุมน้าหนัก โดยเฉพาะ ปัจจัยทางด้านจิตสังคม การนาความรู้ไปใช้ในการรณรงค์ควรเน้นการปรับปรุงภาพลักษณ์ เป็นเหตุผลสาคัญใน การเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
  • 28.  วัฒนธรรมอาหารการกินของคนไทย สภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้าลาคลองหลายสายไหลผ่าน จึงเป็นแหล่งเพาะปลูกข้าวชั้นเลิศแห่งหนึ่งของโลก ชีวิตคนไทยในอดีตล้วนผูกพันกับสายน้าอีกทั้ง ยังมี ชายฝั่งทะเลเหยียดยาวทั้งด้านอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน อันเป็นแหล่งอาหารประเภทปลานานา ชนิด ซึ่งเป็นที่มาของคาพังเพยเปรียบเปรยถึงความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารการกินของไทยว่า "ในน้ามีปลา ในนามีข้าว"