SlideShare a Scribd company logo
อาหารในประเทศไทย
“ต้มยำกุ้ง” ถือเป็นเมนูแรกๆ ที่ชาวโลกพูดถึงหากมีหัวข้อเกี่ยวกับอาหารไทย โดยต้มยานั้นถือเป็นอาหารประเภทแกง เน้นรสเปรี้ยวและเผ็ดเป็นหลัก ผสมกับความเค็มและหวานเล็กน้อย ส่วนใหญ่แล้วคนจะรู้จักต้มยากุ้งมากกว่าต้มยาที่ใส่ เนื้อสัตว์ชนิดอื่น ต้มยากุ้งจะมี 2 ประเภท คือ ต้มยาน้าใส และต้มยาน้าข้น ซึ่ง สันติ ได้ให้คาอธิบายไว้ว่า ต้มยาโบราณจริงๆ นั้นไม่ได้ใส่ น้าพริกเผาเหมือนในทุกวันนี้ และจะเป็นต้มยาน้าใส ที่ใส่มันกุ้งให้ดูสวยงามและเพิ่มรสชาติ ในช่วงหลัง เริ่มหามันกุ้งได้ยาก ขึ้นเพราะคนกินเยอะ เลยประยุกต์ใส่น้าพริกเผาลงไปแทนเพื่อให้สีสันสวยงาม และยังมีการใส่กะทิ หรือนมสด ลงไปในต้ม ยาในภายหลัง ถือเป็นการดัดแปลงและพัฒนาจากน้าใสมาเป็นน้าข้น ส่วนความหวาน เดิมจะได้รสหวานมาจากความสดของ กุ้ง แต่ปัจจุบันใส่ทั้งน้าพริกเผา นมสด และน้าตาล เพื่อให้ได้รสหวานมากขึ้น จนไม่ใช่รสชาติดั้งเดิมของต้มยากุ้ง
ส้มตา “คนไทยเราตามะละกอที่เรียกว่าส้มตามาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เนื่องจากได้มะละกอ และพริก ซึ่งมาจากอเมริกาใต้เหมือนกัน นามาตาพร้อมๆ กัน และสมัยก่อนก็ยังไม่มีการใส่ปลา ร้า ใส่มะกอก แต่จะตาแบบไทยๆ คือ ใส่มะนาวและน้าตาลปี๊บ เพราะคนไทยกินรส เปรี้ยวหวาน ส่วนส้มตาไทยแท้ๆ ก็จะใส่กุ้งแห้ง และถั่วลิสงด้วย แต่พอคนอีสานมาเห็นส้มตา ไทย ก็ปรับเปลี่ยนรสชาติตามที่ชอบ คือ คนอีสานจะกินรสเค็มเผ็ด จึงไม่ใส่น้าตาล และใส่ปลา ร้าเพิ่มเติม” สันติ กล่าวนอกจากส้มตาแบบพื้นฐานแล้ว ก็ยังมีการประยุกต์ส้มตาให้เป็นไปตาม แบบของแต่ละท้องถิ่น หรือตามรสชาติที่ชอบอีกด้วย อาทิ ส้มตาปูปลาร้า ตาซั่ว ตาป่า ตาไข่ เค็ม ส้มตาหอยดอง และส้มตาปูม้า หรือจะนาผัก-ผลไม้อื่นๆ มาใช้แทนมะละกอ เช่น ตามะม่วง ตากล้วย ตาแตง ตาถั่ว เป็นต้น
“ผัดไทย” เป็นอาหารอีกจานที่คนต่างชาติรู้จักกันมาก เนื่องจากชื่ออาหารที่ เรียกง่าย และบ่งบอกความเป็นอาหารไทยได้อย่างชัดเจน เมื่อเร็วๆ นี้ Hotels.com เว็บไซต์ด้านโรงแรมและการท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของโลก ได้สารวจอาหารชาติต่างๆ ที่นักท่องเที่ยวนิยมกินมากที่สุดระหว่างการเดินทาง ไปท่องเที่ยวยังต่างแดน ผลปรากฏว่า อาหารไทยติดอันดับที่ 7 และเมนู “ผัด ไทย” ก็ถือเป็นเมนูที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในบรรดาอาหารไทย อันที่จริงแล้วผัดไทยนั้นมีมาตั้งแต่โบราณ และเป็นหนึ่งในอาหาร จาพวกก๋วยเตี๋ยวผัด แต่เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไป และเป็นที่รู้จักของชาวต่างชาติ มากขึ้นในสมัยของ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ซึ่งเป็นช่วงที่สภาวะเศรษฐกิจของ ประเทศตกต่า จากสงครามโลกครั้งที่ 2 และได้มีการรณรงค์ให้หันมานิยมกิน ก๋วยเตี๋ยวแทน เพื่อลดการบริโภคข้าวภายในประเทศ และยังมีการเปลี่ยนชื่อให้ เป็น “ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย” เพื่อเน้นความนิยมไทยอีกด้วย
“แกงเขียวหวาน” เป็นแกงกะทิที่ถูกพัฒนามาจากแกงเผ็ดแบบดั้งเดิม คือ แกงเผ็ดจะใช้พริกแห้งสีแดงเป็นส่วนผสม จากนั้นก็เปลี่ยนมาใช้พริกสดสี เขียว และใส่ใบพริกสดตาลงไปพร้อมกับเครื่องแกงด้วย เพื่อให้มีสีเขียวที่ เด่นชัดขึ้น ชื่อแกงเขียวหวานมีที่มาจากสีเขียวของเครื่องแกง แต่คาว่า “หวำน” นั้น ไม่ได้หมายถึงรสชาติของอาหารแต่อย่างใด กลับหมายถึงเป็นแกงที่มีสีเขียว แบบหวาน คือเขียวนวลๆ ไม่ฉูดฉาด ส่วนรสชาติของเมนูนี้จะเน้นเค็มนา แล้วหวานตาม และจะมีความเผ็ดมากกว่าแกงเผ็ดชนิดอื่นเล็กน้อย เพราะใช้ พริกสดเป็นเครื่องแกง
“มัสมั่น” ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก จากการสารวจของเว็บไซต์ CNNGO ซึ่งก็กลายเป็น เมนูอาหารไทยที่ได้รับความนิยมในต่างแดนไปแล้ว แม้ว่าปัจจุบัน มัสมั่นจะมีสัญชาติเป็นอาหารไทย แต่ จุดเริ่มต้นของมัสมั่นนั้นต้นตารับมาจากอินเดีย แต่ในประเทศไทยนั้นเกิดในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งนาเข้ามาโดยชาวเปอร์เซีย แกงมัสมั่นแบบต้นตารับจะมีรสชาติออกเค็มมัน และนิยมใช้เนื้อวัวมาปรุง ส่วนมัสมั่นของไทยจะมีรส หวานนา และลดปริมาณเครื่องเทศให้น้อยลง และในปัจจุบันมีการเลือกใช้เนื้อสัตว์ที่หลากหลายมากขึ้น ถือ เป็นการปรับรสชาติให้เข้ากับความชื่นชอบของคนไทย นับได้ว่าอาหารไทย 5 เมนูนี้ เป็นจุดเริ่มต้นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้ชาวต่างชาติรู้จักอาหารไทยที่หลากหลาย มากขึ้น ซึ่งเป็นผลดีกับการที่จะทาให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก และยังช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจของไทยอีก ด้วย
“ ข้าวซอย “ คืออาหารพื้นเมืองทางภาคเหนือของประเทศ ไทย เดิมเรียกว่า "ก๋วยเตี๋ยวฮ่อ"[1] เป็นอาหารที่คล้ายเส้นบะหมี่ ใน น้าซุปที่ใส่เครื่องแกง รสจัดจ้าน มีเครื่องเคียงได้แก่ ผักกาดดอง หอมหัวแดง และมีเครื่องปรุงรส เช่น พริกผัดน้ามัน น้ามะนาว น้าปลา น้าตาล ในตารับดั้งเดิมเนื้อที่ใช้เป็นเนื้อไก่หรือเนื้อวัว แต่ ในปัจจุบันร้านอาหารหลายแห่งได้มีการใช้เนื้อหมูแทน บางแห่ง อาจเพิ่มอาหารทะเลหรือเต้าหู้เป็นส่วนประกอบ อาหารจานนี้มัก ไม่ค่อยมีจาหน่ายในร้านอาหารไทยในต่างประเทศ จะพบบ่อยก็ แต่ทางภาคเหนือของไทย
“ แกงหมูชะมวง “ เมนูนี้มีชื่อมาจากสมุนไพรพื้นบ้านอย่างใบ ชะมวงซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักของเมนูนี้ รสชาติของแกงหมู ชะมวงจะมีรสหวานเค็มและเปรี้ยวนิด ๆ ที่ได้จากใบชะมวง หมูที่ นามาเคี่ยวจนเปื่อยส่วนใหญ่จะใช้หมูสามชั้นนุ่มลิ้น ปรุงให้ รสชาติเข้มข้น หอม มันเหมาะกับข้าวสวย หากใครสนใจอยากกิน แกงหมูชะมวงรสดั้งเดิม
“ ลำบ ” เป็นอาหารท้องถิ่นทางภาคอีสานและภาคเหนือ(รวมถึง ประเทศลาวและสิบสองปันนา) โดยนาเนื้อมาสับให้ละเอียดแล้ว คลุกกับเครื่องปรุง ซึ่งเนื้อที่มาทาลาบเป็นเนื้อหลายชนิด เช่น เนื้อ ไก่ เนื้อเป็ด เนื้อวัว เนื้อควาย เนื้อปลา เนื้อหมู และเนื้อนก นอกจากนี้ยังสามารถลาบสัตว์จาพวก กวาง เช่น ละมั่ง กระจง เก้ง หรือแม้แต่บึ้ง ก็นามาลาบได้เช่นกัน ลาบ นิยมกินคู่กับข้าวเหนียว
“ ข้าวยา “ อาหารสมุนไพรพื้นบ้าน มีส่วนผสมหลากหลายครบ โภชนาการ เรียกว่าเป็นเมนูสุขภาพก็ว่าได้ โดดเด่นด้วยน้าบูดูรส กลมกล่อม ราดบนข้าวสวยร้อน ๆ กินคู่ผักตามชอบ แต่ที่นิยมกิน จะเป็นพวก ถั่วฝักยาว ถั่วงอก ถั่วพลู แตงกวา ตะไคร้ ใบมะกรูด ที่ ทามาซอยเพื่อให้ง่ายต่อการกิน กินคู่กับ กุ้งแห้งป่น มะพร้าวคั่ว เพิ่มความหอมมัน และส้มโอเพิ่มรสเปรี้ยวนิด ๆ เวลากินคลุก ส่วนผสมทั้งหมดให้เข้ากันยิ่งทาให้อร่อย ครบรส ยิ่งกินยิ่งเพลิน

More Related Content

What's hot

Proaroitiddown
ProaroitiddownProaroitiddown
อาหารไทย
อาหารไทยอาหารไทย
อาหารไทย
BoOm mm
 
อาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลางอาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลางพัน พัน
 
ลูกอมสมุนไพรกานพลู
ลูกอมสมุนไพรกานพลูลูกอมสมุนไพรกานพลู
ลูกอมสมุนไพรกานพลู
Nun Protozoa
 
ลูกอมสมุนไพร1
ลูกอมสมุนไพร1ลูกอมสมุนไพร1
ลูกอมสมุนไพร1
Nun Protozoa
 
อาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาคอาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาค
0870061155
 

What's hot (8)

06 food-additive[1]
06 food-additive[1]06 food-additive[1]
06 food-additive[1]
 
Proaroitiddown
ProaroitiddownProaroitiddown
Proaroitiddown
 
อาหารไทย
อาหารไทยอาหารไทย
อาหารไทย
 
อาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลางอาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลาง
 
ตย.1
ตย.1ตย.1
ตย.1
 
ลูกอมสมุนไพรกานพลู
ลูกอมสมุนไพรกานพลูลูกอมสมุนไพรกานพลู
ลูกอมสมุนไพรกานพลู
 
ลูกอมสมุนไพร1
ลูกอมสมุนไพร1ลูกอมสมุนไพร1
ลูกอมสมุนไพร1
 
อาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาคอาหารสี่ภาค
อาหารสี่ภาค
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

เบลล์

  • 2. “ต้มยำกุ้ง” ถือเป็นเมนูแรกๆ ที่ชาวโลกพูดถึงหากมีหัวข้อเกี่ยวกับอาหารไทย โดยต้มยานั้นถือเป็นอาหารประเภทแกง เน้นรสเปรี้ยวและเผ็ดเป็นหลัก ผสมกับความเค็มและหวานเล็กน้อย ส่วนใหญ่แล้วคนจะรู้จักต้มยากุ้งมากกว่าต้มยาที่ใส่ เนื้อสัตว์ชนิดอื่น ต้มยากุ้งจะมี 2 ประเภท คือ ต้มยาน้าใส และต้มยาน้าข้น ซึ่ง สันติ ได้ให้คาอธิบายไว้ว่า ต้มยาโบราณจริงๆ นั้นไม่ได้ใส่ น้าพริกเผาเหมือนในทุกวันนี้ และจะเป็นต้มยาน้าใส ที่ใส่มันกุ้งให้ดูสวยงามและเพิ่มรสชาติ ในช่วงหลัง เริ่มหามันกุ้งได้ยาก ขึ้นเพราะคนกินเยอะ เลยประยุกต์ใส่น้าพริกเผาลงไปแทนเพื่อให้สีสันสวยงาม และยังมีการใส่กะทิ หรือนมสด ลงไปในต้ม ยาในภายหลัง ถือเป็นการดัดแปลงและพัฒนาจากน้าใสมาเป็นน้าข้น ส่วนความหวาน เดิมจะได้รสหวานมาจากความสดของ กุ้ง แต่ปัจจุบันใส่ทั้งน้าพริกเผา นมสด และน้าตาล เพื่อให้ได้รสหวานมากขึ้น จนไม่ใช่รสชาติดั้งเดิมของต้มยากุ้ง
  • 3. ส้มตา “คนไทยเราตามะละกอที่เรียกว่าส้มตามาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เนื่องจากได้มะละกอ และพริก ซึ่งมาจากอเมริกาใต้เหมือนกัน นามาตาพร้อมๆ กัน และสมัยก่อนก็ยังไม่มีการใส่ปลา ร้า ใส่มะกอก แต่จะตาแบบไทยๆ คือ ใส่มะนาวและน้าตาลปี๊บ เพราะคนไทยกินรส เปรี้ยวหวาน ส่วนส้มตาไทยแท้ๆ ก็จะใส่กุ้งแห้ง และถั่วลิสงด้วย แต่พอคนอีสานมาเห็นส้มตา ไทย ก็ปรับเปลี่ยนรสชาติตามที่ชอบ คือ คนอีสานจะกินรสเค็มเผ็ด จึงไม่ใส่น้าตาล และใส่ปลา ร้าเพิ่มเติม” สันติ กล่าวนอกจากส้มตาแบบพื้นฐานแล้ว ก็ยังมีการประยุกต์ส้มตาให้เป็นไปตาม แบบของแต่ละท้องถิ่น หรือตามรสชาติที่ชอบอีกด้วย อาทิ ส้มตาปูปลาร้า ตาซั่ว ตาป่า ตาไข่ เค็ม ส้มตาหอยดอง และส้มตาปูม้า หรือจะนาผัก-ผลไม้อื่นๆ มาใช้แทนมะละกอ เช่น ตามะม่วง ตากล้วย ตาแตง ตาถั่ว เป็นต้น
  • 4. “ผัดไทย” เป็นอาหารอีกจานที่คนต่างชาติรู้จักกันมาก เนื่องจากชื่ออาหารที่ เรียกง่าย และบ่งบอกความเป็นอาหารไทยได้อย่างชัดเจน เมื่อเร็วๆ นี้ Hotels.com เว็บไซต์ด้านโรงแรมและการท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของโลก ได้สารวจอาหารชาติต่างๆ ที่นักท่องเที่ยวนิยมกินมากที่สุดระหว่างการเดินทาง ไปท่องเที่ยวยังต่างแดน ผลปรากฏว่า อาหารไทยติดอันดับที่ 7 และเมนู “ผัด ไทย” ก็ถือเป็นเมนูที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในบรรดาอาหารไทย อันที่จริงแล้วผัดไทยนั้นมีมาตั้งแต่โบราณ และเป็นหนึ่งในอาหาร จาพวกก๋วยเตี๋ยวผัด แต่เริ่มเป็นที่รู้จักกันทั่วไป และเป็นที่รู้จักของชาวต่างชาติ มากขึ้นในสมัยของ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ซึ่งเป็นช่วงที่สภาวะเศรษฐกิจของ ประเทศตกต่า จากสงครามโลกครั้งที่ 2 และได้มีการรณรงค์ให้หันมานิยมกิน ก๋วยเตี๋ยวแทน เพื่อลดการบริโภคข้าวภายในประเทศ และยังมีการเปลี่ยนชื่อให้ เป็น “ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย” เพื่อเน้นความนิยมไทยอีกด้วย
  • 5. “แกงเขียวหวาน” เป็นแกงกะทิที่ถูกพัฒนามาจากแกงเผ็ดแบบดั้งเดิม คือ แกงเผ็ดจะใช้พริกแห้งสีแดงเป็นส่วนผสม จากนั้นก็เปลี่ยนมาใช้พริกสดสี เขียว และใส่ใบพริกสดตาลงไปพร้อมกับเครื่องแกงด้วย เพื่อให้มีสีเขียวที่ เด่นชัดขึ้น ชื่อแกงเขียวหวานมีที่มาจากสีเขียวของเครื่องแกง แต่คาว่า “หวำน” นั้น ไม่ได้หมายถึงรสชาติของอาหารแต่อย่างใด กลับหมายถึงเป็นแกงที่มีสีเขียว แบบหวาน คือเขียวนวลๆ ไม่ฉูดฉาด ส่วนรสชาติของเมนูนี้จะเน้นเค็มนา แล้วหวานตาม และจะมีความเผ็ดมากกว่าแกงเผ็ดชนิดอื่นเล็กน้อย เพราะใช้ พริกสดเป็นเครื่องแกง
  • 6. “มัสมั่น” ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก จากการสารวจของเว็บไซต์ CNNGO ซึ่งก็กลายเป็น เมนูอาหารไทยที่ได้รับความนิยมในต่างแดนไปแล้ว แม้ว่าปัจจุบัน มัสมั่นจะมีสัญชาติเป็นอาหารไทย แต่ จุดเริ่มต้นของมัสมั่นนั้นต้นตารับมาจากอินเดีย แต่ในประเทศไทยนั้นเกิดในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งนาเข้ามาโดยชาวเปอร์เซีย แกงมัสมั่นแบบต้นตารับจะมีรสชาติออกเค็มมัน และนิยมใช้เนื้อวัวมาปรุง ส่วนมัสมั่นของไทยจะมีรส หวานนา และลดปริมาณเครื่องเทศให้น้อยลง และในปัจจุบันมีการเลือกใช้เนื้อสัตว์ที่หลากหลายมากขึ้น ถือ เป็นการปรับรสชาติให้เข้ากับความชื่นชอบของคนไทย นับได้ว่าอาหารไทย 5 เมนูนี้ เป็นจุดเริ่มต้นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้ชาวต่างชาติรู้จักอาหารไทยที่หลากหลาย มากขึ้น ซึ่งเป็นผลดีกับการที่จะทาให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก และยังช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจของไทยอีก ด้วย
  • 7. “ ข้าวซอย “ คืออาหารพื้นเมืองทางภาคเหนือของประเทศ ไทย เดิมเรียกว่า "ก๋วยเตี๋ยวฮ่อ"[1] เป็นอาหารที่คล้ายเส้นบะหมี่ ใน น้าซุปที่ใส่เครื่องแกง รสจัดจ้าน มีเครื่องเคียงได้แก่ ผักกาดดอง หอมหัวแดง และมีเครื่องปรุงรส เช่น พริกผัดน้ามัน น้ามะนาว น้าปลา น้าตาล ในตารับดั้งเดิมเนื้อที่ใช้เป็นเนื้อไก่หรือเนื้อวัว แต่ ในปัจจุบันร้านอาหารหลายแห่งได้มีการใช้เนื้อหมูแทน บางแห่ง อาจเพิ่มอาหารทะเลหรือเต้าหู้เป็นส่วนประกอบ อาหารจานนี้มัก ไม่ค่อยมีจาหน่ายในร้านอาหารไทยในต่างประเทศ จะพบบ่อยก็ แต่ทางภาคเหนือของไทย
  • 8. “ แกงหมูชะมวง “ เมนูนี้มีชื่อมาจากสมุนไพรพื้นบ้านอย่างใบ ชะมวงซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักของเมนูนี้ รสชาติของแกงหมู ชะมวงจะมีรสหวานเค็มและเปรี้ยวนิด ๆ ที่ได้จากใบชะมวง หมูที่ นามาเคี่ยวจนเปื่อยส่วนใหญ่จะใช้หมูสามชั้นนุ่มลิ้น ปรุงให้ รสชาติเข้มข้น หอม มันเหมาะกับข้าวสวย หากใครสนใจอยากกิน แกงหมูชะมวงรสดั้งเดิม
  • 9. “ ลำบ ” เป็นอาหารท้องถิ่นทางภาคอีสานและภาคเหนือ(รวมถึง ประเทศลาวและสิบสองปันนา) โดยนาเนื้อมาสับให้ละเอียดแล้ว คลุกกับเครื่องปรุง ซึ่งเนื้อที่มาทาลาบเป็นเนื้อหลายชนิด เช่น เนื้อ ไก่ เนื้อเป็ด เนื้อวัว เนื้อควาย เนื้อปลา เนื้อหมู และเนื้อนก นอกจากนี้ยังสามารถลาบสัตว์จาพวก กวาง เช่น ละมั่ง กระจง เก้ง หรือแม้แต่บึ้ง ก็นามาลาบได้เช่นกัน ลาบ นิยมกินคู่กับข้าวเหนียว
  • 10. “ ข้าวยา “ อาหารสมุนไพรพื้นบ้าน มีส่วนผสมหลากหลายครบ โภชนาการ เรียกว่าเป็นเมนูสุขภาพก็ว่าได้ โดดเด่นด้วยน้าบูดูรส กลมกล่อม ราดบนข้าวสวยร้อน ๆ กินคู่ผักตามชอบ แต่ที่นิยมกิน จะเป็นพวก ถั่วฝักยาว ถั่วงอก ถั่วพลู แตงกวา ตะไคร้ ใบมะกรูด ที่ ทามาซอยเพื่อให้ง่ายต่อการกิน กินคู่กับ กุ้งแห้งป่น มะพร้าวคั่ว เพิ่มความหอมมัน และส้มโอเพิ่มรสเปรี้ยวนิด ๆ เวลากินคลุก ส่วนผสมทั้งหมดให้เข้ากันยิ่งทาให้อร่อย ครบรส ยิ่งกินยิ่งเพลิน