SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ
ศึกษา 2552
แผนย่อยหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การคายนำ้าของพืช เวลา 2
คาบ ส.7-1
*****************************************************
*************************
1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (เฉพาะหน่วยการเรียนรู้)
1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของการคายนำ้าของ
พืชได้
2. นักเรียนสามารถระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายนำ้าของ
พืชได้
3. นักเรียนสามารถระบุประโยชน์ของการคายนำ้าที่พืชได้รับ
ได้
2. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
1. ซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
4. มีจิตสาธารณะ
3. แนวคิด
การคายนำ้า เป็นกระบวนการแพร่ของนำ้าในรูปไอนำ้าออกทาง
ปากใบ ซึ่งอยู่ระหว่างเซลล์คุม 2 เซลล์ ปากใบจะพบมากที่สุดทาง
ด้านท้องใบ คือด้านล่างของใบที่ไม่ได้รับแสง
4. สาระการเรียนรู้
การเปิดของปากใบ
ปากใบจะเปิดเมื่อเซลล์คุมซึ่งมีคลอโรพลาสต์อยู่ภายในเซลล์
ได้รับแสงสว่าง จึงเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงขึ้น ได้นำ้าตาล
กลูโคส ทำาให้ความเข้มข้นของสารภายในเซลล์คุมสูงกว่าความ
เข้มข้นของสารในเซลล์ข้างเคียง นำ้าจากเซลล์ข้างเคียงจึงออสโม
ซิสเข้าสู่เซลล์คุม ทำาให้เซลล์คุมเต่ง ปากใบจึงเปิดกว้าง
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายนำ้าของพืช
1. ชนิดของพืช พืชบางชนิดมีปากใบมาก ก็จะคายนำ้าได้
มาก
2. แสงสว่าง ถ้ามีความเข้มข้นของแสงสว่างมาก ปากใบก็จะ
เปิดได้กว้าง ทำาให้พืชคายนำ้าได้มาก
3. อุณหภูมิของอากาศ ถ้าอุณหภูมิสูงพืชจะคายนำ้าได้มาก
และรวดเร็ว
4. ความชื้นในอากาศ ถ้าในอากาศมีความชื้นสูง พืชจะคาย
นำ้าได้น้อย แต่ถ้าอากาศมีความชื้นน้อย พืชจะคายนำ้าได้
มาก
5. ลม ถ้ามีลมแรง พืชจะคายนำ้าได้มาก แต่ถ้าลมแรงจน
กลายเป็นลมพายุ ปากใบจะปิด ทำาให้พืชคายนำ้าได้น้อย
ลง
6. ความกดดันของอากาศ ถ้าความกดดันของอากาศตำ่า พืช
จะคายนำ้าได้มาก
7. ปริมาณนำ้าในดิน ถ้ามีนำ้าน้อย จะทำาให้พืชคายนำ้าน้อยไป
ด้วย
ประโยชน์ของการคายนำ้าที่พืชได้รับ
1. ช่วยให้การลำาเลียงนำ้าและแร่ธาตุขึ้นไปตามท่อลำาเลียง
นำ้าดีขึ้น
2. ช่วยลดอุณหภูมิภายในลำาต้นและใบ
3. ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่บริเวณผิวใบ
การคายนำ้าของพืชในรูปของหยดนำ้า (กัตเตชัน Guttation)
จะเกิดขึ้นในขณะที่สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะกับการคายนำ้าทาง
ปากใบ เช่น อากาศมีความชื้นมาก พืชจะกำาจัดนำ้าออกมาใน
รูปหยดนำ้าทางรูเล็กๆ ที่บริเวณปลายของเส้นใบ เช่น การ
เกิดกัตเตชันที่บริเวณปลายใบของต้นหญ้า ต้นบอน ต้นสตอ
เบอรี่ เป็นต้น
5. กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนำา (10 นาที)
1. ครูแจกกระดาษให้นักเรียนคนละ 1 แผ่น เพื่อใช้ตอบ
คำาถาม
2. ครูให้นักเรียนดูภาพการคายนำ้าของพืช จากนั้นถาม
นักเรียนเห็นอะไรจากภาพ และ
คิดว่าคืออะไร โดยให้นักเรียนเขียนลงในกระดาษที่แจกให้
3. ครูเก็บกระดาษคำาตอบจากนักเรียนและเลือกมาอ่าน 4-5
คำาตอบ
4. ครูกล่าวว่า “ในคาบเรียนนี้เราจะมาศึกษากันว่าสิ่งที่
”นักเรียนได้เห็นในภาพนี้คืออะไร
ขั้นสอน (70 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าการคายนำ้าคืออะไร
2. ครูให้นักเรียนดูลูกโป่ง 2 ใบติดกันที่มีลมอยู่น้อย จากนั้น
ให้นักเรียนดูลูกโป่ง 2 ใบที่มีลมเยอะมาก จากนั้นถาม
นักเรียนว่านักเรียนสังเกตเห็นอะไร (ลูกโป่งที่มีลมน้อยจะ
อยู่ชิดกัน แต่ถ้าลูกโป่งที่มีลมมากจะอยู่ห่างกัน ไม่แนบชิด
กัน)
3. ครูอธิบายเรื่องของการคายนำ้า และการเปิดของปากใบว่า
มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
4. ครูถามนักเรียนว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายนำ้าของพืช
คืออะไร (ชนิดของพืช แสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น ลม
ความกดดันอากาศ ปริมาณนำ้าในดิน)
5. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่าการคายนำ้าของพืชมี
ประโยชน์อย่างไร (ช่วยลำาเลียงนำ้า และแร่ธาตุ ช่วยลด
อุณหภูมิภายในลำาต้น ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่ผิวใบ)
6. ครูแจกใบงานเรื่อง การคายนำ้าของพืช ให้นักเรียนทำา
ขั้นสรุป (10 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน เรื่องการคายนำ้าของ
พืช
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องการคายนำ้าของพืช ให้
เป็นที่เข้าใจตรงกันอีกครั้งหนึ่ง
6. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้
- หนังสือเสริมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๑
- รูปภาพการคายนำ้าของพืช
- ลูกโป่ง
- ใบงาน เรื่องการคายนำ้าของพืช
7. การวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการทำากิจกรรมในชั้นเรียน
เช่น การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การซักถามและตอบคำาถามของ
นักเรียน
8. บันทึกหลังการสอน (วิจัยชั้นเรียน)
1. ปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
............................. ....................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
2. แนวทาง / วิธีการสอน / รูปแบบการสอน /
เทคนิคที่ใช้พัฒนาหรือแก้ปัญหา
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
......................
3. ผลที่เกิดขึ้น
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
.................................... .............................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน
ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท
ศก์สถานศึกษา
ลงชื่อ...................................................วิชาการ
ลงชื่อ...................................................วิชาการ

More Related Content

What's hot

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชWichai Likitponrak
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
Wichai Likitponrak
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
kroofon fon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชdnavaroj
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันAomiko Wipaporn
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 

What's hot (20)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์Microsoft word   ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
Microsoft word ใบงาน การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืช
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
Unit3 3.1อายุทางธรณีppt
Unit3 3.1อายุทางธรณีpptUnit3 3.1อายุทางธรณีppt
Unit3 3.1อายุทางธรณีppt
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกันใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
ใบกิจกรรมที่ 10 กลไกภูมิคุ้มกัน
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 

Similar to แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์Wann Rattiya
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 

Similar to แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช (10)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 12 เรื่องการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุของพืช
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 

More from Wann Rattiya

The impact of environment
The impact of environmentThe impact of environment
The impact of environment
Wann Rattiya
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องWann Rattiya
 
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองพฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองWann Rattiya
 
Strategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyStrategic Planning : Disney
Strategic Planning : Disney
Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารWann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากWann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่Wann Rattiya
 

More from Wann Rattiya (11)

The impact of environment
The impact of environmentThe impact of environment
The impact of environment
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่อง
 
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองพฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
 
Strategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyStrategic Planning : Disney
Strategic Planning : Disney
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
 
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
 

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช

  • 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ ศึกษา 2552 แผนย่อยหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การคายนำ้าของพืช เวลา 2 คาบ ส.7-1 ***************************************************** ************************* 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (เฉพาะหน่วยการเรียนรู้) 1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของการคายนำ้าของ พืชได้ 2. นักเรียนสามารถระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายนำ้าของ พืชได้ 3. นักเรียนสามารถระบุประโยชน์ของการคายนำ้าที่พืชได้รับ ได้ 2. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มีจิตสาธารณะ 3. แนวคิด การคายนำ้า เป็นกระบวนการแพร่ของนำ้าในรูปไอนำ้าออกทาง ปากใบ ซึ่งอยู่ระหว่างเซลล์คุม 2 เซลล์ ปากใบจะพบมากที่สุดทาง ด้านท้องใบ คือด้านล่างของใบที่ไม่ได้รับแสง 4. สาระการเรียนรู้ การเปิดของปากใบ ปากใบจะเปิดเมื่อเซลล์คุมซึ่งมีคลอโรพลาสต์อยู่ภายในเซลล์ ได้รับแสงสว่าง จึงเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงขึ้น ได้นำ้าตาล กลูโคส ทำาให้ความเข้มข้นของสารภายในเซลล์คุมสูงกว่าความ เข้มข้นของสารในเซลล์ข้างเคียง นำ้าจากเซลล์ข้างเคียงจึงออสโม ซิสเข้าสู่เซลล์คุม ทำาให้เซลล์คุมเต่ง ปากใบจึงเปิดกว้าง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายนำ้าของพืช
  • 2. 1. ชนิดของพืช พืชบางชนิดมีปากใบมาก ก็จะคายนำ้าได้ มาก 2. แสงสว่าง ถ้ามีความเข้มข้นของแสงสว่างมาก ปากใบก็จะ เปิดได้กว้าง ทำาให้พืชคายนำ้าได้มาก 3. อุณหภูมิของอากาศ ถ้าอุณหภูมิสูงพืชจะคายนำ้าได้มาก และรวดเร็ว 4. ความชื้นในอากาศ ถ้าในอากาศมีความชื้นสูง พืชจะคาย นำ้าได้น้อย แต่ถ้าอากาศมีความชื้นน้อย พืชจะคายนำ้าได้ มาก 5. ลม ถ้ามีลมแรง พืชจะคายนำ้าได้มาก แต่ถ้าลมแรงจน กลายเป็นลมพายุ ปากใบจะปิด ทำาให้พืชคายนำ้าได้น้อย ลง 6. ความกดดันของอากาศ ถ้าความกดดันของอากาศตำ่า พืช จะคายนำ้าได้มาก 7. ปริมาณนำ้าในดิน ถ้ามีนำ้าน้อย จะทำาให้พืชคายนำ้าน้อยไป ด้วย ประโยชน์ของการคายนำ้าที่พืชได้รับ 1. ช่วยให้การลำาเลียงนำ้าและแร่ธาตุขึ้นไปตามท่อลำาเลียง นำ้าดีขึ้น 2. ช่วยลดอุณหภูมิภายในลำาต้นและใบ 3. ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่บริเวณผิวใบ การคายนำ้าของพืชในรูปของหยดนำ้า (กัตเตชัน Guttation) จะเกิดขึ้นในขณะที่สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะกับการคายนำ้าทาง ปากใบ เช่น อากาศมีความชื้นมาก พืชจะกำาจัดนำ้าออกมาใน รูปหยดนำ้าทางรูเล็กๆ ที่บริเวณปลายของเส้นใบ เช่น การ เกิดกัตเตชันที่บริเวณปลายใบของต้นหญ้า ต้นบอน ต้นสตอ เบอรี่ เป็นต้น 5. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนำา (10 นาที) 1. ครูแจกกระดาษให้นักเรียนคนละ 1 แผ่น เพื่อใช้ตอบ คำาถาม 2. ครูให้นักเรียนดูภาพการคายนำ้าของพืช จากนั้นถาม นักเรียนเห็นอะไรจากภาพ และ คิดว่าคืออะไร โดยให้นักเรียนเขียนลงในกระดาษที่แจกให้ 3. ครูเก็บกระดาษคำาตอบจากนักเรียนและเลือกมาอ่าน 4-5 คำาตอบ 4. ครูกล่าวว่า “ในคาบเรียนนี้เราจะมาศึกษากันว่าสิ่งที่ ”นักเรียนได้เห็นในภาพนี้คืออะไร
  • 3. ขั้นสอน (70 นาที) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าการคายนำ้าคืออะไร 2. ครูให้นักเรียนดูลูกโป่ง 2 ใบติดกันที่มีลมอยู่น้อย จากนั้น ให้นักเรียนดูลูกโป่ง 2 ใบที่มีลมเยอะมาก จากนั้นถาม นักเรียนว่านักเรียนสังเกตเห็นอะไร (ลูกโป่งที่มีลมน้อยจะ อยู่ชิดกัน แต่ถ้าลูกโป่งที่มีลมมากจะอยู่ห่างกัน ไม่แนบชิด กัน) 3. ครูอธิบายเรื่องของการคายนำ้า และการเปิดของปากใบว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างไร 4. ครูถามนักเรียนว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคายนำ้าของพืช คืออะไร (ชนิดของพืช แสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น ลม ความกดดันอากาศ ปริมาณนำ้าในดิน) 5. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่าการคายนำ้าของพืชมี ประโยชน์อย่างไร (ช่วยลำาเลียงนำ้า และแร่ธาตุ ช่วยลด อุณหภูมิภายในลำาต้น ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่ผิวใบ) 6. ครูแจกใบงานเรื่อง การคายนำ้าของพืช ให้นักเรียนทำา ขั้นสรุป (10 นาที) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน เรื่องการคายนำ้าของ พืช 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องการคายนำ้าของพืช ให้ เป็นที่เข้าใจตรงกันอีกครั้งหนึ่ง 6. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ - หนังสือเสริมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๑ - รูปภาพการคายนำ้าของพืช - ลูกโป่ง - ใบงาน เรื่องการคายนำ้าของพืช 7. การวัดและประเมินผล - สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการทำากิจกรรมในชั้นเรียน เช่น การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การซักถามและตอบคำาถามของ นักเรียน
  • 4. 8. บันทึกหลังการสอน (วิจัยชั้นเรียน) 1. ปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ............................. .................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................ 2. แนวทาง / วิธีการสอน / รูปแบบการสอน / เทคนิคที่ใช้พัฒนาหรือแก้ปัญหา .......................................................................... .................................................................................. ..................................................................................
  • 5. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ...................... 3. ผลที่เกิดขึ้น .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................... ............................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................ ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท ศก์สถานศึกษา