SlideShare a Scribd company logo
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
นางเอเดียน คุณาสิทธิ์
โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง
อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
ข
คานา
ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23101 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่เน้นทักษะการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติ
กิจกรรมได้ตามความสนใจ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี จานวน 8 ชุด เวลาเรียน 24 ชั่วโมง ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
2. ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง)
4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
5. ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
6. ชุดกิจกรรมที่ 6 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
7. ชุดกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช(เวลา3ชั่วโมง)
8. ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช (เวลา 3 ชั่วโมง)
ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช ในการใช้ชุด
กิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติตามคาชี้แจงของชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียดโดยปฏิบัติกิจกรรม
ตามลาดับที่ของชุดกิจกรรม
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ปก ............................................................................................................................................ ก
คานา......................................................................................................................................... ข
สารบัญ..................................................................................................................................... ค
สารบัญภาพประกอบ..................................................................................................................ง
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... จ
คาชี้แจงสาหรับครู .....................................................................................................................ฉ
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน..................................................................................................................ช
แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน........................................................................................................... ซ
ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช......................................................1
ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช...............................................................2
กิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช..............................................................13
ตอนที่1เรื่องเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืชและการปรับปรุงพันธุ์พืช...13
ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ....14
แนวการตอบกิจกรรมที่ 8...............................................................................................................17
เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 8..................................................................................................20
บรรณานุกรม..................................................................................................................................21
ง
สารบัญภาพประกอบ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 8.1 การปลูกพืชไร้ดิน..........................................................................................................1
ภาพที่ 8.2 ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ....................................................................................3
ภาพที่ 8.3 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในห้องปฏิบัติการ...............................................................4
ภาพที่ 8.4 มะเขือเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม(GMOs)............................................5
ภาพที่ 8.5 การปลูกพืชแบบขั้นบันได........................................................................................7
ภาพที่ 8.6 ด้วงเต่า......................................................................................................................8
ภาพที่ 8.7 มวนเพชฌฆาต..........................................................................................................8
ภาพที่ 8.8 ตั๊กแตนตาข้าวจับกินเหยื่อ.......................................................................................9
ภาพที่ 8.9 แมลงช้างปีกใส.........................................................................................................9
ภาพที่ 8.10 แมลงปอ................................................................................................................9
ภาพที่ 8.11 มดกินแมลง............................................................................................................9
ภาพที่ 8.12 แตนเบียน.................................................................................................................9
ภาพที่ 8.13 แมลงเบียนหนอนดักแด้..........................................................................................9
ภาพที่ 8.14 ผีเสื้อกลางคืนชนิดต่าง ๆ .....................................................................................10
ภาพที่ 8.15 การปลูกผักกวางตุ้งไร้ดิน..........................................................................................12
จ
ชุดกิจกรรมที่8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช มีส่วนประกอบที่สาคัญดังนี้
1. เป็นชุดกิจกรรมที่ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 และ 16(ในเล่มคู่มือการใช้)
2. ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
3. ใบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
ตอนที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืชและการปรับปรุง
พันธุ์พืช (1ชั่วโมง)
ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
ด้านต่าง ๆ ( 2 ชั่วโมง)
4. แนวการตอบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
5. เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมที่ 8
เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
ฉ
คาชี้แจงสาหรับครู
การใช้ชุดกิจกรรมเพื่อให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ สิ่งที่ครูผู้สอนต้องเตรียม
มีดังนี้
1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 และ 16 ในคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมให้ละเอียด
2. ศึกษาเนื้อหาและคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุด และปฏิบัติตามขั้นตอนใน
คาชี้แจงของกิจกรรมตามลาดับอย่าข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง
3. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในชุดกิจกรรมไว้ล่วงหน้าก่อนทาการเรียนการสอน
4. ครูจัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ตามแผนผังที่กาหนดไว้
โดยมีหัวหน้าประจาทุกกลุ่ม ผู้นากลุ่มอาจมีการผลัดเปลี่ยนกันแต่ละกลุ่มควรเป็นกลุ่มเดิมเพื่อจะได้
ทางานที่ต่อเนื่องกัน
5. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และรู้บทบาทหน้าที่ของตนในกลุ่ม
โดยไม่ให้ดูเฉลยก่อน หลังจากปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วจึงเปิดดูเฉลยได้และมีการแลกเปลี่ยนกัน
ตรวจตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม
6. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบ่งออกเป็น 5
ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นสารวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
4) ขั้นขยายความรู้ 5) ขั้นประเมินผล
7. ชุดกิจกรรมที่ 4 เป็นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเนื้อหาประจาหน่วย ซึ่ง
บูรณาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
ไปพร้อม ๆ กัน
8. ขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครูต้องคอยดูแลและแนะนาการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด
เมื่อนักเรียนพบปัญหาในการเรียนจะได้ช่วยแก้ไขปัญหาได้ทันที
9. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนเก็บสื่อและวัสดุอุปกรณ์ของ
แต่ละกลุ่มให้เรียบร้อย โดยเน้นการเก็บและดูแลรักษาความสะอาดฝึกให้เป็นระเบียบจนเป็นนิสัย
10. เมื่อสิ้นสุดการเรียนชุดกิจกรรมที่ 8 แล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
จานวน 40 ข้อซึ่งเป็นแบบทดสอบคู่ขนานกับแบบทดสอบก่อนเรียน
11. แจ้งผลการเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมทันทีที่ตรวจเสร็จแล้ว
ช
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
การใช้ชุดกิจกรรมนักเรียนควรทราบถึงบทบาทของตนเองดังนี้
1. ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียด
2. ศึกษาใบความรู้ที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช แล้วปฏิบัติกิจกรรม
ตามใบกิจกรรม ดังนี้
ตอนที่ 1 เรื่อง เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืชและ
การปรับปรุงพันธุ์พืช (1ชั่วโมง)
ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
ด้านต่าง ๆ ( 2 ชั่วโมง)
3. นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างจริงจังไม่เล่นหรือทาให้ล่าช้า
4. กิจกรรมการทดลองต้องทาตามขั้นตอนทุกขั้นตอนด้วยความระมัดระวังเพราะ
อุปกรณ์อาจแตกหรือเสียหายได้
5. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้นักเรียนส่งผลงานการทากิจกรรมให้ครูตรวจหรือ
แลกเปลี่ยนกันตรวจก่อนที่จะดาเนินการศึกษากิจกรรมต่อไป ถ้ามีอะไรชารุดเสียหายต้องแจ้งให้ครู
ทราบทันที
6. เมื่อทากิจกรรมเสร็จทั้ง 8 ชุดแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 40 ข้อ
เพื่อประเมินความรู้หลังเรียน
ซ
แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน
การประเมินผล
1. ประเมินจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน -หลังเรียน จานวน 40 ข้อ
2. ประเมินผลจากการทากิจกรรมที่ 8 ตอนที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวกับ
การขยายพันธุ์พืชและการปรับปรุงพันธุ์พืช ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด
3. ประเมินการทากิจกรรมการทดลองตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและ
การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด
4. สังเกตความสนใจและความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมและพฤติกรรมการทางาน
กลุ่มทุกครั้งที่เรียน
โต๊ะครู
กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 2
กลุ่มที่ 3
กลุ่มที่ 8
กลุ่มที่ 5
กลุ่มที่ 4
1
ชุดกิจกรรมที่ 8
เรื่องย่อยที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 – 16 (เวลา 3 ชั่วโมง)
คาชี้แจง
1. ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 8 ตอนที่ 1 เรื่อง การขยายพันธุ์และการปรับปรุง
พันธุ์พืชโดยการตอบคาถาม
2.ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 8 ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชโดย
การตอบคาถาม
3. ศึกษาใบความรู้ที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช แล้วร่วมกัน
อภิปราย เสนอแนะแนวทางการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพ
ที่เกี่ยวข้องกับพืช และการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
4. ตรวจคาตอบจากแนวการตอบ
ภาพที่ 8.1 การปลูกพืชไร้ดิน
(ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
2
ใบความรู้ที่ 8
เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืชแล้ว สามารถ
1. อธิบายและยกตัวอย่างเทคโนโลยีเกี่ยวกับการการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืชได้
2. อธิบายวิธีการเพิ่มผลผลิตพืชด้วยวิธีต่าง ๆ ได้
3. อธิบายเกี่ยวกับการป้ องกันกาจัดศัตรูพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชได้
4. ระบุประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย์
พลังงานและสิ่งแวดล้อมได้
5. ยกตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับพืชได้
1. เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เป็นการเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตให้มาก
ขึ้น โดยประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เพื่อประโยชน์เฉพาะอย่างตามที่มนุษย์ต้องการ เช่น
การขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืช การเพิ่มผลผลิตของพืชด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ เป็นต้น
1.1 การขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืช มีดังนี้
1) การผสมละอองเรณูทุเรียนพันธุ์หมอนทองกับละอองเกสรตัวเมียทุเรียนพันธุ์ชะนี
จะได้ทุเรียนพันธุ์ผสมที่ติดผลดก ผลสวยใหญ่ พูเกือบเต็มทุกพูและมีน้าหนักผลมาก
2) การผลิตแตงโมไร้เมล็ด โดยใช้สารคอลชิซิน (Colchicine) ความเข้มข้น 0.2% หยด
ที่ยอดต้นแตงโมปกติ ทาให้ได้เซลล์สืบพันธุ์ (ไข่) ต่างจากเดิม เมื่อผสมกับละอองเรณูกับต้นปกติ
จะได้แตงโมพันธุ์ใหม่และเมื่อนาเกสรตัวเมียไปผสมกับละอองเรณูของต้นปกติจะได้แตงโมไม่มีเมล็ด
3) การผลิตทุเรียนไร้หนาม โดยการใช้มีดสะกิดหรือตัดหนามออก เมื่อทุเรียนอายุได้
30 – 45 วัน หลังจากดอกบาน
3
1.1.1 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นวิธีขยายพันธุ์พืช โดยการนาชิ้นส่วนของใบ ราก หรือ
ต้นกล้า มาเลี้ยงบนวุ้นที่ประกอบด้วยอาหารสังเคราะห์และฮอร์โมนพืช เช่น ออกซิน (Auxin) และ
ไซโทไคนิน (Cytokinin) ในปริมาณที่เหมาะสม จะทาให้เกิดกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า แคลลัส (Callus)
เกิดขึ้น ถ้านาแคลลัสมาเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์จะมีปริมาณไซโทไคนินสูงกว่าปริมาณออกซิน
จะทาให้เกิดส่วนยอดของพืชขึ้น ถ้านาส่วนยอดไปเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ที่มีปริมาณ
ออกซินสูงกว่า ไซโทไคนิน จะทาให้เกิดส่วนรากขึ้น เมื่อทาการเพาะเลี้ยงต่อไปจะสามารถนาไป
ปลูกบนดินให้พืชเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยได้ ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีดังภาพที่ 8.2
ภาพที่ 8.2 ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
(ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 123)
4
ภาพที่ 8.3 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในห้องปฏิบัติการ
(ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อนิยมใช้กับพืชที่ประสบปัญหาเรื่องการขยายพันธุ์และโรคพืช
ปัจจุบันได้ใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาใช้กับพืชเศรษฐกิจหลายชนิด ได้แก่ กล้วยไม้ ข้าว
ต้นสัก ปาล์มน้ามัน หน่อไม้ฝรั่ง รวมทั้งไม้ดอกไม้ประดับ เช่น คาร์เนชัน เยอบีร่า บอน เป็นต้น
ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
1. มีประโยชน์โดยตรงในด้านวิจัยทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ประยุกต์และการเกษตร
2. ทาให้ได้พืชตรงตามพันธุ์เดิมในปริมาณมากภายในเวลาที่จากัด
3. สามารถปรับปรุงพันธุ์ให้ได้ตามต้องการโดยผ่านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชได้
4. สามารถผลิตพืชที่ปลอดจากโรคได้
5. สามารถเก็บรักษาพืชไว้ได้นาน ๆโดยใช้เนื้อเยื่อที่น้อย
อย่าลืมว่า.. อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ ประมาณ 23 – 28 องศาเซลเซียส และ
การฟอกชิ้นส่วนเพื่อฆ่าเชื้อโรคนิยมใช้สารละลาย
โซเดียมไฮโปคลอไรด์ 2%โดยแช่ชิ้นส่วน
นาน 13 – 15 นาที หรือใช้แอลกอฮอล์ 70%
แช่นาน 10 – 30 นาที นะครับ
5
1.1.2 พันธุวิศวกรรม (Genetic engineering)
พันธุวิศวกรรม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรมด้วยการตัดต่อ
ยีนและเปลี่ยนแปลงยีนภายในเซลล์ เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีสมบัติตามที่ต้องการ
พันธุวิศวกรรมมีประโยชน์ในการนามาใช้ปรับปรุงพันธุ์พืช เพื่อให้ได้สายพันธุ์ที่
ทนทานต่อความเค็มของดิน ต่อแมลง ต่อยากาจัดวัชพืช และให้คุณค่าทางอาหารที่ดีขึ้น เช่น การ
สร้างพันธุ์ข้าวโพดให้มีปริมาณของกรดอะมิโนบางชนิดสูงขึ้น การสร้างพันธุ์พืชใหม่ที่มีลักษณะ
ผสมระหว่างมะเขือเทศกับมันฝรั่ง เรียกว่า โทมาโท (tomato) หรือ โพมาโท (pomato)
1.1.3 พืชจาลองพันธุ์ (transgenic plant)
พืชจาลองพันธุ์ หมายถึง การไปจาลองหรือลอกแบบของยีนที่ต้องการมาให้แก่
พืช ทาให้ได้พืชที่มีลักษณะพิเศษเพิ่มขึ้นตามชนิดของยีน (gene) ที่นามาถ่ายทอดให้แก่พืช
พืชจาลองพันธุ์จัดเป็นจีเอ็มโอ (GMOs) ชนิดหนึ่ง จีเอ็มโอ (GMOs) เป็นชื่อเรียกคาย่อของ
Genetically Modified Organism หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม โดย
อาศัยเทคนิคทางพันธุกรรม (Genetic Engineering) ในบางกรณีมีการใช้คาว่า แอลเอ็มโอ (LMOs)
ซึ่งย่อมาจาก Living Modified Organisms ทั้งจีเอ็มโอและแอลเอ็มโอมีความหมายคล้ายคลึงกัน
แต่แอลเอ็มโอมุ่งเน้นความมีชีวิตอยู่ของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ในขณะที่จีเอ็มโอรวมไปถึงผลิตภัณฑ์ที่
เกิดขึ้นในสภาพที่ไม่มีชีวิตด้วย เช่น อาหารจีเอ็มโอ
ภาพที่ 8.4 มะเขือเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม(GMOs)
(ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
6
1.1.4 ข้อดีของพันธุ์พืช GMOs พืชที่มีการแปลงพันธุ์ มีประโยชน์ ดังนี้
1) ให้ผลผลิตตรงตามที่ต้องการและให้ผลผลิตสม่าเสมอ
2) ให้ผลผลิตได้ตลอดปี ไม่ขึ้นอยู่กับฤดูกาลและให้ผลผลิตมาก
3) สามารถต้านทานโรคและแมลงได้ดี เช่น พันธุ์ฝ้าย ข้าวโพด และมันฝรั่ง
ต้านทานแมลง พันธุ์มะละกอต้านไวรัส
4) ให้ผลผลิตที่มีคุณภาพ เช่น พันธุ์มะเขือเทศที่ได้รับยีนสุกงอมช้าเข้าไป
จะสามารถเก็บไว้ได้นานและส่งไปจาหน่ายที่ไกลๆได้
5) สามารถควบคุมให้ผลิตสารพิเศษใด ๆ มากขึ้นหรือลดการผลิตสารได้
เช่น พันธุ์ข้าวที่ลดการสร้างสาร allergen ซึ่งเป็นสารที่ทาให้เกิดอาการแพ้
1.1.5 ข้อเสียของพันธุ์พืช GMOs
สิ่งมีชีวิตแปลงพันธุ์ หรือ GMOs ถึงแม้จะมีประโยชน์อย่างมาก แต่
เนื่องจากสายพันธุ์ดังกล่าวผิดธรรมชาติ คือ มียีนแปลกปลอมที่ใส่เข้าไปที่มีแหล่งที่มาต่างกัน
เช่น อาจเป็นยีนจากจุลินทรีย์จากคนหรือจากสัตว์ที่นาไปใส่พืช ถ้ายีนนั้นนามาจากจุลินทรีย์ที่
สามารถทาให้เกิดโรคก็จะมีความเสี่ยงสูงที่จะทาให้เกิดโรคกับผู้ที่บริโภคอาหารจากพืช GMOs
นอกจากนี้อาจมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภูมิแพ้และโรคมะเร็งอีกด้วย
ดังนั้นผลิตภัณฑ์จาก GMOs ที่ผลิตได้และมีการนามาจาหน่ายเพื่อการค้า
จะต้องผ่านการทดสอบความปลอดภัยทั้งในห้องปฏิบัติการและในพื้นที่ เพื่อรับรองความปลอดภัย
ทางชีวภาพ (bio-safety) ประเทศต่าง ๆ จึงได้กาหนดข้อบังคับให้ติดฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร GMOs
ไว้ให้เห็นชัดเจน เพื่อที่ผู้บริโภคจะได้เลือกซื้อหรือไม่เลือกซื้อได้ตามต้องการ รวมทั้งมีการกาหนด
ข้อปฏิบัติในการนาพืช GMOs ผ่านเข้าและออกระหว่างประเทศด้วย
(ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3).
นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ)
7
1.2 การเพิ่มผลผลิตของพืช
การเพิ่มผลผลิตของพืช ต้องคานึงถึงปัจจัยพื้นฐานที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
ได้แก่ สภาพดิน ความชุ่มชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสม ชนิดของพืช วิธีการปลูก การอนุรักษ์ดินและน้า
การป้ องกันและกาจัดศัตรูพืชและการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช วิธีการเพิ่มผลผลิตของ
พืชที่สาคัญ มีดังนี้
1.2.1 การอนุรักษ์สภาพดินให้คงสภาพที่ดีอยู่เสมอ
การอนุรักษ์สภาพดินให้คงสภาพที่ดีอยู่เสมอ สามารถทาได้ดังนี้
1) การปลูกพืชหมุนเวียน
2) การปลูกพืชแซม
3) การปลูกพืชในแนวระดับแบบขั้นบันได ช่วยป้ องกันการกัดชะล้างพังทลาย
ของดินไปสู่ที่ต่าได้
1.2.2 การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่พืชด้วยการใส่ปุ๋ ย
ธาตุอาหารหลักที่จาเป็นแก่พืช คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และ
โพแทสเซียม (K) แร่ธาตุอื่น ๆ ที่พืชต้องการน้อยได้แก่ แคลเซียม แมกนีเซียม กามะถัน ทองแดง
เหล็ก โบรอน คลอรีน ซึ่งธาตุอาหารเหล่านี้พืชมักจะไม่ขาดแคลน
1.2.3 ปุ๋ ย คือสารอินทรีย์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือทาขึ้นเพื่อใช้เป็นธาตุ
อาหารให้แก่พืชหรือทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีให้แก่ดิน เพื่อบารุงการเจริญเติบโตของพืช
ปุ๋ ยมี 3 ชนิด คือ
1) ปุ๋ ย เคมีหรือปุ๋ ยอนินทรีย์ คือ สารสังเคราะห์มาจากสารอนินทรีย์ต่าง ๆ
หรือสารอินทรีย์
ภาพที่ 8.5 การปลูกพืชแบบขั้นบันได
(ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
8
2) ปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยธรรมชาติ คือ ปุ๋ ยที่ได้จากอินทรีย์วัตถุ ได้แก่
ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก และปุ๋ ยพืชสด
3) ปุ๋ ยชีวภาพ เป็นปุ๋ ยที่เป็นสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะแบคทีเรียและสาหร่าย
สีเขียวแกมน้าเงินที่สามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศได้ ปมรากของพืชตระกูลถั่วมีแบคทีเรียชื่อ
ไรโซเบียม (Rhizobium) อาศัยอยู่ซึ่งแบคทีเรียชนิดนี้ทางานร่วมกับถั่ว สามารถตรึงไนโตรเจนใน
อากาศได้การปลูกพืชตระกูลถั่วจึงเป็นผลดีกับดินจะมีธาตุอาหารพืชสูง สภาพของดินที่เหมาะสม
ในการเจริญเติบโตของแบคทีเรียชนิดนี้ ควรมีน้ามากพอ ดินมีค่า pH อยู่ระหว่าง 5.5-6.5 อุณหภูมิ
ประมาณ 20 – 30 องศาเซลเซียส พืชตระกูลถั่วจึงเหมาะสมในการปลูกเพื่อปรับสภาพดิน
1.3 การป้ องกันและกาจัดศัตรูพืช
1.3.1 ศัตรูพืช คือ สิ่งที่คอยเบียดเบียนพืชที่เราต้องการผลผลิต ทาให้ผลผลิตลดลง
หรือไม่มีคุณภาพ วัชพืชต่าง ๆ โรคพืช แมลงศัตรูพืช สัตว์ศัตรูพืช
1.3.2 การป้ องกันกาจัดศัตรูพืชโดยใช้สารเคมีและชีววิธี
1) การป้ องกันกาจัดศัตรูพืชโดยใช้สารเคมี
2) การป้ องกันกาจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี เป็นการใช้สิ่งมีชีวิตมากาจัดสิ่งมีชีวิตที่
เป็นศัตรูพืช โดยสิ่งมีชีวิตนั้นไม่เป็นพิษภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้แมลงทาลายแมลง
ด้วยกัน แมลงที่เป็นศัตรูพืชมี 2 ประเภท คือ
2.1) แมลงห้า (Predator) เป็นแมลงที่กินแมลงอื่น ๆ เป็นอาหารใน
ลักษณะของการล่าเหยื่อ เช่น ด้วงเต่าดูดน้าเลี้ยงในตัวของเพลี้ยอ่อน มวนเพชฌฆาตกาจัดหนอน
ตั๊กแตนตาข้าว แมลงช้างปีกใส กาจัดหนอนได้หลายชนิด
ภาพที่ 8.6 ด้วงเต่า
ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
ภาพที่ 8.7 มวนเพชฌฆาต
ที่มาของาภาพ : http://images.google.co.th
9
2.2) แมลงเบียน (Parasite) เป็นแมลงที่อาศัยเกาะกินอยู่ภายนอกหรือ
ภายในตัวแมลงที่เป็นเหยื่อตลอดวงจรชีวิตหรืออย่างน้อยก็ชั่วระยะหนึ่งของวงชีวิตของมัน จนทา
ให้แมลงที่เป็นเหยื่อตายในที่สุด เช่น ต่อเบียนจะวางไข่บนหนอนผีเสื้อ เมื่อตัวอ่อนฟักออกมาก็จะ
กินหนอนผีเสื้อเป็นอาหาร
ภาพที่ 8.8 ตั๊กแตนตาข้าวจับกินเหยื่อ
ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
ภาพที่ 8.9 แมลงช้างปีกใส
ที่มาของาภาพ : http://images.google.co.th
ภาพที่ 8.11 มดกินแมลง
ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
ภาพที่ 8.12 แตนเบียน
ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
ภาพที่ 8.10 แมลงปอ
ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
ภาพที่ 8.13 แมลงเบียนหนอนดักแด้
ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
10
3) การใช้แบคทีเรีย เห็ดราและไวรัสบางชนิดกาจัดแมลงศัตรูพืช เช่น
การใช้แบคทีเรียบางชนิดทาลายหนอนผีเสื้อกินใบส้ม ซึ่งจะทาให้ขากรรไกรของแมลงศัตรูพืชเป็น
อัมพาตกินพืชไม่ได้และตายในที่สุด
4) การใช้แมลงกาจัดวัชพืช เช่น ใช้หนอนจอกกาจัดจอก ใช้ผีเสื้อกลางคืน
ทาลายหญ้าแห้วหมู เป็นต้น
5) การใช้สัตว์กินศัตรูพืชหรือแมลงศัตรูพืช เช่น ใช้เป็ดกาจัดหอยทาก
ใช้นกกินหนอน เป็นต้น
1.4 การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลและบารุงรักษาพืชจะทาให้พืชเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีระดับหนึ่ง
แต่ถ้าต้องการเร่งผลผลิตให้เพิ่มขึ้นมากกว่าปกติหรือเร่งให้ผลผลิตนอกฤดูกาล ปัจจุบันสามารถ
ทาได้โดยอาศัยความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้วย การใช้สารควบคุม
การเจริญเติบโตของพืช ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นหรือมนุษย์สังเคราะห์ขึ้นมีหลายกลุ่ม ดังนี้
1.4.1 สารออกซิน (Auxins) ได้จากพืชและสังเคราะห์ขึ้น ใช้ควบคุมการเจริญเติบโต
ของเซลล์ เร่งการเกิดราก ติดผล และป้ องกันผลร่วง ช่วยเปลี่ยนเพศดอกของพืชบางชนิด
1.4.2 สารจิบเบอริน (Gibberrellins) ได้จากพืชและเชื้อราบางชนิด ช่วยเร่งการ
เจริญเติบโตขยายขนาดของผล (ใช้กับองุ่น) ช่วยติดผลและเพิ่มน้าหนักของใบ เร่งการออกดอก
ของพืชบางชนิด
1.4.3 ไซโตไคนิน (Cykinins) ได้จากพืชและสังเคราะห์ขึ้น เร่งการเจริญเติบโต
ทางด้านกิ่งและใบ เร่งการแตกตา (ใช้กับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ)
1.4.4 เอทิลีนและสารปลดปล่อยเอทิลีน (Ethylene and Ethylene Releasing
Compounds) พืชสร้างได้เองและเป็นแก๊สที่สามารถพบได้ทั่วไป เช่น ควันไฟ ใช้เร่งการออกดอก
ภาพที่ 8.14 ผีเสื้อกลางคืนชนิดต่าง ๆ
ที่มาภาพ : http://images.google.co.th
11
ของพืชบางชนิด เร่งการสุกของผลไม้ใช้เร่งการร่วงของใบ ดอก ผล เร่งการไหลของยางพารา
เร่งการออกดอกของสับปะรด
สารอีกชนิดหนึ่ง คือ โพแทสเซียมไนเตรท (KNO3) ไม่จัดเป็นสารควบคุม
การเจริญเติบโต เนื่องจากไม่ใช่สารอินทรีย์ แต่สามารถใช้พ่นเร่งการออกดอกและติดผลได้
ชาวสวนใช้เร่งการออกดอกของมะม่วง
2. การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
2.1 ด้านเกษตรกรรม ได้แก่ การคัดเลือกพันธุ์และผสมพันธุ์ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
พันธุวิศวกรรม การจาลองพันธุ์พืช ทาให้พืชมีสมบัติตามต้องการและทนทานโรค มีการใช้ปุ๋ ย
ชีวภาพ เช่น ปุ๋ ยไรโซเบียมกับพืชตระกูลถั่วช่วยตรึงธาตุไนโตรเจน ใช้ปุ๋ ยสาหร่ายแกมน้าเงินช่วย
เพิ่มปุ๋ ยไนโตรเจนในนาข้าว และมีการใช้จุลินทรีย์หรือสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นในการทาลายแมลงศัตรูพืช
2.2 ด้านอุตสาหกรรมอาหาร
ด้านอุตสาหกรรมการผลิตยีสต์ที่ใช้ทาขนมปัง ผลิตราบางชนิดใช้ทาเนยเข็งและผลิต
แบคทีเรียใช้ทานมเปรี้ยว โยเกิร์ต ผลิตไวน์ เบียร์ ผลิตกรดมะนาวและอาหารหมักดอง เช่น เต้าหู้
น้าปลา ซีอิ๊ว ผลิตกรดอะมิโน เช่น ไลซีน เพื่อใช้ผสมในอาหารสัตว์ ผลิตเอนไซม์ทาให้เนื้อนุ่ม
ทาให้น้าผลไม้ใส ผลิตสีใช้ผสมอาหาร เช่น เบต้าแคโรทีน
2.3 ทางด้านการแพทย์
ทางด้านการแพทย์ มีการผลิตยาปฏิชีวนะ เช่น เพนนิซิลิน เตตราไซคลิน
อิริโอมัยซิน ผลิตวัคซีนป้ องกันโรคต่าง ๆ เช่น ไวรัสตับอักเสบบี ผลิตสารภูมิคุ้มกัน
ผลิตเอนไซม์ที่ช่วยในการย่อยอาหารและเอ็นไซม์ที่ช่วยทาลายเม็ดเลือดที่แข็งตัว ผลิตอินซูลิน
รักษาโรคเบาหวาน ผลิตฮอร์โมนเพื่อการเจริญเติบโต วิตามิน อินเตอร์พีรอนที่ใช้ในการรักษาโรค
ที่เกิดจากไวรัสและมะเร็งผิวหนัง
2.4 ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมใช้จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์และแก๊สชีวภาพเพื่อใช้เป็น
เชื้อเพลิงทดแทนพลังงานจากธรรมชาติ ใช้คัดเลือกสายพันธุ์จุลินทรีย์เพื่อกาจัดโลหะหนักในน้าทิ้ง
12
กิจกรรมที่ 8
เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืชแล้ว สามารถ
1. อธิบายและยกตัวอย่างเทคโนโลยีเกี่ยวกับการการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืชได้
2. อธิบายวิธีการเพิ่มผลผลิตพืชด้วยวิธีต่าง ๆ ได้
3. อธิบายเกี่ยวกับการป้ องกันกาจัดศัตรูพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชได้
4. ระบุประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย์
พลังงานและสิ่งแวดล้อมได้
5. ยกตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับพืชได้
ตอนที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืช
คาชี้แจง ให้นักเรียนนาอักษรหน้าข้อความที่อยู่ทางขวามือมาใส่ลงในช่อง  หน้าข้อความที่อยู่
ทางซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กัน
 1. การลอกเลียนแบบของยีนที่ต้องการให้แก่พืช
 2. กระบวนการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรมด้วยการตัดต่อยีน
และเปลี่ยนแปลงยีนในเซลล์ เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มี
สมบัติตามต้องการ
 3. การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เพื่อประโยชน์
เฉพาะอย่างตามที่มนุษย์ต้องการ
 4. การนาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชมาเลี้ยงในอาหาร
วิทยาศาสตร์ที่ปลอดเชื้อ และอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม
 5. สิ่งมีชีวิตที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม โดยอาศัย
เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม
ก. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ข. เทคโนโลยีชีวภาพ
ค. พืชจาลองพันธุ์
ง. พืชจีเอ็มโอ (GMOs)
จ. พันธุวิศวกรรม
ฉ. แคลลัส
ช. โพรโทพลาสต์
13
ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
1. เกษตรกรคนหนึ่งมีที่ดินอยู่บริเวณเนินเขาค่อนข้างแห้งแล้ง เขาต้องการปลูกพืชเพื่อเป็นรายได้
ให้กับครอบครัว เขาควรวางแผนและปฏิบัติอย่างไร โดยต้องอนุรักษ์ดินและน้าในบริเวณนั้นด้วย
1.1 พันธุ์พืชที่ปลูก .......................................................................................................................
1.2 วิธีการปลูก ...........................................................................................................................
1.3 วิธีการจัดการกับดินและน้าสาหรับเพาะปลูกที่ไม่ค่อยเพียงพอ ............................................
.............................................................................................................................................................
2. สภาพของดินที่จะทาให้พืชตระกูลถั่วเกิดปมรากได้มากต้องมีลักษณะดังนี้
2.1 ชนิดของจุลินทรีย์ในดินที่ควรมีมากคือ .............................................................................
2.2 ปริมาณธาตุไนโตรเจนในดินมี .................และปริมาณฟอสฟอรัสในดินมี...........................
2.3 มีน้ามากพอ และมีค่า pH ของดินอยู่ระหว่าง ........................................................................
2.4 อุณหภูมิของดินประมาณ.......................................................................................................
3. ในกรณีใดบ้างที่เราควรปลูกพืชตระกูลถั่วบารุงดิน ต้องคลุกด้วยเชื้อไรโซเบียมอยู่เสมอ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. จงศึกษาข้อมูลต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม
“เกษตรกรรายหนึ่งเพาะฟักแตนเบียนไข่ในไข่ของไหมป่า แล้วนาไข่ของไหมป่าไปแขวนไว้ที่
กิ่งลาไยที่กาลังออกดอกและติดผลอ่อน ๆ เมื่อแตนเบียนเป็นตัวเต็มวัยจะผสมพันธุ์และวางไข่ในไข่
ของมวลลาไย จึงทาให้ไข่ของมวลลาไยถูกทาลาย”
4.1 ศัตรูของลาไยคือ ........................................................................ส่วนแมลงกาจัดศัตรูของ
ลาไยคือ ..............................................และแมลงศัตรูพืชชนิดนี้เป็นตัวห้าหรือตัวเบียน.....................
4.2 วิธีกาจัดศัตรูพืชตามข้อมูลนี้ เรียกว่า.....................................................................................
4.3 การกาจัดศัตรูพืชด้วยวิธีนี้นักเรียนคิดว่า เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ....................................
.............................................................................................................................................................
14
5. ให้นักเรียนใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถาม
ก = จิบเบอเรลลิน ข = ออกซิน ค = โพแทสเซียมไนเตรท
ง = ไซโตไคติน ง = เอทิลีน
5.1 เกษตรกรที่ทาสวนกุหลาบ ต้องการยืดช่อดอกและขนาดของดอกให้ใหญ่ขึ้น เขาควรใช้
สารเคมีชนิดใด
5.2 เกษตรกรต้องการเร่งให้กล้วยสุก เขาต้องใช้สารใด .................................. ถ้านาสารนี้ไป
ใช้ในสับปะรดจะเกิดผลอย่างไร..........................................................................................................
5.3 สารใดที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ .....................................................และมีผลต่อการ
เจริญเติบโตของเนื้อเยื่อพืชอย่างไร.....................................................................................................
5.4 ถ้าต้องการเร่งการเกิดรากของกิ่งปักชาควรนากิ่งปักชาไปแช่ในสารใด................................
ถ้าต้องการขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีการติดตาควรทาสารใดเพื่อเร่งการติดตา..........................................
5.5 ชาวสวนมะม่วงเร่งการออกดอกของมะม่วง ควรพ่นสารใด.................................................
และใช้สารใดเร่งการติดผลและป้ องกันผลร่วงของมะม่วง .................................................................
สารทั้งสองชนิดนี้ สารใดไม่จัดเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช............................................
6. ให้นักเรียนยกตัวอย่างประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
6.1 ด้านเกษตรกรรม....................................................................................................................
6.2 ด้านอุตสาหกรรมอาหาร........................................................................................................
6.3 ด้านการแพทย์........................................................................................................................
6.4 ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม................................................................................................
7. ถ้านักเรียนจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช นักเรียนจะ
เลือกทาโครงงานเรื่องใดได้บ้าง ..........................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
17
แนวการตอบกิจกรรมที่ 8
เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
จุดประสงค์การเรียนรู้
เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืชแล้ว สามารถ
1. อธิบายและยกตัวอย่างเทคโนโลยีเกี่ยวกับการการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืชได้
2. อธิบายวิธีการเพิ่มผลผลิตพืชด้วยวิธีต่าง ๆ ได้
3. อธิบายเกี่ยวกับการป้ องกันกาจัดศัตรูพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชได้
4. ระบุประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมอาหาร
การแพทย์ พลังงานและสิ่งแวดล้อมได้
5. ยกตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับพืชได้
ตอนที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืช
คาชี้แจง ให้นักเรียนนาอักษรหน้าข้อความที่อยู่ทางขวามือมาใส่ลงในช่อง  หน้าข้อความที่อยู่
ทางซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กัน
1. การลอกเลียนแบบของยีนที่ต้องการให้แก่พืช
2. กระบวนการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรมด้วยการตัดต่อยีน
และเปลี่ยนแปลงยีนในเซลล์ เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มี
สมบัติตามต้องการ
3. การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เพื่อประโยชน์
เฉพาะอย่างตามที่มนุษย์ต้องการ
4. การนาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชมาเลี้ยงในอาหาร
วิทยาศาสตร์ที่ปลอดเชื้อ และอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม
5. สิ่งมีชีวิตที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม โดยอาศัย
เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม
ก. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ข. เทคโนโลยีชีวภาพ
ค. พืชจาลองพันธุ์
ง. พืชจีเอ็มโอ (GMOs)
จ. พันธุวิศวกรรม
ฉ. แคลลัส
ช. โพรโทพลาสต์
ค
จ
ข
ก
ง
18
ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
1. เกษตรกรคนหนึ่งมีที่ดินอยู่บริเวณเนินเขาค่อนข้างแห้งแล้ง เขาต้องการปลูกพืชเพื่อเป็นรายได้
ให้กับครอบครัว เขาควรวางแผนและปฏิบัติอย่างไร โดยต้องอนุรักษ์ดินและน้าในบริเวณนั้นด้วย
1.1 พันธุ์พืชที่ปลูก พันธุ์พืชที่ปลูกต้องทนต่อความแห้งแล้ง เช่น สับปะรด
1.2 วิธีการปลูก ควรปลูกแบบขั้นบันไดเพื่อลดการชะล้างพังทลายของดิน
1.3 วิธีการจัดการกับดินและน้าสาหรับเพาะปลูกที่ไม่ค่อยเพียงพอ ปรับพื้นที่ให้เป็นแหล่ง
เก็บกักน้าให้ได้มากพอ และปลูกพืชแบบใช้ระบบน้าหยด เพื่อให้ประหยัดน้า แต่พืชได้รับน้า
เพียงพอ
2. สภาพของดินที่จะทาให้พืชตระกูลถั่วเกิดปมรากได้มากต้องมีลักษณะดังนี้
2.1 ชนิดของจุลินทรีย์ในดินที่ควรมีมาก คือ แบคทีเรียไรโซเบียมในปมรากถั่ว
2.2 ปริมาณธาตุไนโตรเจนในดินมี น้อย และปริมาณฟอสฟอรัสในดินมี มาก
2.3 มีน้ามากพอ และมีค่า pH ของดินอยู่ระหว่าง pH 5.5 – 6.5
2.4 อุณหภูมิของดินประมาณ 20 – 30 องศาเซลเซียส
3. ในกรณีใดบ้างที่เราควรปลูกพืชตระกูลถั่วบารุงดิน ต้องคลุกด้วยเชื้อไรโซเบียมอยู่เสมอ
เป็นพื้นที่ที่ปลูกพืชเป็นครั้งแรก พื้นที่ไม่เคยปลูกถั่วชนิดนี้มาก่อน พื้นที่เป็นดินทราย หรือ
ดินเปรี้ยว หรือดินมาความชุ่มชื้นมากเกินไป
4. จงศึกษาข้อมูลต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม
“เกษตรกรรายหนึ่งเพาะฟักแตนเบียนไข่ในไข่ของไหมป่า แล้วนาไข่ของไหมป่าไปแขวนไว้ที่
กิ่งลาไยที่กาลังออกดอกและติดผลอ่อน ๆ เมื่อแตนเบียนเป็นตัวเต็มวัยจะผสมพันธุ์และวางไข่ในไข่
ของมวลลาไย จึงทาให้ไข่ของมวลลาไยถูกทาลาย”
4.1 ศัตรูของลาไยคือ มวนลาไย ส่วนแมลงกาจัดศัตรูของลาไยคือ แตนเบียน และแมลง
ศัตรูพืชชนิดนี้เป็นตัวห้าหรือตัวเบียน ตัวเบียน
4.2 วิธีกาจัดศัตรูพืชตามข้อมูลนี้ เรียกว่า วิธีชีววิธี คือ ใช้สิ่งมีชีวิตกาจัดกันเอง
4.3 การกาจัดศัตรูพืชด้วยวิธีนี้นักเรียนคิดว่า เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร เหมาะสมเพราะ
ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยสาหรับมนุษย์
19
5. ให้นักเรียนใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถาม
ก = จิบเบอเรลลิน ข = ออกซิน ค = โพแทสเซียมไนเตรท
ง = ไซโตไคติน ง = เอทิลีน
5.1 เกษตรกรที่ทาสวนกุหลาบ ต้องการยืดช่อดอกและขนาดของดอกให้ใหญ่ขึ้น เขาควรใช้
สารเคมีชนิดใด
5.2 เกษตรกรต้องการเร่งให้กล้วยสุก เขาต้องใช้สารใด จ ถ้านาสารนี้ไปใช้ในสับปะรดจะ
เกิดผลอย่างไร เร่งการออกดอกของสับปะรด
5.3 สารใดที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ง และมีผลต่อการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อพืชอย่างไร
ควบคุมการแบ่งเซลล์
5.4 ถ้าต้องการเร่งการเกิดรากของกิ่งปักชาควรนากิ่งปักชาไปแช่ในสารใด ข ถ้าต้องการ
ขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีการติดตาควรทาสารใดเพื่อเร่งการติดตา ง
5.5 ชาวสวนมะม่วงเร่งการออกดอกของมะม่วง ควรพ่นสารใด ค และใช้สารใดเร่งการติดผล
และป้ องกันผลร่วงของมะม่วง ข ทั้งสองชนิดนี้ สารใดไม่จัดเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของ
พืช ค
6. ให้นักเรียนยกตัวอย่างประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
6.1 ด้านเกษตรกรรม เช่น การขยายพันธุ์พืช การปรับปรุงพันธุ์ การทาปุ๋ ยชีวภาพ
6.2 ด้านอุตสาหกรรมอาหาร เช่น ผลิตเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ผลิตเนย
นมเปรี้ยว โยเกิร์ต
6.3 ด้านการแพทย์ เช่น ผลิตยาปฏิชีวนะ ผลิตวัคซีนป้ องกันโรค
6.4 ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เช่น ใช้จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ แก๊สชีวภาพ ใช้จุลินทรีย์
กาจัดน้าเสียและคราบไขมัน
7. ถ้านักเรียนจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช นักเรียนจะ
เลือกทาโครงงานเรื่องใดได้บ้าง
โครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช เช่น
1) การทาไวน์จากผลหม่อน
2) การฟอกสีไหมจากเปลือกนุ่น
3) ปุ๋ ยชีวภาพจากใบก้ามปูเร่งการเจริญเติบโตของพริก
4) ยาสระผมจากผลมะกรูด
5) การทาน้ายาล้างจานสูตรผลไม้
20
เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 8
เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน
ตอนที่ 1 (5 คะแนน)
1 -5 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
ตอนที่ 2 (15 คะแนน)
1 -6 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากทุกข้อไม่มีส่วนผิด 2
ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นผิด 1 -2 รายการหรือ 1 -2 ข้อ 1
ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0
7 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
ได้ 2 ชื่อขึ้นไป
3
บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
ได้ 2 ชื่อขึ้นไป
2
บอกชื่อโครงงานที่เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืชไม่ได้หรือ
บอกแต่ไม่สอดคล้อง
1
รวมตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2 (5 + 15) = 20 คะแนน
สรุปผลการประเมิน
 ดีมาก (16 – 20 คะแนน)  ดี (11 –15 คะแนน)
 ปานกลาง ( 6 – 10 คะแนน)  ผ่าน ( 1 – 5 คะแนน)
 ต้องปรับปรุง (0 คะแนน)
ผู้ประเมิน ............................................
(............................................)
21
บรรณานุกรม
กนก จันทร์ขจร และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่ง
สินค้าและพัสดุภัณฑ์.
. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
คุรุสภาลาดพร้าว.
กฤษณีย์ ปิตุรัตน์. (2548). ผลการใช้ชุดฝึกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทาโครงงาน
วิทยาศาสตร์ที่พัฒนามาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กุณฑรี เพชรทวีพรเดช และนิตยา บุญมี. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์.
เกริก ท่วมกลาง. (2546). แบบฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน คู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4- 6). : กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์.
จักฬพล สว่างอารมณ์. (2543). ผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาบูรพา.
ชาตรี เกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก.
เตือนใจ ไชยโย. (2545). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกคิดหัวข้อและ
วางแผนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ถนัด ศรีบุญเรือง. (2549). วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า.
ถวัลย์ มาศจรัสและมณี เรืองขา. (2549). แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโครงงาน.
กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
22
บัญชา แสนทวี และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้น ม.1. กรุงเทพฯ :
วัฒนาพาณิช.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์แม็ค .
ปิ่นศักดิ์ ชุมเกษียน และปิยาณี สมคิด. (2545). วิทยาศาสตร์ 2 ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). นนทบุรี :
ไทยร่มเกล้า.
พเยาว์ ยินดีสุข และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ
(วพ)จากัด
. (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพ์พันธุ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพ
วิชาการ.
. (2550). สุดยอดคู่มือครูแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา
คุณภาพวิชาการ.
พีระ พนาสุภน. (2551). แม็ค ม.ต้น. กรุงเทพฯ : ซีวีแอลการพิมพ์.
โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง. (2551). แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2551.กลุ่มบริหารงาน
ทั่วไป.
. (2550). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2). ฝ่ายวิชาการ.
ลิขิต ฉัตรสกุล และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2550). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design.กรุงเทพฯ :
ช้างทอง.
ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2549). โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา. : กรุงเทพฯ :
เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ

More Related Content

What's hot

ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
paifahnutya
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสารdnavaroj
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
Ketsarin Prommajun
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ศิริชัย เชียงทอง
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
Thanyamon Chat.
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
oraneehussem
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
Tikaben Phutako
 

What's hot (20)

ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 

Similar to 11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ

8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
Oui Nuchanart
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
kai kk
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
Sircom Smarnbua
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
Wijitta DevilTeacher
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
Wijitta DevilTeacher
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
PornpenInta
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน
Wijitta DevilTeacher
 
2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
Wijitta DevilTeacher
 

Similar to 11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ (20)

8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า5.ส่วนหน้า
5.ส่วนหน้า
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
krongkan
krongkankrongkan
krongkan
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน
 
2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน2.ส่วนหน้าแผน
2.ส่วนหน้าแผน
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 

11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ

  • 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางเอเดียน คุณาสิทธิ์ โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
  • 2. ข คานา ชุดกิจกรรมนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 23101 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมที่เน้นทักษะการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ควบคู่กับการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นักเรียนสามารถปฏิบัติ กิจกรรมได้ตามความสนใจ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี จานวน 8 ชุด เวลาเรียน 24 ชั่วโมง ดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 2. ชุดกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสร้างหน้าที่และส่วนประกอบของเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 3. ชุดกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เวลา 3 ชั่วโมง) 4. ชุดกิจกรรมที่ 4 เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 5. ชุดกิจกรรมที่ 5 เรื่อง การลาเลียงของสารในพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 6. ชุดกิจกรรมที่ 6 เรื่อง กระบวนการสืบพันธุ์ของพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) 7. ชุดกิจกรรมที่ 7 เรื่อง การเจริญเติบโตและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช(เวลา3ชั่วโมง) 8. ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช (เวลา 3 ชั่วโมง) ชุดกิจกรรมนี้เป็นชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช ในการใช้ชุด กิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติตามคาชี้แจงของชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียดโดยปฏิบัติกิจกรรม ตามลาดับที่ของชุดกิจกรรม
  • 3. ค สารบัญ เรื่อง หน้า ปก ............................................................................................................................................ ก คานา......................................................................................................................................... ข สารบัญ..................................................................................................................................... ค สารบัญภาพประกอบ..................................................................................................................ง ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ...................................................................................... จ คาชี้แจงสาหรับครู .....................................................................................................................ฉ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน..................................................................................................................ช แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน........................................................................................................... ซ ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช......................................................1 ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช...............................................................2 กิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช..............................................................13 ตอนที่1เรื่องเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืชและการปรับปรุงพันธุ์พืช...13 ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ....14 แนวการตอบกิจกรรมที่ 8...............................................................................................................17 เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 8..................................................................................................20 บรรณานุกรม..................................................................................................................................21
  • 4. ง สารบัญภาพประกอบ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 8.1 การปลูกพืชไร้ดิน..........................................................................................................1 ภาพที่ 8.2 ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ....................................................................................3 ภาพที่ 8.3 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในห้องปฏิบัติการ...............................................................4 ภาพที่ 8.4 มะเขือเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม(GMOs)............................................5 ภาพที่ 8.5 การปลูกพืชแบบขั้นบันได........................................................................................7 ภาพที่ 8.6 ด้วงเต่า......................................................................................................................8 ภาพที่ 8.7 มวนเพชฌฆาต..........................................................................................................8 ภาพที่ 8.8 ตั๊กแตนตาข้าวจับกินเหยื่อ.......................................................................................9 ภาพที่ 8.9 แมลงช้างปีกใส.........................................................................................................9 ภาพที่ 8.10 แมลงปอ................................................................................................................9 ภาพที่ 8.11 มดกินแมลง............................................................................................................9 ภาพที่ 8.12 แตนเบียน.................................................................................................................9 ภาพที่ 8.13 แมลงเบียนหนอนดักแด้..........................................................................................9 ภาพที่ 8.14 ผีเสื้อกลางคืนชนิดต่าง ๆ .....................................................................................10 ภาพที่ 8.15 การปลูกผักกวางตุ้งไร้ดิน..........................................................................................12
  • 5. จ ชุดกิจกรรมที่8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช มีส่วนประกอบที่สาคัญดังนี้ 1. เป็นชุดกิจกรรมที่ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 และ 16(ในเล่มคู่มือการใช้) 2. ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช 3. ใบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช ตอนที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืชและการปรับปรุง พันธุ์พืช (1ชั่วโมง) ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ ( 2 ชั่วโมง) 4. แนวการตอบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช 5. เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช
  • 6. ฉ คาชี้แจงสาหรับครู การใช้ชุดกิจกรรมเพื่อให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ สิ่งที่ครูผู้สอนต้องเตรียม มีดังนี้ 1. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 และ 16 ในคู่มือการใช้ชุดกิจกรรมให้ละเอียด 2. ศึกษาเนื้อหาและคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุด และปฏิบัติตามขั้นตอนใน คาชี้แจงของกิจกรรมตามลาดับอย่าข้ามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง 3. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในชุดกิจกรรมไว้ล่วงหน้าก่อนทาการเรียนการสอน 4. ครูจัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็น 8 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ตามแผนผังที่กาหนดไว้ โดยมีหัวหน้าประจาทุกกลุ่ม ผู้นากลุ่มอาจมีการผลัดเปลี่ยนกันแต่ละกลุ่มควรเป็นกลุ่มเดิมเพื่อจะได้ ทางานที่ต่อเนื่องกัน 5. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และรู้บทบาทหน้าที่ของตนในกลุ่ม โดยไม่ให้ดูเฉลยก่อน หลังจากปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วจึงเปิดดูเฉลยได้และมีการแลกเปลี่ยนกัน ตรวจตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม 6. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นสารวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 4) ขั้นขยายความรู้ 5) ขั้นประเมินผล 7. ชุดกิจกรรมที่ 4 เป็นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเนื้อหาประจาหน่วย ซึ่ง บูรณาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ไปพร้อม ๆ กัน 8. ขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครูต้องคอยดูแลและแนะนาการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เมื่อนักเรียนพบปัญหาในการเรียนจะได้ช่วยแก้ไขปัญหาได้ทันที 9. เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วให้นักเรียนเก็บสื่อและวัสดุอุปกรณ์ของ แต่ละกลุ่มให้เรียบร้อย โดยเน้นการเก็บและดูแลรักษาความสะอาดฝึกให้เป็นระเบียบจนเป็นนิสัย 10. เมื่อสิ้นสุดการเรียนชุดกิจกรรมที่ 8 แล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 40 ข้อซึ่งเป็นแบบทดสอบคู่ขนานกับแบบทดสอบก่อนเรียน 11. แจ้งผลการเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมทันทีที่ตรวจเสร็จแล้ว
  • 7. ช คาชี้แจงสาหรับนักเรียน การใช้ชุดกิจกรรมนักเรียนควรทราบถึงบทบาทของตนเองดังนี้ 1. ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมแต่ละชุดอย่างละเอียด 2. ศึกษาใบความรู้ที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช แล้วปฏิบัติกิจกรรม ตามใบกิจกรรม ดังนี้ ตอนที่ 1 เรื่อง เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืชและ การปรับปรุงพันธุ์พืช (1ชั่วโมง) ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ ( 2 ชั่วโมง) 3. นักเรียนต้องตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างจริงจังไม่เล่นหรือทาให้ล่าช้า 4. กิจกรรมการทดลองต้องทาตามขั้นตอนทุกขั้นตอนด้วยความระมัดระวังเพราะ อุปกรณ์อาจแตกหรือเสียหายได้ 5. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้นักเรียนส่งผลงานการทากิจกรรมให้ครูตรวจหรือ แลกเปลี่ยนกันตรวจก่อนที่จะดาเนินการศึกษากิจกรรมต่อไป ถ้ามีอะไรชารุดเสียหายต้องแจ้งให้ครู ทราบทันที 6. เมื่อทากิจกรรมเสร็จทั้ง 8 ชุดแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 40 ข้อ เพื่อประเมินความรู้หลังเรียน
  • 8. ซ แผนผังการจัดกลุ่มการเรียน การประเมินผล 1. ประเมินจากการทาแบบทดสอบก่อนเรียน -หลังเรียน จานวน 40 ข้อ 2. ประเมินผลจากการทากิจกรรมที่ 8 ตอนที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวกับ การขยายพันธุ์พืชและการปรับปรุงพันธุ์พืช ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด 3. ประเมินการทากิจกรรมการทดลองตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด 4. สังเกตความสนใจและความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมและพฤติกรรมการทางาน กลุ่มทุกครั้งที่เรียน โต๊ะครู กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 8 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 4
  • 9. 1 ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่องย่อยที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 – 16 (เวลา 3 ชั่วโมง) คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 8 ตอนที่ 1 เรื่อง การขยายพันธุ์และการปรับปรุง พันธุ์พืชโดยการตอบคาถาม 2.ให้นักเรียนทากิจกรรมที่ 8 ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชโดย การตอบคาถาม 3. ศึกษาใบความรู้ที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช แล้วร่วมกัน อภิปราย เสนอแนะแนวทางการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพ ที่เกี่ยวข้องกับพืช และการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 4. ตรวจคาตอบจากแนวการตอบ ภาพที่ 8.1 การปลูกพืชไร้ดิน (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
  • 10. 2 ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืชแล้ว สามารถ 1. อธิบายและยกตัวอย่างเทคโนโลยีเกี่ยวกับการการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืชได้ 2. อธิบายวิธีการเพิ่มผลผลิตพืชด้วยวิธีต่าง ๆ ได้ 3. อธิบายเกี่ยวกับการป้ องกันกาจัดศัตรูพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชได้ 4. ระบุประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย์ พลังงานและสิ่งแวดล้อมได้ 5. ยกตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับพืชได้ 1. เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เป็นการเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตให้มาก ขึ้น โดยประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เพื่อประโยชน์เฉพาะอย่างตามที่มนุษย์ต้องการ เช่น การขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืช การเพิ่มผลผลิตของพืชด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ เป็นต้น 1.1 การขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืช มีดังนี้ 1) การผสมละอองเรณูทุเรียนพันธุ์หมอนทองกับละอองเกสรตัวเมียทุเรียนพันธุ์ชะนี จะได้ทุเรียนพันธุ์ผสมที่ติดผลดก ผลสวยใหญ่ พูเกือบเต็มทุกพูและมีน้าหนักผลมาก 2) การผลิตแตงโมไร้เมล็ด โดยใช้สารคอลชิซิน (Colchicine) ความเข้มข้น 0.2% หยด ที่ยอดต้นแตงโมปกติ ทาให้ได้เซลล์สืบพันธุ์ (ไข่) ต่างจากเดิม เมื่อผสมกับละอองเรณูกับต้นปกติ จะได้แตงโมพันธุ์ใหม่และเมื่อนาเกสรตัวเมียไปผสมกับละอองเรณูของต้นปกติจะได้แตงโมไม่มีเมล็ด 3) การผลิตทุเรียนไร้หนาม โดยการใช้มีดสะกิดหรือตัดหนามออก เมื่อทุเรียนอายุได้ 30 – 45 วัน หลังจากดอกบาน
  • 11. 3 1.1.1 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นวิธีขยายพันธุ์พืช โดยการนาชิ้นส่วนของใบ ราก หรือ ต้นกล้า มาเลี้ยงบนวุ้นที่ประกอบด้วยอาหารสังเคราะห์และฮอร์โมนพืช เช่น ออกซิน (Auxin) และ ไซโทไคนิน (Cytokinin) ในปริมาณที่เหมาะสม จะทาให้เกิดกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า แคลลัส (Callus) เกิดขึ้น ถ้านาแคลลัสมาเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์จะมีปริมาณไซโทไคนินสูงกว่าปริมาณออกซิน จะทาให้เกิดส่วนยอดของพืชขึ้น ถ้านาส่วนยอดไปเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ที่มีปริมาณ ออกซินสูงกว่า ไซโทไคนิน จะทาให้เกิดส่วนรากขึ้น เมื่อทาการเพาะเลี้ยงต่อไปจะสามารถนาไป ปลูกบนดินให้พืชเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยได้ ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีดังภาพที่ 8.2 ภาพที่ 8.2 ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (ที่มาของภาพ : ถนัดศรีบุญเรืองและคณะ. ม.ป.ป. : 123)
  • 12. 4 ภาพที่ 8.3 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในห้องปฏิบัติการ (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th) การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อนิยมใช้กับพืชที่ประสบปัญหาเรื่องการขยายพันธุ์และโรคพืช ปัจจุบันได้ใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาใช้กับพืชเศรษฐกิจหลายชนิด ได้แก่ กล้วยไม้ ข้าว ต้นสัก ปาล์มน้ามัน หน่อไม้ฝรั่ง รวมทั้งไม้ดอกไม้ประดับ เช่น คาร์เนชัน เยอบีร่า บอน เป็นต้น ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 1. มีประโยชน์โดยตรงในด้านวิจัยทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ประยุกต์และการเกษตร 2. ทาให้ได้พืชตรงตามพันธุ์เดิมในปริมาณมากภายในเวลาที่จากัด 3. สามารถปรับปรุงพันธุ์ให้ได้ตามต้องการโดยผ่านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชได้ 4. สามารถผลิตพืชที่ปลอดจากโรคได้ 5. สามารถเก็บรักษาพืชไว้ได้นาน ๆโดยใช้เนื้อเยื่อที่น้อย อย่าลืมว่า.. อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ ประมาณ 23 – 28 องศาเซลเซียส และ การฟอกชิ้นส่วนเพื่อฆ่าเชื้อโรคนิยมใช้สารละลาย โซเดียมไฮโปคลอไรด์ 2%โดยแช่ชิ้นส่วน นาน 13 – 15 นาที หรือใช้แอลกอฮอล์ 70% แช่นาน 10 – 30 นาที นะครับ
  • 13. 5 1.1.2 พันธุวิศวกรรม (Genetic engineering) พันธุวิศวกรรม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรมด้วยการตัดต่อ ยีนและเปลี่ยนแปลงยีนภายในเซลล์ เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีสมบัติตามที่ต้องการ พันธุวิศวกรรมมีประโยชน์ในการนามาใช้ปรับปรุงพันธุ์พืช เพื่อให้ได้สายพันธุ์ที่ ทนทานต่อความเค็มของดิน ต่อแมลง ต่อยากาจัดวัชพืช และให้คุณค่าทางอาหารที่ดีขึ้น เช่น การ สร้างพันธุ์ข้าวโพดให้มีปริมาณของกรดอะมิโนบางชนิดสูงขึ้น การสร้างพันธุ์พืชใหม่ที่มีลักษณะ ผสมระหว่างมะเขือเทศกับมันฝรั่ง เรียกว่า โทมาโท (tomato) หรือ โพมาโท (pomato) 1.1.3 พืชจาลองพันธุ์ (transgenic plant) พืชจาลองพันธุ์ หมายถึง การไปจาลองหรือลอกแบบของยีนที่ต้องการมาให้แก่ พืช ทาให้ได้พืชที่มีลักษณะพิเศษเพิ่มขึ้นตามชนิดของยีน (gene) ที่นามาถ่ายทอดให้แก่พืช พืชจาลองพันธุ์จัดเป็นจีเอ็มโอ (GMOs) ชนิดหนึ่ง จีเอ็มโอ (GMOs) เป็นชื่อเรียกคาย่อของ Genetically Modified Organism หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม โดย อาศัยเทคนิคทางพันธุกรรม (Genetic Engineering) ในบางกรณีมีการใช้คาว่า แอลเอ็มโอ (LMOs) ซึ่งย่อมาจาก Living Modified Organisms ทั้งจีเอ็มโอและแอลเอ็มโอมีความหมายคล้ายคลึงกัน แต่แอลเอ็มโอมุ่งเน้นความมีชีวิตอยู่ของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ในขณะที่จีเอ็มโอรวมไปถึงผลิตภัณฑ์ที่ เกิดขึ้นในสภาพที่ไม่มีชีวิตด้วย เช่น อาหารจีเอ็มโอ ภาพที่ 8.4 มะเขือเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม(GMOs) (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
  • 14. 6 1.1.4 ข้อดีของพันธุ์พืช GMOs พืชที่มีการแปลงพันธุ์ มีประโยชน์ ดังนี้ 1) ให้ผลผลิตตรงตามที่ต้องการและให้ผลผลิตสม่าเสมอ 2) ให้ผลผลิตได้ตลอดปี ไม่ขึ้นอยู่กับฤดูกาลและให้ผลผลิตมาก 3) สามารถต้านทานโรคและแมลงได้ดี เช่น พันธุ์ฝ้าย ข้าวโพด และมันฝรั่ง ต้านทานแมลง พันธุ์มะละกอต้านไวรัส 4) ให้ผลผลิตที่มีคุณภาพ เช่น พันธุ์มะเขือเทศที่ได้รับยีนสุกงอมช้าเข้าไป จะสามารถเก็บไว้ได้นานและส่งไปจาหน่ายที่ไกลๆได้ 5) สามารถควบคุมให้ผลิตสารพิเศษใด ๆ มากขึ้นหรือลดการผลิตสารได้ เช่น พันธุ์ข้าวที่ลดการสร้างสาร allergen ซึ่งเป็นสารที่ทาให้เกิดอาการแพ้ 1.1.5 ข้อเสียของพันธุ์พืช GMOs สิ่งมีชีวิตแปลงพันธุ์ หรือ GMOs ถึงแม้จะมีประโยชน์อย่างมาก แต่ เนื่องจากสายพันธุ์ดังกล่าวผิดธรรมชาติ คือ มียีนแปลกปลอมที่ใส่เข้าไปที่มีแหล่งที่มาต่างกัน เช่น อาจเป็นยีนจากจุลินทรีย์จากคนหรือจากสัตว์ที่นาไปใส่พืช ถ้ายีนนั้นนามาจากจุลินทรีย์ที่ สามารถทาให้เกิดโรคก็จะมีความเสี่ยงสูงที่จะทาให้เกิดโรคกับผู้ที่บริโภคอาหารจากพืช GMOs นอกจากนี้อาจมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคภูมิแพ้และโรคมะเร็งอีกด้วย ดังนั้นผลิตภัณฑ์จาก GMOs ที่ผลิตได้และมีการนามาจาหน่ายเพื่อการค้า จะต้องผ่านการทดสอบความปลอดภัยทั้งในห้องปฏิบัติการและในพื้นที่ เพื่อรับรองความปลอดภัย ทางชีวภาพ (bio-safety) ประเทศต่าง ๆ จึงได้กาหนดข้อบังคับให้ติดฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร GMOs ไว้ให้เห็นชัดเจน เพื่อที่ผู้บริโภคจะได้เลือกซื้อหรือไม่เลือกซื้อได้ตามต้องการ รวมทั้งมีการกาหนด ข้อปฏิบัติในการนาพืช GMOs ผ่านเข้าและออกระหว่างประเทศด้วย (ที่มา ปรับปรุงจาก : ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะและคณะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 – 3). นิยมวิทยา : กรุงเทพฯ)
  • 15. 7 1.2 การเพิ่มผลผลิตของพืช การเพิ่มผลผลิตของพืช ต้องคานึงถึงปัจจัยพื้นฐานที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ สภาพดิน ความชุ่มชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสม ชนิดของพืช วิธีการปลูก การอนุรักษ์ดินและน้า การป้ องกันและกาจัดศัตรูพืชและการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช วิธีการเพิ่มผลผลิตของ พืชที่สาคัญ มีดังนี้ 1.2.1 การอนุรักษ์สภาพดินให้คงสภาพที่ดีอยู่เสมอ การอนุรักษ์สภาพดินให้คงสภาพที่ดีอยู่เสมอ สามารถทาได้ดังนี้ 1) การปลูกพืชหมุนเวียน 2) การปลูกพืชแซม 3) การปลูกพืชในแนวระดับแบบขั้นบันได ช่วยป้ องกันการกัดชะล้างพังทลาย ของดินไปสู่ที่ต่าได้ 1.2.2 การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่พืชด้วยการใส่ปุ๋ ย ธาตุอาหารหลักที่จาเป็นแก่พืช คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และ โพแทสเซียม (K) แร่ธาตุอื่น ๆ ที่พืชต้องการน้อยได้แก่ แคลเซียม แมกนีเซียม กามะถัน ทองแดง เหล็ก โบรอน คลอรีน ซึ่งธาตุอาหารเหล่านี้พืชมักจะไม่ขาดแคลน 1.2.3 ปุ๋ ย คือสารอินทรีย์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือทาขึ้นเพื่อใช้เป็นธาตุ อาหารให้แก่พืชหรือทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีให้แก่ดิน เพื่อบารุงการเจริญเติบโตของพืช ปุ๋ ยมี 3 ชนิด คือ 1) ปุ๋ ย เคมีหรือปุ๋ ยอนินทรีย์ คือ สารสังเคราะห์มาจากสารอนินทรีย์ต่าง ๆ หรือสารอินทรีย์ ภาพที่ 8.5 การปลูกพืชแบบขั้นบันได (ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th)
  • 16. 8 2) ปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยธรรมชาติ คือ ปุ๋ ยที่ได้จากอินทรีย์วัตถุ ได้แก่ ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก และปุ๋ ยพืชสด 3) ปุ๋ ยชีวภาพ เป็นปุ๋ ยที่เป็นสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะแบคทีเรียและสาหร่าย สีเขียวแกมน้าเงินที่สามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศได้ ปมรากของพืชตระกูลถั่วมีแบคทีเรียชื่อ ไรโซเบียม (Rhizobium) อาศัยอยู่ซึ่งแบคทีเรียชนิดนี้ทางานร่วมกับถั่ว สามารถตรึงไนโตรเจนใน อากาศได้การปลูกพืชตระกูลถั่วจึงเป็นผลดีกับดินจะมีธาตุอาหารพืชสูง สภาพของดินที่เหมาะสม ในการเจริญเติบโตของแบคทีเรียชนิดนี้ ควรมีน้ามากพอ ดินมีค่า pH อยู่ระหว่าง 5.5-6.5 อุณหภูมิ ประมาณ 20 – 30 องศาเซลเซียส พืชตระกูลถั่วจึงเหมาะสมในการปลูกเพื่อปรับสภาพดิน 1.3 การป้ องกันและกาจัดศัตรูพืช 1.3.1 ศัตรูพืช คือ สิ่งที่คอยเบียดเบียนพืชที่เราต้องการผลผลิต ทาให้ผลผลิตลดลง หรือไม่มีคุณภาพ วัชพืชต่าง ๆ โรคพืช แมลงศัตรูพืช สัตว์ศัตรูพืช 1.3.2 การป้ องกันกาจัดศัตรูพืชโดยใช้สารเคมีและชีววิธี 1) การป้ องกันกาจัดศัตรูพืชโดยใช้สารเคมี 2) การป้ องกันกาจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี เป็นการใช้สิ่งมีชีวิตมากาจัดสิ่งมีชีวิตที่ เป็นศัตรูพืช โดยสิ่งมีชีวิตนั้นไม่เป็นพิษภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้แมลงทาลายแมลง ด้วยกัน แมลงที่เป็นศัตรูพืชมี 2 ประเภท คือ 2.1) แมลงห้า (Predator) เป็นแมลงที่กินแมลงอื่น ๆ เป็นอาหารใน ลักษณะของการล่าเหยื่อ เช่น ด้วงเต่าดูดน้าเลี้ยงในตัวของเพลี้ยอ่อน มวนเพชฌฆาตกาจัดหนอน ตั๊กแตนตาข้าว แมลงช้างปีกใส กาจัดหนอนได้หลายชนิด ภาพที่ 8.6 ด้วงเต่า ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th ภาพที่ 8.7 มวนเพชฌฆาต ที่มาของาภาพ : http://images.google.co.th
  • 17. 9 2.2) แมลงเบียน (Parasite) เป็นแมลงที่อาศัยเกาะกินอยู่ภายนอกหรือ ภายในตัวแมลงที่เป็นเหยื่อตลอดวงจรชีวิตหรืออย่างน้อยก็ชั่วระยะหนึ่งของวงชีวิตของมัน จนทา ให้แมลงที่เป็นเหยื่อตายในที่สุด เช่น ต่อเบียนจะวางไข่บนหนอนผีเสื้อ เมื่อตัวอ่อนฟักออกมาก็จะ กินหนอนผีเสื้อเป็นอาหาร ภาพที่ 8.8 ตั๊กแตนตาข้าวจับกินเหยื่อ ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th ภาพที่ 8.9 แมลงช้างปีกใส ที่มาของาภาพ : http://images.google.co.th ภาพที่ 8.11 มดกินแมลง ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th ภาพที่ 8.12 แตนเบียน ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th ภาพที่ 8.10 แมลงปอ ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th ภาพที่ 8.13 แมลงเบียนหนอนดักแด้ ที่มาของภาพ : http://images.google.co.th
  • 18. 10 3) การใช้แบคทีเรีย เห็ดราและไวรัสบางชนิดกาจัดแมลงศัตรูพืช เช่น การใช้แบคทีเรียบางชนิดทาลายหนอนผีเสื้อกินใบส้ม ซึ่งจะทาให้ขากรรไกรของแมลงศัตรูพืชเป็น อัมพาตกินพืชไม่ได้และตายในที่สุด 4) การใช้แมลงกาจัดวัชพืช เช่น ใช้หนอนจอกกาจัดจอก ใช้ผีเสื้อกลางคืน ทาลายหญ้าแห้วหมู เป็นต้น 5) การใช้สัตว์กินศัตรูพืชหรือแมลงศัตรูพืช เช่น ใช้เป็ดกาจัดหอยทาก ใช้นกกินหนอน เป็นต้น 1.4 การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช การดูแลและบารุงรักษาพืชจะทาให้พืชเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีระดับหนึ่ง แต่ถ้าต้องการเร่งผลผลิตให้เพิ่มขึ้นมากกว่าปกติหรือเร่งให้ผลผลิตนอกฤดูกาล ปัจจุบันสามารถ ทาได้โดยอาศัยความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้วย การใช้สารควบคุม การเจริญเติบโตของพืช ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้นหรือมนุษย์สังเคราะห์ขึ้นมีหลายกลุ่ม ดังนี้ 1.4.1 สารออกซิน (Auxins) ได้จากพืชและสังเคราะห์ขึ้น ใช้ควบคุมการเจริญเติบโต ของเซลล์ เร่งการเกิดราก ติดผล และป้ องกันผลร่วง ช่วยเปลี่ยนเพศดอกของพืชบางชนิด 1.4.2 สารจิบเบอริน (Gibberrellins) ได้จากพืชและเชื้อราบางชนิด ช่วยเร่งการ เจริญเติบโตขยายขนาดของผล (ใช้กับองุ่น) ช่วยติดผลและเพิ่มน้าหนักของใบ เร่งการออกดอก ของพืชบางชนิด 1.4.3 ไซโตไคนิน (Cykinins) ได้จากพืชและสังเคราะห์ขึ้น เร่งการเจริญเติบโต ทางด้านกิ่งและใบ เร่งการแตกตา (ใช้กับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ) 1.4.4 เอทิลีนและสารปลดปล่อยเอทิลีน (Ethylene and Ethylene Releasing Compounds) พืชสร้างได้เองและเป็นแก๊สที่สามารถพบได้ทั่วไป เช่น ควันไฟ ใช้เร่งการออกดอก ภาพที่ 8.14 ผีเสื้อกลางคืนชนิดต่าง ๆ ที่มาภาพ : http://images.google.co.th
  • 19. 11 ของพืชบางชนิด เร่งการสุกของผลไม้ใช้เร่งการร่วงของใบ ดอก ผล เร่งการไหลของยางพารา เร่งการออกดอกของสับปะรด สารอีกชนิดหนึ่ง คือ โพแทสเซียมไนเตรท (KNO3) ไม่จัดเป็นสารควบคุม การเจริญเติบโต เนื่องจากไม่ใช่สารอินทรีย์ แต่สามารถใช้พ่นเร่งการออกดอกและติดผลได้ ชาวสวนใช้เร่งการออกดอกของมะม่วง 2. การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ 2.1 ด้านเกษตรกรรม ได้แก่ การคัดเลือกพันธุ์และผสมพันธุ์ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พันธุวิศวกรรม การจาลองพันธุ์พืช ทาให้พืชมีสมบัติตามต้องการและทนทานโรค มีการใช้ปุ๋ ย ชีวภาพ เช่น ปุ๋ ยไรโซเบียมกับพืชตระกูลถั่วช่วยตรึงธาตุไนโตรเจน ใช้ปุ๋ ยสาหร่ายแกมน้าเงินช่วย เพิ่มปุ๋ ยไนโตรเจนในนาข้าว และมีการใช้จุลินทรีย์หรือสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นในการทาลายแมลงศัตรูพืช 2.2 ด้านอุตสาหกรรมอาหาร ด้านอุตสาหกรรมการผลิตยีสต์ที่ใช้ทาขนมปัง ผลิตราบางชนิดใช้ทาเนยเข็งและผลิต แบคทีเรียใช้ทานมเปรี้ยว โยเกิร์ต ผลิตไวน์ เบียร์ ผลิตกรดมะนาวและอาหารหมักดอง เช่น เต้าหู้ น้าปลา ซีอิ๊ว ผลิตกรดอะมิโน เช่น ไลซีน เพื่อใช้ผสมในอาหารสัตว์ ผลิตเอนไซม์ทาให้เนื้อนุ่ม ทาให้น้าผลไม้ใส ผลิตสีใช้ผสมอาหาร เช่น เบต้าแคโรทีน 2.3 ทางด้านการแพทย์ ทางด้านการแพทย์ มีการผลิตยาปฏิชีวนะ เช่น เพนนิซิลิน เตตราไซคลิน อิริโอมัยซิน ผลิตวัคซีนป้ องกันโรคต่าง ๆ เช่น ไวรัสตับอักเสบบี ผลิตสารภูมิคุ้มกัน ผลิตเอนไซม์ที่ช่วยในการย่อยอาหารและเอ็นไซม์ที่ช่วยทาลายเม็ดเลือดที่แข็งตัว ผลิตอินซูลิน รักษาโรคเบาหวาน ผลิตฮอร์โมนเพื่อการเจริญเติบโต วิตามิน อินเตอร์พีรอนที่ใช้ในการรักษาโรค ที่เกิดจากไวรัสและมะเร็งผิวหนัง 2.4 ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมใช้จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์และแก๊สชีวภาพเพื่อใช้เป็น เชื้อเพลิงทดแทนพลังงานจากธรรมชาติ ใช้คัดเลือกสายพันธุ์จุลินทรีย์เพื่อกาจัดโลหะหนักในน้าทิ้ง
  • 20. 12 กิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืชแล้ว สามารถ 1. อธิบายและยกตัวอย่างเทคโนโลยีเกี่ยวกับการการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืชได้ 2. อธิบายวิธีการเพิ่มผลผลิตพืชด้วยวิธีต่าง ๆ ได้ 3. อธิบายเกี่ยวกับการป้ องกันกาจัดศัตรูพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชได้ 4. ระบุประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย์ พลังงานและสิ่งแวดล้อมได้ 5. ยกตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับพืชได้ ตอนที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืช คาชี้แจง ให้นักเรียนนาอักษรหน้าข้อความที่อยู่ทางขวามือมาใส่ลงในช่อง  หน้าข้อความที่อยู่ ทางซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กัน  1. การลอกเลียนแบบของยีนที่ต้องการให้แก่พืช  2. กระบวนการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรมด้วยการตัดต่อยีน และเปลี่ยนแปลงยีนในเซลล์ เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มี สมบัติตามต้องการ  3. การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เพื่อประโยชน์ เฉพาะอย่างตามที่มนุษย์ต้องการ  4. การนาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชมาเลี้ยงในอาหาร วิทยาศาสตร์ที่ปลอดเชื้อ และอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม  5. สิ่งมีชีวิตที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม โดยอาศัย เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม ก. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ข. เทคโนโลยีชีวภาพ ค. พืชจาลองพันธุ์ ง. พืชจีเอ็มโอ (GMOs) จ. พันธุวิศวกรรม ฉ. แคลลัส ช. โพรโทพลาสต์
  • 21. 13 ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ 1. เกษตรกรคนหนึ่งมีที่ดินอยู่บริเวณเนินเขาค่อนข้างแห้งแล้ง เขาต้องการปลูกพืชเพื่อเป็นรายได้ ให้กับครอบครัว เขาควรวางแผนและปฏิบัติอย่างไร โดยต้องอนุรักษ์ดินและน้าในบริเวณนั้นด้วย 1.1 พันธุ์พืชที่ปลูก ....................................................................................................................... 1.2 วิธีการปลูก ........................................................................................................................... 1.3 วิธีการจัดการกับดินและน้าสาหรับเพาะปลูกที่ไม่ค่อยเพียงพอ ............................................ ............................................................................................................................................................. 2. สภาพของดินที่จะทาให้พืชตระกูลถั่วเกิดปมรากได้มากต้องมีลักษณะดังนี้ 2.1 ชนิดของจุลินทรีย์ในดินที่ควรมีมากคือ ............................................................................. 2.2 ปริมาณธาตุไนโตรเจนในดินมี .................และปริมาณฟอสฟอรัสในดินมี........................... 2.3 มีน้ามากพอ และมีค่า pH ของดินอยู่ระหว่าง ........................................................................ 2.4 อุณหภูมิของดินประมาณ....................................................................................................... 3. ในกรณีใดบ้างที่เราควรปลูกพืชตระกูลถั่วบารุงดิน ต้องคลุกด้วยเชื้อไรโซเบียมอยู่เสมอ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. จงศึกษาข้อมูลต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม “เกษตรกรรายหนึ่งเพาะฟักแตนเบียนไข่ในไข่ของไหมป่า แล้วนาไข่ของไหมป่าไปแขวนไว้ที่ กิ่งลาไยที่กาลังออกดอกและติดผลอ่อน ๆ เมื่อแตนเบียนเป็นตัวเต็มวัยจะผสมพันธุ์และวางไข่ในไข่ ของมวลลาไย จึงทาให้ไข่ของมวลลาไยถูกทาลาย” 4.1 ศัตรูของลาไยคือ ........................................................................ส่วนแมลงกาจัดศัตรูของ ลาไยคือ ..............................................และแมลงศัตรูพืชชนิดนี้เป็นตัวห้าหรือตัวเบียน..................... 4.2 วิธีกาจัดศัตรูพืชตามข้อมูลนี้ เรียกว่า..................................................................................... 4.3 การกาจัดศัตรูพืชด้วยวิธีนี้นักเรียนคิดว่า เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร .................................... .............................................................................................................................................................
  • 22. 14 5. ให้นักเรียนใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถาม ก = จิบเบอเรลลิน ข = ออกซิน ค = โพแทสเซียมไนเตรท ง = ไซโตไคติน ง = เอทิลีน 5.1 เกษตรกรที่ทาสวนกุหลาบ ต้องการยืดช่อดอกและขนาดของดอกให้ใหญ่ขึ้น เขาควรใช้ สารเคมีชนิดใด 5.2 เกษตรกรต้องการเร่งให้กล้วยสุก เขาต้องใช้สารใด .................................. ถ้านาสารนี้ไป ใช้ในสับปะรดจะเกิดผลอย่างไร.......................................................................................................... 5.3 สารใดที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ .....................................................และมีผลต่อการ เจริญเติบโตของเนื้อเยื่อพืชอย่างไร..................................................................................................... 5.4 ถ้าต้องการเร่งการเกิดรากของกิ่งปักชาควรนากิ่งปักชาไปแช่ในสารใด................................ ถ้าต้องการขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีการติดตาควรทาสารใดเพื่อเร่งการติดตา.......................................... 5.5 ชาวสวนมะม่วงเร่งการออกดอกของมะม่วง ควรพ่นสารใด................................................. และใช้สารใดเร่งการติดผลและป้ องกันผลร่วงของมะม่วง ................................................................. สารทั้งสองชนิดนี้ สารใดไม่จัดเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช............................................ 6. ให้นักเรียนยกตัวอย่างประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ 6.1 ด้านเกษตรกรรม.................................................................................................................... 6.2 ด้านอุตสาหกรรมอาหาร........................................................................................................ 6.3 ด้านการแพทย์........................................................................................................................ 6.4 ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม................................................................................................ 7. ถ้านักเรียนจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช นักเรียนจะ เลือกทาโครงงานเรื่องใดได้บ้าง .......................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 23. 17 แนวการตอบกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืชแล้ว สามารถ 1. อธิบายและยกตัวอย่างเทคโนโลยีเกี่ยวกับการการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืชได้ 2. อธิบายวิธีการเพิ่มผลผลิตพืชด้วยวิธีต่าง ๆ ได้ 3. อธิบายเกี่ยวกับการป้ องกันกาจัดศัตรูพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชได้ 4. ระบุประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมอาหาร การแพทย์ พลังงานและสิ่งแวดล้อมได้ 5. ยกตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับพืชได้ ตอนที่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์พืช คาชี้แจง ให้นักเรียนนาอักษรหน้าข้อความที่อยู่ทางขวามือมาใส่ลงในช่อง  หน้าข้อความที่อยู่ ทางซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กัน 1. การลอกเลียนแบบของยีนที่ต้องการให้แก่พืช 2. กระบวนการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรมด้วยการตัดต่อยีน และเปลี่ยนแปลงยีนในเซลล์ เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มี สมบัติตามต้องการ 3. การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เพื่อประโยชน์ เฉพาะอย่างตามที่มนุษย์ต้องการ 4. การนาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชมาเลี้ยงในอาหาร วิทยาศาสตร์ที่ปลอดเชื้อ และอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม 5. สิ่งมีชีวิตที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม โดยอาศัย เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม ก. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ข. เทคโนโลยีชีวภาพ ค. พืชจาลองพันธุ์ ง. พืชจีเอ็มโอ (GMOs) จ. พันธุวิศวกรรม ฉ. แคลลัส ช. โพรโทพลาสต์ ค จ ข ก ง
  • 24. 18 ตอนที่ 2 เรื่อง การเพิ่มผลผลิตของพืชและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ 1. เกษตรกรคนหนึ่งมีที่ดินอยู่บริเวณเนินเขาค่อนข้างแห้งแล้ง เขาต้องการปลูกพืชเพื่อเป็นรายได้ ให้กับครอบครัว เขาควรวางแผนและปฏิบัติอย่างไร โดยต้องอนุรักษ์ดินและน้าในบริเวณนั้นด้วย 1.1 พันธุ์พืชที่ปลูก พันธุ์พืชที่ปลูกต้องทนต่อความแห้งแล้ง เช่น สับปะรด 1.2 วิธีการปลูก ควรปลูกแบบขั้นบันไดเพื่อลดการชะล้างพังทลายของดิน 1.3 วิธีการจัดการกับดินและน้าสาหรับเพาะปลูกที่ไม่ค่อยเพียงพอ ปรับพื้นที่ให้เป็นแหล่ง เก็บกักน้าให้ได้มากพอ และปลูกพืชแบบใช้ระบบน้าหยด เพื่อให้ประหยัดน้า แต่พืชได้รับน้า เพียงพอ 2. สภาพของดินที่จะทาให้พืชตระกูลถั่วเกิดปมรากได้มากต้องมีลักษณะดังนี้ 2.1 ชนิดของจุลินทรีย์ในดินที่ควรมีมาก คือ แบคทีเรียไรโซเบียมในปมรากถั่ว 2.2 ปริมาณธาตุไนโตรเจนในดินมี น้อย และปริมาณฟอสฟอรัสในดินมี มาก 2.3 มีน้ามากพอ และมีค่า pH ของดินอยู่ระหว่าง pH 5.5 – 6.5 2.4 อุณหภูมิของดินประมาณ 20 – 30 องศาเซลเซียส 3. ในกรณีใดบ้างที่เราควรปลูกพืชตระกูลถั่วบารุงดิน ต้องคลุกด้วยเชื้อไรโซเบียมอยู่เสมอ เป็นพื้นที่ที่ปลูกพืชเป็นครั้งแรก พื้นที่ไม่เคยปลูกถั่วชนิดนี้มาก่อน พื้นที่เป็นดินทราย หรือ ดินเปรี้ยว หรือดินมาความชุ่มชื้นมากเกินไป 4. จงศึกษาข้อมูลต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม “เกษตรกรรายหนึ่งเพาะฟักแตนเบียนไข่ในไข่ของไหมป่า แล้วนาไข่ของไหมป่าไปแขวนไว้ที่ กิ่งลาไยที่กาลังออกดอกและติดผลอ่อน ๆ เมื่อแตนเบียนเป็นตัวเต็มวัยจะผสมพันธุ์และวางไข่ในไข่ ของมวลลาไย จึงทาให้ไข่ของมวลลาไยถูกทาลาย” 4.1 ศัตรูของลาไยคือ มวนลาไย ส่วนแมลงกาจัดศัตรูของลาไยคือ แตนเบียน และแมลง ศัตรูพืชชนิดนี้เป็นตัวห้าหรือตัวเบียน ตัวเบียน 4.2 วิธีกาจัดศัตรูพืชตามข้อมูลนี้ เรียกว่า วิธีชีววิธี คือ ใช้สิ่งมีชีวิตกาจัดกันเอง 4.3 การกาจัดศัตรูพืชด้วยวิธีนี้นักเรียนคิดว่า เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร เหมาะสมเพราะ ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยสาหรับมนุษย์
  • 25. 19 5. ให้นักเรียนใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถาม ก = จิบเบอเรลลิน ข = ออกซิน ค = โพแทสเซียมไนเตรท ง = ไซโตไคติน ง = เอทิลีน 5.1 เกษตรกรที่ทาสวนกุหลาบ ต้องการยืดช่อดอกและขนาดของดอกให้ใหญ่ขึ้น เขาควรใช้ สารเคมีชนิดใด 5.2 เกษตรกรต้องการเร่งให้กล้วยสุก เขาต้องใช้สารใด จ ถ้านาสารนี้ไปใช้ในสับปะรดจะ เกิดผลอย่างไร เร่งการออกดอกของสับปะรด 5.3 สารใดที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ง และมีผลต่อการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อพืชอย่างไร ควบคุมการแบ่งเซลล์ 5.4 ถ้าต้องการเร่งการเกิดรากของกิ่งปักชาควรนากิ่งปักชาไปแช่ในสารใด ข ถ้าต้องการ ขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีการติดตาควรทาสารใดเพื่อเร่งการติดตา ง 5.5 ชาวสวนมะม่วงเร่งการออกดอกของมะม่วง ควรพ่นสารใด ค และใช้สารใดเร่งการติดผล และป้ องกันผลร่วงของมะม่วง ข ทั้งสองชนิดนี้ สารใดไม่จัดเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของ พืช ค 6. ให้นักเรียนยกตัวอย่างประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ 6.1 ด้านเกษตรกรรม เช่น การขยายพันธุ์พืช การปรับปรุงพันธุ์ การทาปุ๋ ยชีวภาพ 6.2 ด้านอุตสาหกรรมอาหาร เช่น ผลิตเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ ผลิตเนย นมเปรี้ยว โยเกิร์ต 6.3 ด้านการแพทย์ เช่น ผลิตยาปฏิชีวนะ ผลิตวัคซีนป้ องกันโรค 6.4 ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เช่น ใช้จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ แก๊สชีวภาพ ใช้จุลินทรีย์ กาจัดน้าเสียและคราบไขมัน 7. ถ้านักเรียนจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช นักเรียนจะ เลือกทาโครงงานเรื่องใดได้บ้าง โครงงานวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช เช่น 1) การทาไวน์จากผลหม่อน 2) การฟอกสีไหมจากเปลือกนุ่น 3) ปุ๋ ยชีวภาพจากใบก้ามปูเร่งการเจริญเติบโตของพริก 4) ยาสระผมจากผลมะกรูด 5) การทาน้ายาล้างจานสูตรผลไม้
  • 26. 20 เกณฑ์การให้คะแนนกิจกรรมที่ 8 เรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช ข้อ รายการประเมิน ระดับคะแนน ตอนที่ 1 (5 คะแนน) 1 -5 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากไม่มีส่วนผิด 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 ตอนที่ 2 (15 คะแนน) 1 -6 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นมากทุกข้อไม่มีส่วนผิด 2 ตอบได้ถูกต้องตรงประเด็นผิด 1 -2 รายการหรือ 1 -2 ข้อ 1 ตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบ 0 7 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช ได้ 2 ชื่อขึ้นไป 3 บอกชื่อโครงงานที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช ได้ 2 ชื่อขึ้นไป 2 บอกชื่อโครงงานที่เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืชไม่ได้หรือ บอกแต่ไม่สอดคล้อง 1 รวมตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2 (5 + 15) = 20 คะแนน สรุปผลการประเมิน  ดีมาก (16 – 20 คะแนน)  ดี (11 –15 คะแนน)  ปานกลาง ( 6 – 10 คะแนน)  ผ่าน ( 1 – 5 คะแนน)  ต้องปรับปรุง (0 คะแนน) ผู้ประเมิน ............................................ (............................................)
  • 27. 21 บรรณานุกรม กนก จันทร์ขจร และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่ง สินค้าและพัสดุภัณฑ์. . (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. กฤษณีย์ ปิตุรัตน์. (2548). ผลการใช้ชุดฝึกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ที่พัฒนามาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กุณฑรี เพชรทวีพรเดช และนิตยา บุญมี. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. เกริก ท่วมกลาง. (2546). แบบฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน คู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ช่วงชั้นที่ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 4- 6). : กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์. จักฬพล สว่างอารมณ์. (2543). ผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกทาโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาบูรพา. ชาตรี เกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก. เตือนใจ ไชยโย. (2545). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกคิดหัวข้อและ วางแผนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ถนัด ศรีบุญเรือง. (2549). วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 7. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. . (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. เล่ม 1. นนทบุรี : ไทยร่วมเกล้า. ถวัลย์ มาศจรัสและมณี เรืองขา. (2549). แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโครงงาน. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
  • 28. 22 บัญชา แสนทวี และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้น ม.1. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช. ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. (2551). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แม็ค . ปิ่นศักดิ์ ชุมเกษียน และปิยาณี สมคิด. (2545). วิทยาศาสตร์ 2 ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). นนทบุรี : ไทยร่มเกล้า. พเยาว์ ยินดีสุข และคณะ. (2546). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ. พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (วพ)จากัด . (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์พันธุ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพ วิชาการ. . (2550). สุดยอดคู่มือครูแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา คุณภาพวิชาการ. พีระ พนาสุภน. (2551). แม็ค ม.ต้น. กรุงเทพฯ : ซีวีแอลการพิมพ์. โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง. (2551). แผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2551.กลุ่มบริหารงาน ทั่วไป. . (2550). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2). ฝ่ายวิชาการ. ลิขิต ฉัตรสกุล และคณะ. (2533). วิทยาศาสตร์ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : วัฒนาพาณิช. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2550). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design.กรุงเทพฯ : ช้างทอง. ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ. (2545). วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3). กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี. (2549). โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา. : กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.