SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
“การบริหารสถานศึกษาอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม”
คุณค่าและความสาคัญของอาชีพครู
กิจกรรมนี้มุ่งหวังให้คุณครูตระหนักถึงความสาคัญ
ของคุณครูในฐานะพ่อแม่คนที่สองของเด็ก ๆ และในฐานะ
ของครูผู้สร้าง รวมทั้งความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนในการร่วม
บ่มเพาะความดีงาม จนกระทั่งก่อเกิดเมล็ดพันธุ์ที่ดีงาม ซึ่ง
จะเติบโตเป็นต้นกล้าแห่งความดีงาม/ ต้นไม้แห่งความหวัง
ของครอบครัวและมวลมนุษยชาติต่อไป
โรงเรียนเปรียบเหมือนบ้าน ... ครูอาจารย์เปรียบเหมือนพ่อแม่ ... นักเรียนเปรียบเหมือนพี่น้องกัน
Goals
Moral Youth/Good Boys …
High Quality of Life
(Goodness … Brainy … Happiness)
Brain Storming
(Think Pair Share/Bottom Up)
หลากหลายปัญหา
ของ..................
ประเด็นปัญหาที่สอดคล้องกัน
- ความรับผิดชอบ
- ความมีระเบียบวินัย
- จิตอาสา/จิตสาธารณะ
- ความมีมารยาทรู้จักกาลเทศะ
- การใฝ่ เรียนรู้ ความขยันหมั่นเพียร
- ความสะอาด
- ความซื่อสัตย์
- ความกตัญญู
- ความพอเพียง
- การทะเลาะวิวาท
วิเคราะห์
และจัดลาดับ???
กรณี
ตัวอย่าง
การศึกษากับการพัฒนามนุษย์
การศึกษา : เครื่องมือในการพัฒนาคน
การศึกษา : รากฐานของชีวิต
(รากฐานของตึกคืออิฐ ... รากฐานของชีวิตคือการศึกษา)
การศึกษา : พัฒนาคนให้มีคุณภาพ/เจริญงอกงาม
(Education is growth) ทั้ง IQ, EQ และ MQ
การศึกษา : หลักสูตร ผู้เรียน ผู้สอน สื่อ ห้องเรียน
คุณภาพ กิจกรรมการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ ฯลฯ
หลักสูตร
ปรัชญา
หลักการ
โครงสร้าง
จุดหมาย
เนื้อหารายวิชา
วิธีจัดการเรียนรู้ สื่อ/กิจกรรม
การวัด/ประเมิน
คุณลักษณะ
ความรู้
ทักษะ/กระบวนการ
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/
พันธกิจ
แผนการ
จัดการเรียนรู้
โมเดลการถ่ายทอดความรู้ : รู้และเข้าใจ
องค์ความรู้
ลุ่มลึก/กระบวนการ
และผสมผสาน
วิธีการถ่ายทอด
ด้วยความหลากหลาย
(สื่อ/เทคโนโลยี)
(กิจกรรมสร้างสรรค์)
กลุ่มเป้ าหมาย
การวัดและประเมินผล
(สภาพจริง/ผลผลิต/ชิ้นงาน)
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
- ความรู้ (K)
- ทักษะ/กระบวนการ (P)
- ค่านิยม/คุณลักษณะ (A)
รู้และเข้าใจ
- แตกต่าง
- ภูมิหลัง
- ออกแบบการสอน
บทบาทและความสาคัญของอาชีพครู
ครูกับการจัดการเรียนรู้
ครูในฐานะผู้จัดการ/ผู้สนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้
ครูในฐานะผู้อานวยการให้เกิดการเรียนรู้
ครูในฐานะนักวิจัย
ครูในฐานะผู้มีทักษะการสอน
ครูในฐานะนักออกแบบการจัดการเรียนรู้
ครูในฐานะกัลยาณมิตร/ผู้บ่มเพาะความดีงาม
บทบาทของครู
Model
(ตัวอย่าง)??? ตัวอย่างที่ดี
มีค่ากว่าคาสอน
ทาให้เขาดู
เป็นครูให้เขาเห็น การสอนที่ดีที่สุด
คือการทาให้ดูเป็นตัวอย่าง
ครู
(ค. คน ต้นแบบ)
ถ่ายทอดความรู้/มอบศิลปะวิทยาการ
อบรมบ่มเพาะความดีงาม
ดูแลช่วยเหลือ/ป้ องกันแก้ไข
เติมเต็มประสบการณ์
ส่งเสริม/สนับสนุน
ช่างก่อสร้าง ช่างปั้น ช่างแกะสลัก ช่างเจียระไน
ความสาคัญของครู
จาแนกตามคุณภาพและลักษณะงาน
(1) พวกก้าวหน้า
(2) พวกเฉยเมย
(3) พวกผสม
ประเภทของครู
คุณลักษณะของครูที่ดี
1. ครองตน
2. ครองคน
3. ครองงาน
คุณลักษณะของครูที่ดี
มีความรู้ดี (รู้ลึกและรู้รอบ)
มีเทคนิคและทักษะการสอนที่ดี
มีคุณธรรมจริยธรรม
มีความรักและศรัทธาในอาชีพครู
มีทักษะการจัดชั้นเรียนที่ดี
มีจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
ครูดี/มีประสิทธิภาพ
1. มีทักษะการจัดชั้นเรียนที่ดี
2. สอนเพื่อให้นักเรียนเกิดความรอบรู้
3. มีความคาดหวังเชิงบวกต่อความสาเร็จของนักเรียน
Good Head
Good Health
Good Heart
Good Hand
Good Communication
ศักยภาพของครู ... สู่ศักยภาพของผู้เรียน
ครูดีในดวงใจ/ครูที่เด็ก ๆ พึงประสงค์
- มีเหตุผล/รับฟังความคิดเห็น/ไม่เอาแต่ใจตัวเอง
- ยิ้มแย้มแจ่มใส/เป็นกันเอง/มนุษย์สัมพันธ์ดี
- รู้ลุ่มลึก/สอนดี/สอนสนุก/มุขแพรวพราว
- รัก เข้าใจ และให้โอกาส
- รักและเมตตาศิษย์โดยเสมอหน้ากัน/ยุติธรรม
06/05/57 22
มนุษย์บ่มเพาะเมล็ดพันธุ์
แห่งความดีด้วยการเรียนรู้
ที่มีสติ รู้จักยับยั้งชั่งใจ และ
ควบคุมวิถีประพฤติไม่ให้
ไปทาความเดือดร้อน แก่
ตนเองและผู้อื่น
ธรรมชาติสร้างมนุษย์ให้มีความ
รักให้แก่ลูก แก่ครอบครัว และ
มนุษย์ก็สามารถเรียนรู้ที่จะ
แบ่งปันความรักให้แก่คนอื่น ๆ
ด้วยความเห็นใจเมตตาเอื้ออาทร
ได้เช่นกัน
ทุกคนทุกครอบครัวมี
ประสบการณ์ในตัวเอง หากมี
เงื่อนไขให้เขาเรียนรู้ ได้เห็น
ปัญหา ได้เข้าใจสาเหตุของ
ปัญหา ย่อมมีศักยภาพลุก
ขึ้นมาแก้ไขปัญหาของตนได้
เมล็ดพันธุ์แห่งความดี
เมล็ดพันธุ์แห่งการเรียนรู้
เมล็ดพันธุ์แห่งความรัก
กระบวนการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม
(คุธรรมทุกพื้นที่ ... ความดีทั้งโรงเรียน)
กาหนดปัญหา
(ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์)
ตั้งเป้ าหมาย
(คุณธรรมที่ต้องการพัฒนา/อัตลักษณ์) ???
???
???
พฤติกรรมเชิงบวก
(การเปลี่ยนแปลง)
ปัจจัยที่นาไปสู่
ความสาเร็จ?
ตัวอย่าง “การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม”
ปัญหา/ใคร?
(บริบท)
เหตุของปัญหา?
(จัดลาดับ)
เป้ าหมาย?
(ปริมาณ/คุณภาพ)
วิธีการ/How to?
(สร้างสรรค์)
เกณฑ์/ตัวชี้วัด?
(สะท้อน/ประเมิน)
ผลผลิต/ผลลัพธ์?
(คุณธรรม)
SWOT Analysis/ปัจจัยที่นาไปสู่ความสาเร็จ
กระตุกต่อมคิด ... ติดอาวุธทางปัญญา
การพัฒนาคุณธรรม
สร้างภูมิคุ้มกัน
ที่เข้มแข็ง
ครอบครัวอบอุ่น เด็กดี ชุมชนเข้มแข็ง สังคมคุณภาพ
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน
หัวข้อการอบรมเชิงปฏิบัติการ
หลักการจัดการเรียนรู้โดยภาพรวม
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณธรรมฯ
การจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการความรู้คู่ความดี
การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์/อัตลักษณ์นักเรียน
ติดอาวุธทางปัญญา ... ด้วยต้นกล้าดอกไม้บาน
องค์ประกอบของการเรียนการสอน
 ผู้เรียนคุณภาพ?
 ผู้สอนคุณภาพ?
 เนื้อหาถูกต้อง/ลุ่มลึก/ทันสมัย
 วิธีการจัดการเรียนรู้หลากหลาย/สร้างสรรค์/
สนุกสนาน/มาตรฐาน
 สื่อ/เทคโนโลยี/ICT/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ?
 ห้องเรียนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องคุณภาพ?
BBL
(Brain Base Learning)
ความแตกต่างของ
แต่ละบุคคล
Learning Style
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 (แก้ไข 2545)
Content
Knowledge)หลักสูตร
แกนกลาง 51
หลักการจัดการเรียนรู้
PCK
Pedagogical
หลักสูตร
ปรัชญา
หลักการ
โครงสร้าง
จุดหมาย
เนื้อหารายวิชา
วิธีจัดการเรียนรู้ สื่อ/กิจกรรม
การวัด/ประเมิน
คุณลักษณะ
ความรู้
ทักษะ/กระบวนการ
ปณิธาน/วิสัยทัศน์/
พันธกิจ
แผนการ
จัดการเรียนรู้
วิสัยทัศน์
หมวดที่ 4 : แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22 :
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด
กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
หมวดที่ 4 : แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 23 :
การจัดการทั้งในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา
ตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม
กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของ
แต่ละระดับการศึกษาในเรื่องของ (8 กลุ่มสาระการเรียนรู้)
หมวดที่ 4 : แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 24 : การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการดังต่อไปนี้
(1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึง
ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
(2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้
มาใช้เพื่อป้ องกันและแก้ไขปัญหา
(3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น
รักการอ่านและเกิดการใฝ่ รู้อย่างต่อเนื่อง
(4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้ง
ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
หมวดที่ 4 : แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 24 (ต่อ)
(5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และ
อานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่ง
วิทยาการประเภทต่าง ๆ
(6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา
ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
มาตรา 25 : รัฐต้องส่งเสริมการดาเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่
ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทย์
ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูล และแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ อย่างพอเพียงและมีประสิทธิภาพ
การเตรียมการก่อนการสอน : รู้และเข้าใจ
สอนใคร?
สอนอะไร?
เนื้อหามาจากไหน?
เป้ าหมาย/วัตถุประสงค์?
สอน/ออกแบบอย่างไร?
ใช้สื่อ/กิจกรรม/แหล่งเรียนรู้?
ผลสัมฤทธิ์ของการสอน/ชิ้นงาน?
ทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้?
วิเคราะห์???
ปัจจัย???
เป้ าหมายของการสอนและการวัดประเมินผล
เป้ าหมายของการสอนแต่ละครั้งคืออะไร?
ผู้สอนทราบได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้?
ผู้เรียนต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอะไรบ้าง?
มีร่องรอยหรือหลักฐานอะไรที่บ่งชี้ว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้?
ทาอย่างไรให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ผู้สอนตรวจวัดได้?
Backward
Design
วิธีการจัดการเรียนรู้
หลากหลาย
สร้างสรรค์
เหมาะสมกับเนื้อหา/เวลา
ใช้สื่อ/เทคโนโลยีเป็นตัวช่วย
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ได้ทั้งสาระและความบันเทิง (play & learn)
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้
ใกล้เคียงชีวิตจริง/วิถีชีวิต/นาไปประยุกต์ใช้ได้
ชวนคิด?
(1) วิธีสอนที่หลากหลาย ... วิธีไหนดีที่สุด? ... เพราะอะไร?
(2) ใช้สื่อการสอนอะไรดี? ... ใช้กิจกรรมอะไรดี?
If you hear, you forget.
If you see, you remember.
If you do, you learn.
- Child center
- Happiness
- Participation
- Application
Pedagogical Content Knowledge
(PCK)
สิ่งสาคัญที่ควรรู้และตระหนัก
ในการพัฒนาคุณธรรมนักเรียน
รู้และเข้าใจเด็ก ๆ (รู้เขา ... รู้เรา ... รบ 100 ครั้ง ... ชนะ 100 ครั้ง)
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล (สังเกตและใช้ระเบียนประวัติ)
สร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจ (ใช้สื่อดี ๆ ทิ่มหู ทิ่มตา ทิ่มใจ จุดเปลี่ยน)
สร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจ (ชวนหรือพาทากิจกรรมดีๆ)
ชวนให้เห็นคุณค่าและศักยภาพของตัวเอง (Self esteem)
เพิ่มพื้นที่และให้โอกาส (For All ... ทุกคนทาได้ ... ไม่เลือกเก่งอ่อน)
ใช้กิจกรรมเป็นเครื่องมือในการพัฒนาเด็ก ๆ (เด็กคิด เด็กทา เด็กนาเสนอ)
เสริมแรง ยกย่อง ชื่นชม เสริมพลัง (Empowerment)
สะท้อนการคิด (Reflection) ประเมิน (Change = Success)
ครูต้องหาวิธีการ
สร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจ
ในการทาดีและการเป็นคนดี
บทเรียนของชีวิต ...
จากเด็กข้างถนน สู่ “ฮาร์วาร์ด”
“Just Do It”
“พ่อแม่นกคู่หนึ่ง เลือกทารังตามต้นไม้ที่ปลอดภัย เช่น บนต้นเตยใหญ่
มีผู้ที่รักนกเป็นชีวิตจิตใจ ได้เฝ้ าสังเกตพฤติกรรมของพ่อแม่นกเขาคู่หนึ่ง พบว่า
ขณะที่พ่อแม่นกเขากาลังฟักไข่สองฟองในพงต้นเตยใหญ่ มีงูเห่าตัวหนึ่งเลื้อยเข้าไปใน
บริเวณรังนก ทั้งพ่อและแม่นกเขาตื่นตกใจมาก กลัวว่าลูกรักจะมีอันตราย ทั้งคู่ร้อง
และบินฉวัดเฉวียนไล่งู โดยพุ่งเข้ารุมจิกตีงูเห่าที่กาลังแผ่แม่เบี้ยคอยฉกพวกมันอย่างไม่
คิดชีวิตตน จนในที่สุดงูเห่าทนไม่ได้จึงเลื้อยหลีกหนีไป”
ท่านได้อะไรจากการอ่านข้อความข้างต้น ???
โครงงานคุณธรรม
If you hear, you forget.
If you see, you remember.
If you do, you learn.
เด็กคิด เด็กทา เด็กนาเสนอ
Project
approach
ช่องทาง
การขับเคลื่อน
เพื่อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพและรอบด้าน เพื่อความเป็น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มี
ศีลธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์
เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข แบ่งเป็น
1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมนักเรียน
(2.1) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์
และนักศึกษาวิชาทหาร
(2.2) กิจกรรมชุมนุม หรือชมรม
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์
ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร
เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม
มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ และกิจกรรมทาง
สังคม เป็นต้น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ข้อ + อัตลักษณ์ของโรงเรียน
หลักสูตรสถานศึกษา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
(กิจกรรมชุมนุม/ชมรม/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์)
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
ฝึกปฏิบัติการ
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน”
(If you do, you learn)

More Related Content

What's hot

คุณธรรม 8 ประการ
คุณธรรม 8 ประการคุณธรรม 8 ประการ
คุณธรรม 8 ประการPraewpan219
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีSophinyaDara
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐Pattie Pattie
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปpatthanan18
 
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก norrasweb
 
Best1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครูBest1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครูPrasong Somarat
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมnorrasweb
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..krupotjanee
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนnorrasweb
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์mos44854
 
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีน
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีนงานนำเสนอ1การสอนและทหารจีน
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีนmymeanmeak
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 

What's hot (20)

Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
คุณธรรม 8 ประการ
คุณธรรม 8 ประการคุณธรรม 8 ประการ
คุณธรรม 8 ประการ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
เป้าหมายการศึกษาไทย ๔.๐
 
การจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนวการจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนว
 
005
005005
005
 
กิจการนักเรียน
กิจการนักเรียนกิจการนักเรียน
กิจการนักเรียน
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
 
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลโรงเรียนคุณธรรม “คุณธรรมสร้างครู ครูสร้างเด็ก
 
Best1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครูBest1 ไม้เด็ดของครู
Best1 ไม้เด็ดของครู
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรม
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..
 
คู่มือ
คู่มือคู่มือ
คู่มือ
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีน
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีนงานนำเสนอ1การสอนและทหารจีน
งานนำเสนอ1การสอนและทหารจีน
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 

Viewers also liked

บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์primpatcha
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52Szo'k JaJar
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบNirut Uthatip
 
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisa
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisaการเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisa
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisaพัน พัน
 
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงบทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงNirut Uthatip
 

Viewers also liked (15)

Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52
 
การ์ดตบ
การ์ดตบการ์ดตบ
การ์ดตบ
 
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisa
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisaการเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisa
การเพิ่มคุณภาพ Onet และ pisa
 
62 a
62 a62 a
62 a
 
เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52
 
62 b
62 b62 b
62 b
 
Onet 03
Onet 03Onet 03
Onet 03
 
Eng a net
Eng a netEng a net
Eng a net
 
Science a net
Science a netScience a net
Science a net
 
Onet52 55 m3
Onet52 55 m3Onet52 55 m3
Onet52 55 m3
 
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงบทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
บทคัดย่อรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
 
Onet .04
Onet .04Onet .04
Onet .04
 

Similar to 1 กระตุกต่อมคิด

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
โครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfโครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfbodinkesorn1
 
โครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfโครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfbodinkesorn1
 
9789740331278
97897403312789789740331278
9789740331278CUPress
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน Orange Wongwaiwit
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานสุชาติ องค์มิ้น
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการWatcharasak Chantong
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 

Similar to 1 กระตุกต่อมคิด (20)

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
โครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfโครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdf
 
โครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdfโครงการสอน.pdf
โครงการสอน.pdf
 
02
0202
02
 
9789740331278
97897403312789789740331278
9789740331278
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 

More from Nirut Uthatip

รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงNirut Uthatip
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
ทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวNirut Uthatip
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐคู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐNirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือNirut Uthatip
 
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์Nirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือNirut Uthatip
 
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์Nirut Uthatip
 
การนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidreการนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ PidreNirut Uthatip
 
1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ดNirut Uthatip
 
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...Nirut Uthatip
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557Nirut Uthatip
 
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติNirut Uthatip
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Nirut Uthatip
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Nirut Uthatip
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Nirut Uthatip
 

More from Nirut Uthatip (20)

รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียงรายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
รายงานการพัฒนาคู่มือการนิเทศการพัฒนาสถานศึกษาสู่สถานศึกษาพอเพียง
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Audit chartern2
Audit chartern2Audit chartern2
Audit chartern2
 
ทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนว
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ปก Ita
ปก Itaปก Ita
ปก Ita
 
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐคู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คู่มือ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
รายงานการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
 
การนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidreการนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidre
 
1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด
 
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
 
Full
FullFull
Full
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
ขีดจำกัดล่างคะแนนสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
 
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
Kpi ประเมินภายนอกรอบ4 พฐ 040457
 

1 กระตุกต่อมคิด