SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคจิตเภท (Schizophrenia)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นายสถาพร ตาบู้ เลขที่ 26 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายสถาพร ตาบู้ เลขที่ 26
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคจิตเภท
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
(Schizophrenia)
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายสถาพร ตาบู้
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษาที่ 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากโรคนี้เป็นโรคที่เกิดความผิดปกติที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด อีกทั้งเป็นโรคที่รุนแรงและเรื้อรัง ผู้ป่วย
ส่วนใหญ่เริ่มมีอาการในช่วงวัยรุ่น เมื่อเป็นแล้วมักไม่หายขาด ส่วนใหญ่มีอาการกาเริบเป็นช่วงๆ โดยมี อาการ
หลงเหลืออยู่บ้างมนระหว่างนั้น อาการในช่วงกาเริบจะเป็นกลุ่มอาการด้านบวก เช่น ประสาทหลอน หลงผิด และใน
ระยะส่วนใหญ่มีกลุ่มอาการด้านลบ เช่น พูดน้อย เฉื่อยชา แยกตนเอง ซึ่งปัจจุบันยังไม่พบสาเหตุที่แน่ชัดของโรคนี้ จึง
ยังไม่มีวิธีรักษาที่เฉพาะเจาะจง แต่ผู้ป่วยอาจบรรเทาอาการที่เกิดขึ้นได้ โดยต้องเข้ารับการรักษาเพื่อควบคุมอาการไป
ตลอดชีวิต จึงทาให้ผู้จัดทาโครงงานได้เกิดความสนใจที่จะศึกษาโรคนี้และแนวทางในการรักษาบรรเทาโรคนี้และ
ต้องการที่จะเผยแพร่ข้อมูลต่างๆให้กับผู้ที่ได้มีความสนใจในเรื่องนี้ ซึ่งทาให้ผู้ที่ได้รับข้อมูลต่างๆในเรื่องนี้ ได้มีแนวทาง
ในการป้องกันให้กับตนเอง หรือคนอื่นๆ ที่รอบตัวเอง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคจิตเภท ด้วยตนเอง
2.เพื่อได้แนวทางในการรักษาของโรคนี้ ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถช่วยบรรเทา
อาการนี้ ได้ลดลงอย่างมาก
3.เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
4.เพื่อให้ผู้ที่มีความสนใจในเรื่องนี้ ได้รับประโยชน์ต่างๆในเรื่องนี้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงงานเรื่องโรคจิตเภทนี้ ได้ทาการศึกษาหาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับโรคนี้ เช่น การรักษา สาเหตุของโรคนี้
พฤติกรรมต่างๆผู้คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ การวินิจฉัย ผลกระทบของผู้ป่วย ภาวะโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับโรคนี้
3
ซึ่งผู้ทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมี
ระยะเวลาดาเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 14 กันยายน 2562
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
Schizophrenia หรือโรคจิตเภท เป็นโรคความผิดปกติทางจิตที่รุนแรงและเรื้อรัง ส่งผลต่อการพูด การ
คิด การรับรู้ ความรู้สึก และการแสดงออกของผู้ป่วย ทาให้ผู้ป่วยมีอาการต่าง ๆ อย่างประสาทหลอน หลงผิด ปลีกตัว
จากสังคม หรือไม่สามารถใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติ ซึ่งปัจจุบันยังไม่พบสาเหตุที่แน่ชัดของโรคนี้ จึงยังไม่มีวิธีรักษาที่
เฉพาะเจาะจง แต่ผู้ป่วยอาจบรรเทาอาการที่เกิดขึ้นได้ โดยต้องเข้ารับการรักษาเพื่อควบคุมอาการไปตลอดชีวิต
อาการของจิตเภท
อาการของโรคจิตเภทอาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ อาการด้านบวก อาการด้านลบ และอาการด้านการ
รับรู้ ดังนี้
อาการด้านบวก เป็นอาการทางจิตที่มักจะไม่เกิดขึ้นกับคนที่มีสุขภาพดีทั่ว ๆ ไป ซึ่งผู้ป่วยอาจสูญเสียความสามารถใน
การรับรู้ความเป็นจริงบางอย่าง โดยอาจมีอาการดังต่อไปนี้
 ประสาทหลอน ผู้ป่วยอาจมองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น รู้สึก หรือรับรสที่ไม่มีอยู่จริง แต่มักเชื่อว่าสิ่งเหล่านั้นมี
อยู่จริงซึ่งเกิดจากความคิดของผู้ป่วยเอง โดยอาการที่พบได้บ่อย คือ อาการหลอน
https://www.pobpad.com/หลอนทางการได้ยิน ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจได้ยินผู้อื่นส่งเสียงพากย์สิ่งที่
ตนเองกาลังกระทาอยู่ คิดว่าเสียงนั้นคุยกับตนเอง หรือได้ยินว่าเสียงนั้นกาลังพูดสิ่งที่ตนเองคิด โดยสิ่งที่
ได้ยินมักเป็นคาหยาบ คาพูดที่รุนแรงหรือไม่รื่นหู กระทั่งคาสั่งที่ให้ทาตาม ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจตอบโต้
กับเสียงที่ได้ยินด้วย จึงทาให้คนอื่นมองเห็นว่ากาลังพูดคนเดียว
 หลงผิด มักเกิดกับผู้ป่วยโรคนี้โดยส่วนใหญ่ โดยผู้ป่วยอาจเชื่อในสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริงหรือไม่มีอยู่จริง
เช่น เชื่อว่าเพื่อนบ้านแอบติดกล้องในห้องเพื่อถ้ามองตนเอง เชื่อว่ามีคนดังมาหลงรัก เชื่อว่ามีคนวางแผน
ฆ่าหรือวางแผนปองร้าย หรืออาจเชื่อว่ากาลังจะมีภัยพิบัติเกิดขึ้น เป็นต้น
 เกิดความผิดปกติทางความคิด ผู้ป่วยอาจมีกระบวนการคิดหรือการประมวลข้อมูลที่ผิดไปจากปกติ
หรือไม่เป็นเหตุเป็นผล โดยอาจได้ยินสิ่งที่ตนเองคิดราวกับสิ่งนั้นถูกพูดออกมาดัง ๆ คิดอีกเรื่องหนึ่งแล้ว
ไปคิดอีกเรื่องหนึ่งโดยที่ทั้งสองเรื่องไม่ได้เกี่ยวข้องกัน คิดคาศัพท์ใหม่ขึ้นมาเองโดยอาจพูดคาหรือวลีเดิม
ซ้า ๆ ที่ไม่เกี่ยวกับบริบทนั้น ๆ เชื่อว่าคาพูดโดยทั่วไปมีความหมายตรงกันข้ามหรือมีความหมายพิเศษ
นอกจากนี้ ผู้ป่วยอาจเชื่อว่าความคิดในหัวไม่ใช่ความคิดของตนเองและมีคนเอาความคิดนั้นมาใส่ในหัว
เชื่อว่ามีคนดึงเอาความคิดของตนเองออกไป เชื่อว่าคนอื่นกาลังได้ยินหรืออ่านความคิดของตน หรือ
ความคิดอาจหยุดชะงักจนทาให้หยุดพูดแบบกะทันหันและไม่สามารถทวนในสิ่งที่ตนเองพูดออกไปได้
 มีความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว ผู้ป่วยอาจมีการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างตื่นกลัวหรือทาท่าทางแปลก
ๆ ออกมา
อาการด้านลบ ผู้ป่วยอาจมีปัญหาด้านการแสดงออกทางอารมณ์ พฤติกรรม และความสามารถ ดังนี้
 พูดน้อยลง และอาจพูดด้วยเสียงโทนเดียว
 แสดงออกทางสีหน้าและอารมณ์น้อยลง
 เคลื่อนไหวน้อยและไม่ค่อยทาอะไร
 ปลีกตัวออกจากสังคม
4
 ไม่มีอารมณ์ร่วม หรืออาจมีการแสดงออกทางอารมณ์แบบแปลก ๆ เช่น หัวเราะในสถานการณ์ที่ควรรู้สึก
เศร้า เป็นต้น
 ไม่มีความสนใจหรือความกระตือรือร้นในการใช้ชีวิต ไม่ค่อยมีความสุข
 มีปัญหาในการบรรลุเป้าหมายหรือแผนที่วางไว้
 มีปัญหาในการทากิจวัตรประจาวัน
เมื่อมีอาการจิตเภทประเภทนี้ ผู้ป่วยอาจหมดความสนใจในการทาสิ่งต่าง ๆ และจมอยู่กับความคิด
ของตัวเอง ซึ่งอาจนาไปสู่ปัญหาในด้านการเรียนหรือการทางาน และอาจกลายเป็นปัญหาในการใช้ชีวิตระยะ
ยาวได้ โดยผู้ป่วยบางรายอาจมีปัญหาในการวางแผนและจดจาสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งอาจมีอาการย้าคิดย้าทาร่วม
ด้วย
อาการด้านการรับรู้ เป็นอาการที่อาจส่งผลต่อกระบวนการคิดและความทรงจาของผู้ป่วย โดยผู้ป่วยอาจมีปัญหาใน
การจดจ่อ การทาความเข้าใจข้อมูล การตัดสินใจ ความจา และการจัดการสิ่งต่าง ๆ
ทั้งนี้ อาการของโรคจิตเภทอาจเกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่นและอยู่ในช่วงอายุ 20 ต้น ๆ โดยในระยะแรกผู้ป่วย
อาจปลีกตัวจากสังคม เพื่อน หรือครอบครัว มีปัญหาในการนอนหลับ หงุดหงิดและว้าวุ่น ซึ่งอาการเหล่านี้คล้ายกับ
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นได้กับวัยรุ่นทั่วไป จึงอาจทาให้สังเกตเห็นความผิดปกติได้ยากในช่วงวัยดังกล่าว
สาเหตุของจิตเภท
ปัจจุบันยังไม่สามารถระบุสาเหตุที่แน่ชัดที่ทาให้เกิดโรค Schizophrenia ได้ แต่คาดว่าอาจมีปัจจัยเสี่ยงบาง
ประการที่กระตุ้นให้เกิดโรคนี้ เช่น
 ความผิดปกติภายในสมอง และปริมาณสารเคมีในสมองบางชนิดผิดปกติ
 การสัมผัสสารพิษหรือได้รับเชื้อไวรัสขณะอยู่ในครรภ์มารดาหรือในช่วงแรกเกิด
 ภาวะขาดออกซิเจนในช่วงแรกเกิด ซึ่งอาจสร้างความเสียหายแก่สมอง
 ภาวะขาดสารอาหารตอนทารกอยู่ในครรภ์
 อาการอักเสบ หรือเป็นโรคภูมิต้านตนเอง
 การใช้ยาที่มีผลต่อจิตใจ หรือใช้ยาเสพติดที่อาจกระตุ้นให้เกิดอาการของโรค
 ความเครียด อาจเกิดจากปัญหาด้านการเงิน ปัญหาความสัมพันธ์ การปลีกตัวจากสังคม การสูญเสียคนรักไป หรือ
ปัญหาอื่น ๆ
 เพศและอายุ โดยโรคนี้เกิดขึ้นได้กับทั้งผู้ชายและผู้หญิง แต่ผู้ชายที่มีอายุระหว่าง 15-25 ปี และผู้หญิงที่มีอายุ
ระหว่าง 25-35 ปี อาจมีความเสี่ยงมากกว่าคนทั่วไป
การวินิจฉัยจิตเภท
เมื่อไปพบแพทย์ แพทย์อาจตรวจเบื้องต้นโดยสอบถามเกี่ยวกับอาการ ภาวะสุขภาพจิต โรคประจาตัว และ
ประวัติสุขภาพของคนในครอบครัว รวมทั้งอาจตรวจร่างกายผู้ป่วยโดยละเอียด โดยตรวจระบบประสาทและสมอง
ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ ตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI Scan) หรือตรวจเอกซเรย์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (CT
Scan) เพื่อให้แน่ใจว่าความผิดปกติที่เกิดขึ้นไม่ได้มาจากสาเหตุอื่นที่ทาให้เกิดอาการคล้ายกัน เช่น โรคบางอย่าง การ
ใช้ยาบางชนิด การใช้สารเสพติด อาการป่วยทางจิตอื่น ๆ เป็นต้น จากนั้นแพทย์อาจตรวจสุขภาพจิตอย่างละเอียด
เพื่อประเมินความคิด อารมณ์ จิตใจ อาการหลงผิด อาการประสาทหลอน แนวโน้มในการฆ่าตัวตาย หรือการใช้ความ
รุนแรงของผู้ป่วย ทั้งนี้ แพทย์อาจเฝ้าดูว่าผู้ป่วยยังคงมีอาการประสาทหลอน หลงผิด หรือมีการพูดที่ผิดปกติหรือไม่
หลังจากผู้ป่วยรับการตรวจวินิจฉัยผ่านไป 2-3 สัปดาห์ เพราะในบางกรณีอาการเหล่านี้อาจเกิดจากสาเหตุอื่นได้ด้วย
5
การวินิจฉัยโดยอาการเป็นสาคัญ ผู้ป่วยมีลักษณะดังต่อไปนี้
 มีพฤติกรรมที่ผิดปกติ
 ป่วยเรื้อรัง
 ความสามารถในการดารงชีวิตเสื่อมถอย เช่น ทางานไม่ได้ พึ่งตนเองไม่ได้
 เมื่อป่วยแล้วไม่หายเป็นปกติเหมือนก่อนป่วยต้องวินิจฉัยแยกโรคต่อไปนี้
 Bipolar disorder โรคนี้เวลาหายจะเหมือนคนปกติ การป่วยบางครั้งเป็น
 โรคจิตเพราะพิษสุรา หรือสารเสพติด เช่น ยาบ้า กัญชา ยาลดความอ้วน
 โรคทางกาย เช่น SLE โรคลมชัก โรคเนื้องอกในสมอง
การรักษาจิตเภท
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาโรค Schizophrenia แต่ผู้ป่วยสามารถเข้ารับการรักษาดูแลอาการในระยะยาว เพื่อ
ช่วยบรรเทาหรือลดความรุนแรงของอาการด้วยวิธีต่อไปนี้
 การใช้ยา แพทย์อาจให้ยาเพื่อช่วยยับยั้งอาการประสาทหลอน อาการหลงผิด หรืออาการของโรคจิต เช่น
 ยาคลอร์โปรมาซีน ยาฮาโลเพอริดอล ยาฟลูเพนทิซอล ยาซูโคลเพนทิซอล ยาซัลพิไรด์ ยาอะมิซัลไพรด์
ยาอะริพิพราโซล ยาโคลซาปีน ยาโอแลนซาปีน ยาควิไทอะปีน หรือยาริสเพอริโดน เป็นต้น แต่ยาเหล่านี้อาจ
ทาให้เกิดผลข้างเคียงได้ เช่น ปากแห้ง ผิวหนังแดง ท้องผูก ง่วงซึม เห็นภาพมัว หรือน้าหนักตัวเพิ่มจนอาจทา
ให้เกิดโรคเบาหวานหรือโรคหัวใจตามมาได้ในระยะยาว เป็นต้น นอกจากนี้ อาจทาให้เกิดโรคอื่น ๆ อย่างโรค
พาร์กินโซนิซึม หรือโรคกล้ามเนื้อบิดเกร็งด้วย
 การบาบัดเพื่อเสริมทักษะทางสังคม เป็นวิธีการรักษาที่มุ่งเน้นให้ผู้ป่วยจัดการกับความเครียดและอาการ
ป่วย เพื่อช่วยให้มีทักษะด้านการสื่อสารและการเข้าสังคมที่ดีขึ้น ซึ่งช่วยให้ผู้ป่วยสามารถไปเรียน ไปทางาน
และใช้ชีวิตประจาวันได้ตามปกติ
 การบาบัดทางจิต แพทย์อาจรักษาผู้ป่วยด้วยการพูดคุยหรือให้ระบายความคิดและความรู้สึกออกมา โดย
อาจถามถึงมุมมองความคิดในด้านต่าง ๆ หรือให้ผู้ป่วยเขียนบันทึกประจาวัน เพื่อช่วยเปลี่ยนวิธีพูด วิธีคิด
การรู้สึก หรือพฤติกรรมของผู้ป่วย
 การบาบัดภายในครอบครัว เป็นการให้ความรู้และการสนับสนุนแก่ครอบครัวของผู้ป่วยโรคจิตเภท ซึ่งพบว่า
วิธีนี้ช่วยลดอัตราการเข้าโรงพยาบาลของผู้ป่วย และลดความรุนแรงของอาการได้
 การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ อาจช่วยให้ผู้ป่วยเพิ่มพูนทักษะที่จาเป็นเพื่อกลับไปทางานได้
 การส่งเสริมสุขภาพร่างกาย อาจสนับสนุนให้ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่ ออกกาลังกายเป็นประจา หรือรับประทาน
อาหารที่มีประโยชน์ เพื่อดูแลสุขภาพร่างกายให้ดีขึ้น
 การบาบัดด้วยศิลปะ อาจใช้งานศิลปะและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยที่มีอาการ Schizophrenia
ด้านลบ
 การช่วยเหลือจากหน่วยงานทางสังคมและชุมชน โดยอาจเข้ารับการช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่เหมาะสมและสามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างปกติสุข
 การรักษาทางเลือก เช่น การรับประทานวิตามิน การรับประทานอาหารเสริมอย่างน้ามันปลาหรือยาไกลซีน
และการวางแผนการรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม เป็นต้น แต่ขณะนี้ยังคงต้องการผลการศึกษาวิจัย
เพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนว่าการรักษาทางเลือกช่วยบรรเทาอาการของโรคนี้ได้จริงและปลอดภัย ดังนั้น หาก
ต้องการใช้วิธีรักษาทางเลือก ผู้ป่วยหรือญาติควรปรึกษาแพทย์ก่อน เพื่อให้แน่ใจว่าจะไม่เกิดอันตรายใน
ภายหลัง
6
การรักษา ทาได้ 3 ทางด้วยกัน
1. รักษาอาการให้หาย
เป็นการใช้ยาในการรักษายาที่ใช้ได้แก่
 Haloperidol
 Resperidone
 Clozapine
2. ป้องกันมิให้กลับเป็นซ้า หากกินยาสม่าเสมอการกาเริบจะน้อย สาเหตุที่กาเริบคือการถูกตาหนิติเตียนเป็นประจา
การป้องกันไม่ให้โรคกาเริบคือ
 กินยาอย่างต่อเนื่องตามที่แพทย์สั่ง
 อย่าบ่นว่า ตาหนิ วิจารณ์ซ้าซาก
สิ่งที่สาคัญในการรักษาคือผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะมีแนวโน้มในการฆ่าตัวเองสูง ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่า
ตัวเองสูงมีลักษณะดังต่อไปนี้
 ญาติและผู้ป่วยคาดในความสาเร็จสูง
 ปรับตัวรับสภาพโรคจิตไม่ได้
 ช่วงเวลาที่ต้องระวังในการฆ่าตัวเองคือ ขณะที่รักษาอยู่ในโรงพยาบาล ระยะ 6 เดือนหลังออกจาก
โรงพยาบาล มีการสูญเสีย เช่นหย่า ตกงาน เปลี่ยนแพทย์ผู้รักษา
 อาการดีขึ้นหลังจากป่วยหนักและรู้ว่าตัวเองเป็นโรคจิต
สัญญาณบ่งบอกว่าจะฆ่าตัวตาย
 ผู้ป่วยมีความคิดฆ่าตัวเอง
 มีความมั่นใจในตัวเองต่า
 มีแรงกดดันผู้ป่วยมากได้แก่ ขาดที่พึ่ง ตกงาน ญาติโกรธ ถูกไล่ออกจากบ้าน
 อาการกาเริบ หูแว่ว หวาดกลัว รู้สึกมีคนปองร้าย
 หมอโกรธ
3. ฟื้นฟูจิตใจและฝึกอาชีพ เนื่องจากผู้ป่วยพลาดการเล่าเรียน และการเรียนรู้ชีวิต การต่อสู้กับปัญหาและอุปสรรค
ทางครอบครัวและผู้รักษาต้องประคับประคองให้เขาเรียนรู้วิธีแก้ปัญหา และการฝึกอาชีพ
ภาวะแทรกซ้อนของจิตเภท
หากผู้ป่วยไม่ได้เข้ารับการรักษา อาจส่งผลให้เกิดอาการแทรกซ้อนที่รุนแรง และกระทบต่อการใช้ชีวิตในหลาย ๆ ด้าน
ดังนี้
 เครียด
 ปลีกตัวจากสังคม ไม่อยากไปโรงเรียนหรือไปทางาน
 มีปัญหาครอบครัว
 มีอาการทางจิตอย่างโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่มักเกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคนี้ โดยบางรายอาจเกิด
โรคกลัว โรควิตกกังวล หรือโรคย้าคิดย้าทาตามมาด้วย
7
 มีปัญหาสุขภาพหรือมีโรคประจาตัว
 มีปัญหาด้านการเงิน โดยอาจเกิดขึ้นเมื่อต้องออกจากงาน อาจกลายเป็นคนไร้บ้าน หรือถูกฉ้อโกงและถูก
หลอกลวงได้ง่าย
 พึ่งพาสารเสพติดหรือแอลกอฮอล์
 มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง แต่พบได้น้อย
 ทาร้ายร่างกายตัวเอง คิดฆ่าตัวตาย หรือพยายามฆ่าตัวตาย
การป้องกันจิตเภท
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีป้องกันโรค Schizophrenia เนื่องจากยังไม่สามารถระบุสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคนี้ได้ อย่างไร
ก็ตาม ผู้ป่วยอาจป้องกันโรคในเบื้องต้นเพื่อไม่ให้เกิดอาการหรืออันตรายร้ายแรงต่อตนเองและผู้อื่น โดยควรทาความ
เข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและลักษณะอาการของโรค ซึ่งอาจช่วยให้สังเกตเห็นอาการผิดปกติและเข้ารับการตรวจ
รักษาโรคได้แต่เนิ่น ๆ ส่วนผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้ก็อาจป้องกันอาการกาเริบหรือไม่ให้อาการแย่ลงกว่าเดิมโดยปฏิบัติตาม
แผนการรักษาและคาแนะนาของแพทย์อย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ บุคคลใกล้ชิดควรหมั่นสังเกตอาการผิดปกติของ
ผู้ป่วย และรีบพาผู้ป่วยมารับการตรวจรักษาหากสงสัยว่าอาจมีอาการทางจิตหรือป่วยเป็น Schizophrenia
คาถามตอบต่างๆ
o ผู้ป่วยจาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยา
โรคจิตเภท จะไม่หายเอง โรคจิตเภทเป็นโรคที่จาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยา การรักษาโดย
การพูดคุยจะไม่หาย ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาด้วยยาจะลงเอยเหมือนตัวอย่างข้างต้น
ยาที่ใช้รักษา โรคจิตเภท มีหลายชนิดทั้งยากินและยาฉีด ยาประเภทนี้ไม่ทาให้เกิดการเสพติด มีทั้ง
ชนิดที่ทาให้ง่วงและที่ไม่ง่วง ผลข้างเคียงที่สาคัญได้แก่ มือสั่น ตัวแข็งเหมือนหุ่นยนต์ ซึ่งมักเกิดขึ้นเมื่อผู้ป่วย
ได้รับยาในขนาดค่อนข้างสูง แต่ก็มียาแก้ให้รับประทานควบคู่กันไปด้วยและไม่มีอันตราย ผลข้างเคียงอื่นๆ
ได้แก่ อาจมีอาการคอแห้งบ้างเพราะต่อมน้าลายทางานน้อยลง ลุกเร็วๆ อาจหน้ามืดบ้าง บางคนปัสสาวะ
ออกช้า บางคนท้องผูก ซึ่งผลข้างเคียงเหล่านี้ไม่มีอันตราย
ผู้ป่วยเพศหญิงบางรายอาจไม่มีรอบเดือน ผู้ป่วยชายบางรายอวัยวะเพศอาจไม่ค่อยแข็งตัว
ผลข้างเคียงแบบนี้ก็ไม่อันตรายเช่นกันและ กลับคืนเป็นปกติได้
o รักษาให้ดีขึ้นได้แต่มักหายไม่สนิทและไม่หายขาด
โรคจิตเภท จาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยา ยาจะช่วยให้อาการต่างๆ ดีขึ้น ผู้ป่วยจะหวาดระแวง
น้อยลงหรือเลิกหวาดระแวง ผู้ป่วยจะก้าวร้าวน้อยลง เก็บตัวน้อยลง ยอมอาบน้า แต่อาการต่างๆ มักหายไม่
หมดโดยเฉพาะอาการ "พฤติกรรมที่ปกติหายไป" ผู้ป่วยที่รักษาได้ผลดีจะไม่วุ่นวาย กลับไปเรียนหรือทางาน
ได้แต่มักไม่ดีเท่าเดิม และมีโอกาสกลับมาเป็นใหม่ได้อีกถ้าขาดยา หรือประสบปัญหาที่ทาให้เครียดมากๆ
อย่างไรก็ดียารุ่นใหม่ๆ สามารถทาให้พฤติกรรมปกติที่หายไปกลับคืนมาได้มากกว่ายารุ่นเก่าๆ
8
o ญาติๆ ควรปฏิบัติอย่างไร
ผู้ป่วยมักไม่ชอบรับประทานยาเพราะไม่รู้ว่าตนป่วย บางรายไม่ยอมรับประทานยาโดยบ่นเรื่อง
ผลข้างเคียงของยา เนื่องจาก โรคจิตเภท จาเป็นต้องรักษาด้วยยา ดังนั้นการดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาให้ครบจึง
เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด ให้บางรายแพทย์อาจเปลี่ยนยาเป็นยาฉีดที่ออกฤทธิ์ได้นาน 2-4 สัปดาห์ทาให้ผู้ป่วยได้รับ
ยาแน่นอนขึ้น สิ่งที่ญาติต้องทาก็จะง่ายขึ้นคือคอยดูแลให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ตามนัด
o ความเครียดมีส่วนทาให้ โรคจิตเภท กาเริบได้
ความเครียดมีส่วนทาให้ โรคจิตเภท กาเริบได้ ดังนั้นจึงไม่ควรมุ่งหวังผลักดันให้ผู้ป่วยเรียนสูงๆ หรือ
ให้รับผิดชอบงานสาคัญๆ แต่การปล่อยปละละเลยขาดการกระตุ้นก็ทาให้อาการ "พฤติกรรมที่ปกติหายไป"
กลับคืนมาช้า ดังนั้นสิ่งที่ญาติควรทาคือ กระตุ้น แต่ไม่บังคับ คือคอยกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีกิจกรรมแบบคนปกติ
ทั่วไปเช่น ชวนผู้ป่วยเวลาจะไปไหนกัน เรียกให้กินข้าว แต่ไม่ต้องถึงกับตักข้าวขึ้นไปบังคับให้กิน นอกจากนี้
ยังควรหลีกเลี่ยงการตาหนิติเตียนโดยไม่จาเป็น โดยเฉพาะจากคนที่ไม่ถูกกันกับผู้ป่วย
o ญาติๆ มักจะเครียด
ผู้ป่วย โรคจิตเภท ไม่รู้ว่าเรื่องใดจริงเรื่องใดไม่จริง เรื่องใดเหมาะสมเรื่องใดไม่เหมาะสม แต่
สติปัญญายังเฉลียวฉลาด ดังนั้นเมื่ออาการกาเริบผู้ป่วยมักก่อเรื่องให้ญาติๆ เดือดร้อนและอับอายอยู่
เรื่อยๆ ญาติๆ ไม่ควรโทษตัวเองเพราะญาติไม่ได้เป็นคนทา นี่เป็นอาการของคนที่สมองทางานผิดปกติ และ
การที่มีญาติป่วยก็ไม่ใช่ความผิดแต่เป็นภาระที่น่าเห็นใจ การพยายามทาให้ผู้ป่วยได้รับยาให้ครบจะช่วยลด
ภาระตรงนี้ลงได้บ้าง ในกรณีที่ญาติเริ่มรู้สึกท้อแท้การพูดคุยกับหรือปรึกษาจิตแพทย์ หรือแพทย์ผู้รักษา อาจ
ช่วยให้มีกาลังใจที่จะต่อสู้กับโรคของญาติของท่านมากขึ้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
 ปรึกษาเลือกหัวข้อ
 นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
 ศึกษารวบรวมข้อมูล
 จัดทารายงาน
 นาเสนอครู
 ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
 อินเตอร์เน็ต
 หนังสือที่เกี่ยวข้อง
 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
9
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคจิตเภทมากขึ้นกว่าเดิม
2.ให้บุคคลทั่วไป หรือผู้ที่มีความสนใจในเรื่องนี้ ได้รับความรู้และข้อมูลต่างๆที่ถูกต้องเกี่ยวโรคจิตเภท และมีแนวทาง
ในการรักษา หรือแนวทางในการป้องกัน การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับโรคนี้
3. ผู้จัดทาโครงงานสามารถจัดทาสื่อนาเสนอได้ด้วยตนเองและประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง เชียงใหม่
จังหวัดเชียงใหม่ 50200
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
10
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
K@POOK! HEALTH. (2552). โรคจิตเภท schizophrenia. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จาก
เว็บไซต์:https://health.kapook.com/view3148.html
siamhealth. (2561). จิตเภท Schizophrenia. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์:
https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/psy/schizophrenia/schizo.htm
Honestdocs. (2562). โรคจิตเภท คืออะไร?. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์:
https://www.honestdocs.co/what-is-schizophrenia
POBPAD. (2561). ความหมาย จิตเภท (Schizophrenia). สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จาก
เว็บไซต์: https://www.pobpad.com/schizophrenia-
%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97

More Related Content

Similar to 2562 final-project 26-sathaporn

W.111
W.111W.111
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
KUMBELL
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
mew46716
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
Napisa22
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
mearnfunTamonwan
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
pimchanokSirichaisop
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
ssuser015151
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
barbeesati
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
mewsanit
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
Mai Natthida
 
2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37
chadaa
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
NattanichaYRC
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser9e401a1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser9e401a1
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
RungtiwaWongchai
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gear Tanatchaporn
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gear Tanatchaporn
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gear Tanatchaporn
 

Similar to 2562 final-project 26-sathaporn (20)

W.111
W.111W.111
W.111
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

2562 final-project 26-sathaporn

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคจิตเภท (Schizophrenia) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นายสถาพร ตาบู้ เลขที่ 26 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายสถาพร ตาบู้ เลขที่ 26 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคจิตเภท ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) (Schizophrenia) ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายสถาพร ตาบู้ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษาที่ 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากโรคนี้เป็นโรคที่เกิดความผิดปกติที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด อีกทั้งเป็นโรคที่รุนแรงและเรื้อรัง ผู้ป่วย ส่วนใหญ่เริ่มมีอาการในช่วงวัยรุ่น เมื่อเป็นแล้วมักไม่หายขาด ส่วนใหญ่มีอาการกาเริบเป็นช่วงๆ โดยมี อาการ หลงเหลืออยู่บ้างมนระหว่างนั้น อาการในช่วงกาเริบจะเป็นกลุ่มอาการด้านบวก เช่น ประสาทหลอน หลงผิด และใน ระยะส่วนใหญ่มีกลุ่มอาการด้านลบ เช่น พูดน้อย เฉื่อยชา แยกตนเอง ซึ่งปัจจุบันยังไม่พบสาเหตุที่แน่ชัดของโรคนี้ จึง ยังไม่มีวิธีรักษาที่เฉพาะเจาะจง แต่ผู้ป่วยอาจบรรเทาอาการที่เกิดขึ้นได้ โดยต้องเข้ารับการรักษาเพื่อควบคุมอาการไป ตลอดชีวิต จึงทาให้ผู้จัดทาโครงงานได้เกิดความสนใจที่จะศึกษาโรคนี้และแนวทางในการรักษาบรรเทาโรคนี้และ ต้องการที่จะเผยแพร่ข้อมูลต่างๆให้กับผู้ที่ได้มีความสนใจในเรื่องนี้ ซึ่งทาให้ผู้ที่ได้รับข้อมูลต่างๆในเรื่องนี้ ได้มีแนวทาง ในการป้องกันให้กับตนเอง หรือคนอื่นๆ ที่รอบตัวเอง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคจิตเภท ด้วยตนเอง 2.เพื่อได้แนวทางในการรักษาของโรคนี้ ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถช่วยบรรเทา อาการนี้ ได้ลดลงอย่างมาก 3.เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4.เพื่อให้ผู้ที่มีความสนใจในเรื่องนี้ ได้รับประโยชน์ต่างๆในเรื่องนี้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงานเรื่องโรคจิตเภทนี้ ได้ทาการศึกษาหาข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับโรคนี้ เช่น การรักษา สาเหตุของโรคนี้ พฤติกรรมต่างๆผู้คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ การวินิจฉัย ผลกระทบของผู้ป่วย ภาวะโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับโรคนี้
  • 3. 3 ซึ่งผู้ทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมี ระยะเวลาดาเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 14 กันยายน 2562 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) Schizophrenia หรือโรคจิตเภท เป็นโรคความผิดปกติทางจิตที่รุนแรงและเรื้อรัง ส่งผลต่อการพูด การ คิด การรับรู้ ความรู้สึก และการแสดงออกของผู้ป่วย ทาให้ผู้ป่วยมีอาการต่าง ๆ อย่างประสาทหลอน หลงผิด ปลีกตัว จากสังคม หรือไม่สามารถใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติ ซึ่งปัจจุบันยังไม่พบสาเหตุที่แน่ชัดของโรคนี้ จึงยังไม่มีวิธีรักษาที่ เฉพาะเจาะจง แต่ผู้ป่วยอาจบรรเทาอาการที่เกิดขึ้นได้ โดยต้องเข้ารับการรักษาเพื่อควบคุมอาการไปตลอดชีวิต อาการของจิตเภท อาการของโรคจิตเภทอาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ อาการด้านบวก อาการด้านลบ และอาการด้านการ รับรู้ ดังนี้ อาการด้านบวก เป็นอาการทางจิตที่มักจะไม่เกิดขึ้นกับคนที่มีสุขภาพดีทั่ว ๆ ไป ซึ่งผู้ป่วยอาจสูญเสียความสามารถใน การรับรู้ความเป็นจริงบางอย่าง โดยอาจมีอาการดังต่อไปนี้  ประสาทหลอน ผู้ป่วยอาจมองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น รู้สึก หรือรับรสที่ไม่มีอยู่จริง แต่มักเชื่อว่าสิ่งเหล่านั้นมี อยู่จริงซึ่งเกิดจากความคิดของผู้ป่วยเอง โดยอาการที่พบได้บ่อย คือ อาการหลอน https://www.pobpad.com/หลอนทางการได้ยิน ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจได้ยินผู้อื่นส่งเสียงพากย์สิ่งที่ ตนเองกาลังกระทาอยู่ คิดว่าเสียงนั้นคุยกับตนเอง หรือได้ยินว่าเสียงนั้นกาลังพูดสิ่งที่ตนเองคิด โดยสิ่งที่ ได้ยินมักเป็นคาหยาบ คาพูดที่รุนแรงหรือไม่รื่นหู กระทั่งคาสั่งที่ให้ทาตาม ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจตอบโต้ กับเสียงที่ได้ยินด้วย จึงทาให้คนอื่นมองเห็นว่ากาลังพูดคนเดียว  หลงผิด มักเกิดกับผู้ป่วยโรคนี้โดยส่วนใหญ่ โดยผู้ป่วยอาจเชื่อในสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริงหรือไม่มีอยู่จริง เช่น เชื่อว่าเพื่อนบ้านแอบติดกล้องในห้องเพื่อถ้ามองตนเอง เชื่อว่ามีคนดังมาหลงรัก เชื่อว่ามีคนวางแผน ฆ่าหรือวางแผนปองร้าย หรืออาจเชื่อว่ากาลังจะมีภัยพิบัติเกิดขึ้น เป็นต้น  เกิดความผิดปกติทางความคิด ผู้ป่วยอาจมีกระบวนการคิดหรือการประมวลข้อมูลที่ผิดไปจากปกติ หรือไม่เป็นเหตุเป็นผล โดยอาจได้ยินสิ่งที่ตนเองคิดราวกับสิ่งนั้นถูกพูดออกมาดัง ๆ คิดอีกเรื่องหนึ่งแล้ว ไปคิดอีกเรื่องหนึ่งโดยที่ทั้งสองเรื่องไม่ได้เกี่ยวข้องกัน คิดคาศัพท์ใหม่ขึ้นมาเองโดยอาจพูดคาหรือวลีเดิม ซ้า ๆ ที่ไม่เกี่ยวกับบริบทนั้น ๆ เชื่อว่าคาพูดโดยทั่วไปมีความหมายตรงกันข้ามหรือมีความหมายพิเศษ นอกจากนี้ ผู้ป่วยอาจเชื่อว่าความคิดในหัวไม่ใช่ความคิดของตนเองและมีคนเอาความคิดนั้นมาใส่ในหัว เชื่อว่ามีคนดึงเอาความคิดของตนเองออกไป เชื่อว่าคนอื่นกาลังได้ยินหรืออ่านความคิดของตน หรือ ความคิดอาจหยุดชะงักจนทาให้หยุดพูดแบบกะทันหันและไม่สามารถทวนในสิ่งที่ตนเองพูดออกไปได้  มีความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว ผู้ป่วยอาจมีการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างตื่นกลัวหรือทาท่าทางแปลก ๆ ออกมา อาการด้านลบ ผู้ป่วยอาจมีปัญหาด้านการแสดงออกทางอารมณ์ พฤติกรรม และความสามารถ ดังนี้  พูดน้อยลง และอาจพูดด้วยเสียงโทนเดียว  แสดงออกทางสีหน้าและอารมณ์น้อยลง  เคลื่อนไหวน้อยและไม่ค่อยทาอะไร  ปลีกตัวออกจากสังคม
  • 4. 4  ไม่มีอารมณ์ร่วม หรืออาจมีการแสดงออกทางอารมณ์แบบแปลก ๆ เช่น หัวเราะในสถานการณ์ที่ควรรู้สึก เศร้า เป็นต้น  ไม่มีความสนใจหรือความกระตือรือร้นในการใช้ชีวิต ไม่ค่อยมีความสุข  มีปัญหาในการบรรลุเป้าหมายหรือแผนที่วางไว้  มีปัญหาในการทากิจวัตรประจาวัน เมื่อมีอาการจิตเภทประเภทนี้ ผู้ป่วยอาจหมดความสนใจในการทาสิ่งต่าง ๆ และจมอยู่กับความคิด ของตัวเอง ซึ่งอาจนาไปสู่ปัญหาในด้านการเรียนหรือการทางาน และอาจกลายเป็นปัญหาในการใช้ชีวิตระยะ ยาวได้ โดยผู้ป่วยบางรายอาจมีปัญหาในการวางแผนและจดจาสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งอาจมีอาการย้าคิดย้าทาร่วม ด้วย อาการด้านการรับรู้ เป็นอาการที่อาจส่งผลต่อกระบวนการคิดและความทรงจาของผู้ป่วย โดยผู้ป่วยอาจมีปัญหาใน การจดจ่อ การทาความเข้าใจข้อมูล การตัดสินใจ ความจา และการจัดการสิ่งต่าง ๆ ทั้งนี้ อาการของโรคจิตเภทอาจเกิดขึ้นเมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่นและอยู่ในช่วงอายุ 20 ต้น ๆ โดยในระยะแรกผู้ป่วย อาจปลีกตัวจากสังคม เพื่อน หรือครอบครัว มีปัญหาในการนอนหลับ หงุดหงิดและว้าวุ่น ซึ่งอาการเหล่านี้คล้ายกับ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นได้กับวัยรุ่นทั่วไป จึงอาจทาให้สังเกตเห็นความผิดปกติได้ยากในช่วงวัยดังกล่าว สาเหตุของจิตเภท ปัจจุบันยังไม่สามารถระบุสาเหตุที่แน่ชัดที่ทาให้เกิดโรค Schizophrenia ได้ แต่คาดว่าอาจมีปัจจัยเสี่ยงบาง ประการที่กระตุ้นให้เกิดโรคนี้ เช่น  ความผิดปกติภายในสมอง และปริมาณสารเคมีในสมองบางชนิดผิดปกติ  การสัมผัสสารพิษหรือได้รับเชื้อไวรัสขณะอยู่ในครรภ์มารดาหรือในช่วงแรกเกิด  ภาวะขาดออกซิเจนในช่วงแรกเกิด ซึ่งอาจสร้างความเสียหายแก่สมอง  ภาวะขาดสารอาหารตอนทารกอยู่ในครรภ์  อาการอักเสบ หรือเป็นโรคภูมิต้านตนเอง  การใช้ยาที่มีผลต่อจิตใจ หรือใช้ยาเสพติดที่อาจกระตุ้นให้เกิดอาการของโรค  ความเครียด อาจเกิดจากปัญหาด้านการเงิน ปัญหาความสัมพันธ์ การปลีกตัวจากสังคม การสูญเสียคนรักไป หรือ ปัญหาอื่น ๆ  เพศและอายุ โดยโรคนี้เกิดขึ้นได้กับทั้งผู้ชายและผู้หญิง แต่ผู้ชายที่มีอายุระหว่าง 15-25 ปี และผู้หญิงที่มีอายุ ระหว่าง 25-35 ปี อาจมีความเสี่ยงมากกว่าคนทั่วไป การวินิจฉัยจิตเภท เมื่อไปพบแพทย์ แพทย์อาจตรวจเบื้องต้นโดยสอบถามเกี่ยวกับอาการ ภาวะสุขภาพจิต โรคประจาตัว และ ประวัติสุขภาพของคนในครอบครัว รวมทั้งอาจตรวจร่างกายผู้ป่วยโดยละเอียด โดยตรวจระบบประสาทและสมอง ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ ตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI Scan) หรือตรวจเอกซเรย์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (CT Scan) เพื่อให้แน่ใจว่าความผิดปกติที่เกิดขึ้นไม่ได้มาจากสาเหตุอื่นที่ทาให้เกิดอาการคล้ายกัน เช่น โรคบางอย่าง การ ใช้ยาบางชนิด การใช้สารเสพติด อาการป่วยทางจิตอื่น ๆ เป็นต้น จากนั้นแพทย์อาจตรวจสุขภาพจิตอย่างละเอียด เพื่อประเมินความคิด อารมณ์ จิตใจ อาการหลงผิด อาการประสาทหลอน แนวโน้มในการฆ่าตัวตาย หรือการใช้ความ รุนแรงของผู้ป่วย ทั้งนี้ แพทย์อาจเฝ้าดูว่าผู้ป่วยยังคงมีอาการประสาทหลอน หลงผิด หรือมีการพูดที่ผิดปกติหรือไม่ หลังจากผู้ป่วยรับการตรวจวินิจฉัยผ่านไป 2-3 สัปดาห์ เพราะในบางกรณีอาการเหล่านี้อาจเกิดจากสาเหตุอื่นได้ด้วย
  • 5. 5 การวินิจฉัยโดยอาการเป็นสาคัญ ผู้ป่วยมีลักษณะดังต่อไปนี้  มีพฤติกรรมที่ผิดปกติ  ป่วยเรื้อรัง  ความสามารถในการดารงชีวิตเสื่อมถอย เช่น ทางานไม่ได้ พึ่งตนเองไม่ได้  เมื่อป่วยแล้วไม่หายเป็นปกติเหมือนก่อนป่วยต้องวินิจฉัยแยกโรคต่อไปนี้  Bipolar disorder โรคนี้เวลาหายจะเหมือนคนปกติ การป่วยบางครั้งเป็น  โรคจิตเพราะพิษสุรา หรือสารเสพติด เช่น ยาบ้า กัญชา ยาลดความอ้วน  โรคทางกาย เช่น SLE โรคลมชัก โรคเนื้องอกในสมอง การรักษาจิตเภท ปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาโรค Schizophrenia แต่ผู้ป่วยสามารถเข้ารับการรักษาดูแลอาการในระยะยาว เพื่อ ช่วยบรรเทาหรือลดความรุนแรงของอาการด้วยวิธีต่อไปนี้  การใช้ยา แพทย์อาจให้ยาเพื่อช่วยยับยั้งอาการประสาทหลอน อาการหลงผิด หรืออาการของโรคจิต เช่น  ยาคลอร์โปรมาซีน ยาฮาโลเพอริดอล ยาฟลูเพนทิซอล ยาซูโคลเพนทิซอล ยาซัลพิไรด์ ยาอะมิซัลไพรด์ ยาอะริพิพราโซล ยาโคลซาปีน ยาโอแลนซาปีน ยาควิไทอะปีน หรือยาริสเพอริโดน เป็นต้น แต่ยาเหล่านี้อาจ ทาให้เกิดผลข้างเคียงได้ เช่น ปากแห้ง ผิวหนังแดง ท้องผูก ง่วงซึม เห็นภาพมัว หรือน้าหนักตัวเพิ่มจนอาจทา ให้เกิดโรคเบาหวานหรือโรคหัวใจตามมาได้ในระยะยาว เป็นต้น นอกจากนี้ อาจทาให้เกิดโรคอื่น ๆ อย่างโรค พาร์กินโซนิซึม หรือโรคกล้ามเนื้อบิดเกร็งด้วย  การบาบัดเพื่อเสริมทักษะทางสังคม เป็นวิธีการรักษาที่มุ่งเน้นให้ผู้ป่วยจัดการกับความเครียดและอาการ ป่วย เพื่อช่วยให้มีทักษะด้านการสื่อสารและการเข้าสังคมที่ดีขึ้น ซึ่งช่วยให้ผู้ป่วยสามารถไปเรียน ไปทางาน และใช้ชีวิตประจาวันได้ตามปกติ  การบาบัดทางจิต แพทย์อาจรักษาผู้ป่วยด้วยการพูดคุยหรือให้ระบายความคิดและความรู้สึกออกมา โดย อาจถามถึงมุมมองความคิดในด้านต่าง ๆ หรือให้ผู้ป่วยเขียนบันทึกประจาวัน เพื่อช่วยเปลี่ยนวิธีพูด วิธีคิด การรู้สึก หรือพฤติกรรมของผู้ป่วย  การบาบัดภายในครอบครัว เป็นการให้ความรู้และการสนับสนุนแก่ครอบครัวของผู้ป่วยโรคจิตเภท ซึ่งพบว่า วิธีนี้ช่วยลดอัตราการเข้าโรงพยาบาลของผู้ป่วย และลดความรุนแรงของอาการได้  การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ อาจช่วยให้ผู้ป่วยเพิ่มพูนทักษะที่จาเป็นเพื่อกลับไปทางานได้  การส่งเสริมสุขภาพร่างกาย อาจสนับสนุนให้ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่ ออกกาลังกายเป็นประจา หรือรับประทาน อาหารที่มีประโยชน์ เพื่อดูแลสุขภาพร่างกายให้ดีขึ้น  การบาบัดด้วยศิลปะ อาจใช้งานศิลปะและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยที่มีอาการ Schizophrenia ด้านลบ  การช่วยเหลือจากหน่วยงานทางสังคมและชุมชน โดยอาจเข้ารับการช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่เหมาะสมและสามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างปกติสุข  การรักษาทางเลือก เช่น การรับประทานวิตามิน การรับประทานอาหารเสริมอย่างน้ามันปลาหรือยาไกลซีน และการวางแผนการรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม เป็นต้น แต่ขณะนี้ยังคงต้องการผลการศึกษาวิจัย เพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนว่าการรักษาทางเลือกช่วยบรรเทาอาการของโรคนี้ได้จริงและปลอดภัย ดังนั้น หาก ต้องการใช้วิธีรักษาทางเลือก ผู้ป่วยหรือญาติควรปรึกษาแพทย์ก่อน เพื่อให้แน่ใจว่าจะไม่เกิดอันตรายใน ภายหลัง
  • 6. 6 การรักษา ทาได้ 3 ทางด้วยกัน 1. รักษาอาการให้หาย เป็นการใช้ยาในการรักษายาที่ใช้ได้แก่  Haloperidol  Resperidone  Clozapine 2. ป้องกันมิให้กลับเป็นซ้า หากกินยาสม่าเสมอการกาเริบจะน้อย สาเหตุที่กาเริบคือการถูกตาหนิติเตียนเป็นประจา การป้องกันไม่ให้โรคกาเริบคือ  กินยาอย่างต่อเนื่องตามที่แพทย์สั่ง  อย่าบ่นว่า ตาหนิ วิจารณ์ซ้าซาก สิ่งที่สาคัญในการรักษาคือผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะมีแนวโน้มในการฆ่าตัวเองสูง ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่า ตัวเองสูงมีลักษณะดังต่อไปนี้  ญาติและผู้ป่วยคาดในความสาเร็จสูง  ปรับตัวรับสภาพโรคจิตไม่ได้  ช่วงเวลาที่ต้องระวังในการฆ่าตัวเองคือ ขณะที่รักษาอยู่ในโรงพยาบาล ระยะ 6 เดือนหลังออกจาก โรงพยาบาล มีการสูญเสีย เช่นหย่า ตกงาน เปลี่ยนแพทย์ผู้รักษา  อาการดีขึ้นหลังจากป่วยหนักและรู้ว่าตัวเองเป็นโรคจิต สัญญาณบ่งบอกว่าจะฆ่าตัวตาย  ผู้ป่วยมีความคิดฆ่าตัวเอง  มีความมั่นใจในตัวเองต่า  มีแรงกดดันผู้ป่วยมากได้แก่ ขาดที่พึ่ง ตกงาน ญาติโกรธ ถูกไล่ออกจากบ้าน  อาการกาเริบ หูแว่ว หวาดกลัว รู้สึกมีคนปองร้าย  หมอโกรธ 3. ฟื้นฟูจิตใจและฝึกอาชีพ เนื่องจากผู้ป่วยพลาดการเล่าเรียน และการเรียนรู้ชีวิต การต่อสู้กับปัญหาและอุปสรรค ทางครอบครัวและผู้รักษาต้องประคับประคองให้เขาเรียนรู้วิธีแก้ปัญหา และการฝึกอาชีพ ภาวะแทรกซ้อนของจิตเภท หากผู้ป่วยไม่ได้เข้ารับการรักษา อาจส่งผลให้เกิดอาการแทรกซ้อนที่รุนแรง และกระทบต่อการใช้ชีวิตในหลาย ๆ ด้าน ดังนี้  เครียด  ปลีกตัวจากสังคม ไม่อยากไปโรงเรียนหรือไปทางาน  มีปัญหาครอบครัว  มีอาการทางจิตอย่างโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่มักเกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคนี้ โดยบางรายอาจเกิด โรคกลัว โรควิตกกังวล หรือโรคย้าคิดย้าทาตามมาด้วย
  • 7. 7  มีปัญหาสุขภาพหรือมีโรคประจาตัว  มีปัญหาด้านการเงิน โดยอาจเกิดขึ้นเมื่อต้องออกจากงาน อาจกลายเป็นคนไร้บ้าน หรือถูกฉ้อโกงและถูก หลอกลวงได้ง่าย  พึ่งพาสารเสพติดหรือแอลกอฮอล์  มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง แต่พบได้น้อย  ทาร้ายร่างกายตัวเอง คิดฆ่าตัวตาย หรือพยายามฆ่าตัวตาย การป้องกันจิตเภท ปัจจุบันยังไม่มีวิธีป้องกันโรค Schizophrenia เนื่องจากยังไม่สามารถระบุสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคนี้ได้ อย่างไร ก็ตาม ผู้ป่วยอาจป้องกันโรคในเบื้องต้นเพื่อไม่ให้เกิดอาการหรืออันตรายร้ายแรงต่อตนเองและผู้อื่น โดยควรทาความ เข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงและลักษณะอาการของโรค ซึ่งอาจช่วยให้สังเกตเห็นอาการผิดปกติและเข้ารับการตรวจ รักษาโรคได้แต่เนิ่น ๆ ส่วนผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้ก็อาจป้องกันอาการกาเริบหรือไม่ให้อาการแย่ลงกว่าเดิมโดยปฏิบัติตาม แผนการรักษาและคาแนะนาของแพทย์อย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ บุคคลใกล้ชิดควรหมั่นสังเกตอาการผิดปกติของ ผู้ป่วย และรีบพาผู้ป่วยมารับการตรวจรักษาหากสงสัยว่าอาจมีอาการทางจิตหรือป่วยเป็น Schizophrenia คาถามตอบต่างๆ o ผู้ป่วยจาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยา โรคจิตเภท จะไม่หายเอง โรคจิตเภทเป็นโรคที่จาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยา การรักษาโดย การพูดคุยจะไม่หาย ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาด้วยยาจะลงเอยเหมือนตัวอย่างข้างต้น ยาที่ใช้รักษา โรคจิตเภท มีหลายชนิดทั้งยากินและยาฉีด ยาประเภทนี้ไม่ทาให้เกิดการเสพติด มีทั้ง ชนิดที่ทาให้ง่วงและที่ไม่ง่วง ผลข้างเคียงที่สาคัญได้แก่ มือสั่น ตัวแข็งเหมือนหุ่นยนต์ ซึ่งมักเกิดขึ้นเมื่อผู้ป่วย ได้รับยาในขนาดค่อนข้างสูง แต่ก็มียาแก้ให้รับประทานควบคู่กันไปด้วยและไม่มีอันตราย ผลข้างเคียงอื่นๆ ได้แก่ อาจมีอาการคอแห้งบ้างเพราะต่อมน้าลายทางานน้อยลง ลุกเร็วๆ อาจหน้ามืดบ้าง บางคนปัสสาวะ ออกช้า บางคนท้องผูก ซึ่งผลข้างเคียงเหล่านี้ไม่มีอันตราย ผู้ป่วยเพศหญิงบางรายอาจไม่มีรอบเดือน ผู้ป่วยชายบางรายอวัยวะเพศอาจไม่ค่อยแข็งตัว ผลข้างเคียงแบบนี้ก็ไม่อันตรายเช่นกันและ กลับคืนเป็นปกติได้ o รักษาให้ดีขึ้นได้แต่มักหายไม่สนิทและไม่หายขาด โรคจิตเภท จาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยา ยาจะช่วยให้อาการต่างๆ ดีขึ้น ผู้ป่วยจะหวาดระแวง น้อยลงหรือเลิกหวาดระแวง ผู้ป่วยจะก้าวร้าวน้อยลง เก็บตัวน้อยลง ยอมอาบน้า แต่อาการต่างๆ มักหายไม่ หมดโดยเฉพาะอาการ "พฤติกรรมที่ปกติหายไป" ผู้ป่วยที่รักษาได้ผลดีจะไม่วุ่นวาย กลับไปเรียนหรือทางาน ได้แต่มักไม่ดีเท่าเดิม และมีโอกาสกลับมาเป็นใหม่ได้อีกถ้าขาดยา หรือประสบปัญหาที่ทาให้เครียดมากๆ อย่างไรก็ดียารุ่นใหม่ๆ สามารถทาให้พฤติกรรมปกติที่หายไปกลับคืนมาได้มากกว่ายารุ่นเก่าๆ
  • 8. 8 o ญาติๆ ควรปฏิบัติอย่างไร ผู้ป่วยมักไม่ชอบรับประทานยาเพราะไม่รู้ว่าตนป่วย บางรายไม่ยอมรับประทานยาโดยบ่นเรื่อง ผลข้างเคียงของยา เนื่องจาก โรคจิตเภท จาเป็นต้องรักษาด้วยยา ดังนั้นการดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาให้ครบจึง เป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด ให้บางรายแพทย์อาจเปลี่ยนยาเป็นยาฉีดที่ออกฤทธิ์ได้นาน 2-4 สัปดาห์ทาให้ผู้ป่วยได้รับ ยาแน่นอนขึ้น สิ่งที่ญาติต้องทาก็จะง่ายขึ้นคือคอยดูแลให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ตามนัด o ความเครียดมีส่วนทาให้ โรคจิตเภท กาเริบได้ ความเครียดมีส่วนทาให้ โรคจิตเภท กาเริบได้ ดังนั้นจึงไม่ควรมุ่งหวังผลักดันให้ผู้ป่วยเรียนสูงๆ หรือ ให้รับผิดชอบงานสาคัญๆ แต่การปล่อยปละละเลยขาดการกระตุ้นก็ทาให้อาการ "พฤติกรรมที่ปกติหายไป" กลับคืนมาช้า ดังนั้นสิ่งที่ญาติควรทาคือ กระตุ้น แต่ไม่บังคับ คือคอยกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีกิจกรรมแบบคนปกติ ทั่วไปเช่น ชวนผู้ป่วยเวลาจะไปไหนกัน เรียกให้กินข้าว แต่ไม่ต้องถึงกับตักข้าวขึ้นไปบังคับให้กิน นอกจากนี้ ยังควรหลีกเลี่ยงการตาหนิติเตียนโดยไม่จาเป็น โดยเฉพาะจากคนที่ไม่ถูกกันกับผู้ป่วย o ญาติๆ มักจะเครียด ผู้ป่วย โรคจิตเภท ไม่รู้ว่าเรื่องใดจริงเรื่องใดไม่จริง เรื่องใดเหมาะสมเรื่องใดไม่เหมาะสม แต่ สติปัญญายังเฉลียวฉลาด ดังนั้นเมื่ออาการกาเริบผู้ป่วยมักก่อเรื่องให้ญาติๆ เดือดร้อนและอับอายอยู่ เรื่อยๆ ญาติๆ ไม่ควรโทษตัวเองเพราะญาติไม่ได้เป็นคนทา นี่เป็นอาการของคนที่สมองทางานผิดปกติ และ การที่มีญาติป่วยก็ไม่ใช่ความผิดแต่เป็นภาระที่น่าเห็นใจ การพยายามทาให้ผู้ป่วยได้รับยาให้ครบจะช่วยลด ภาระตรงนี้ลงได้บ้าง ในกรณีที่ญาติเริ่มรู้สึกท้อแท้การพูดคุยกับหรือปรึกษาจิตแพทย์ หรือแพทย์ผู้รักษา อาจ ช่วยให้มีกาลังใจที่จะต่อสู้กับโรคของญาติของท่านมากขึ้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน  ปรึกษาเลือกหัวข้อ  นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน  ศึกษารวบรวมข้อมูล  จัดทารายงาน  นาเสนอครู  ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้  อินเตอร์เน็ต  หนังสือที่เกี่ยวข้อง  งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 9. 9 งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคจิตเภทมากขึ้นกว่าเดิม 2.ให้บุคคลทั่วไป หรือผู้ที่มีความสนใจในเรื่องนี้ ได้รับความรู้และข้อมูลต่างๆที่ถูกต้องเกี่ยวโรคจิตเภท และมีแนวทาง ในการรักษา หรือแนวทางในการป้องกัน การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับโรคนี้ 3. ผู้จัดทาโครงงานสามารถจัดทาสื่อนาเสนอได้ด้วยตนเองและประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น สถานที่ดาเนินการ ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 10. 10 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) K@POOK! HEALTH. (2552). โรคจิตเภท schizophrenia. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จาก เว็บไซต์:https://health.kapook.com/view3148.html siamhealth. (2561). จิตเภท Schizophrenia. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/psy/schizophrenia/schizo.htm Honestdocs. (2562). โรคจิตเภท คืออะไร?. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.honestdocs.co/what-is-schizophrenia POBPAD. (2561). ความหมาย จิตเภท (Schizophrenia). สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562, จาก เว็บไซต์: https://www.pobpad.com/schizophrenia- %E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97