SlideShare a Scribd company logo
1

รายงาน
เรื อง การสื อสารข้อมูล
กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

จัดทําโดย
นางสาว ธัญชนก ชุมทอง เลขที 21
ชันมัธยมศึกษาปี ที4/1

เสนอ
อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ
รหัสวิชา ง.31102 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2556
โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
สํานักงานเขตพืนทีการศึกษา ตรัง เขต 13
2

คํานํา
รายงานเล่มนีเป็ นส่ วนหนึงของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง. 31102ชัน
มัธยมศึกษาปี ที 4 โดยมีจุดประสงค์เพือการศึกษาความรู ้ทีได้จากเรื อง การสื อสาร
ข้อมูล ซึ งรายงานนีมีเนือหาเกียวกับความรู ้ ประโยชน์ในการสื อสารข้อมูล
องค์ประกอบพืนฐานของนะบบ สื อกลางในการสื อสารข้อมูลและพัฒนาการของการ
สื อสารข้อมูล ผูจดทําได้เลือกหัวข้อนีในการทํารายงาน เนืองมาจากเป็ นเรื องที
้ั
น่าสนใจและได้รับประโยชน์สาระน่ารู ้มากมาย
หวังว่ารายงานเล่มนี จะให้ความรู ้ และเป็ นประโยชน์แก่ผอ่านทุก ๆท่าน และ
ู้
หากมีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ทีนีด้วย
้

นางสาว ธัญชนก ชุมทอง
ผูจดทํา
้ั
3

สารบัญ
เรื อง

หน้า

ความหมายของการสือสารข้อมูล

1

องค์ประกอบขันพืนฐานของระบบ

2

ข่ายการสือสารข้อมูล

3

องค์ประกอบพืนฐาน

3

วัตถุประสงค์หลักของการนําการสือการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วย

3

ประโยชน์ของการสือสารข้อมูล

4

สือกลางในการสือสารข้อมูล

4

สือกลางประเภทมีสาย

4

-สายทองแดงแบบหุมฉนวน
้

5

-สายโคแอคเชียล

5

-ใยแก้วนําแสง
ข้อดีของใยแก้วนําแสดงคือ

7
8

สือกลางประเภทไม่มีสาย

8

- ระบบไมโครเวฟ

8

- การสือสารด้วยดาวเทียม
พัฒนาการสือสาร

9
11
4

การสื อสารข้ อมูล (Data Communication)
ความหมายของการสื อสารข้ อมูล

การติดต่อสือสารเป็ นสิ งทีเกิดขึนควบคู่มากับมนุษย์ เนืองจากมนุษย์ตองอยูรวมกันเป็ นกลุ่มเป็ นก้อน
้ ่
โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็ นสือในการส่งข้อมูล แลกเปลียนข้อมูลซึงกันและกัน โดยมีอากาศเป็ นตัวกลาง ซึงใน
ภาษาทีมนุษย์ใช้สือสารกันนัน จะต้องมีขอตกลงกันว่าแต่ละสัญลักษณ์ หรื อคําพูด แทนหรื อหมายถึงสิ งใด
้
มนุษย์ได้คิดค้นวิธีการและเครื องมือทีใช้ในการติดต่อสือสารกันมาตังแต่สมัยโบราณแล้ว ยกตัวอย่างเช่น
การใช้สญญาณควันไฟของชาวอินเดียแดง หรื อการใช้มาเร็ วในการส่งสาส์น จนกระทังพัฒนามาเป็ นการใช้
ั
้
โทรเลข วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ และอินเทอร์เน็ต
ความหมายของการสือสารข้อมูล เกิดจากคําสองคํา คือ การสือสาร (Communication) ซึงหมายถึง การส่ง
เนือหาจากฝ่ ายหนึงไปยังอีกฝ่ ายหนึง และคําว่าข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริ งหรื อสิ งทีถือหรื อยอมรับว่า
เป็ นข้อเท็จจริ งสําหรับใช้เป็ นหลักอนุมานหาความจริ งหรื อการคํานวณ [17] ซึงในทีนีเราจะหมายถึงข้อมูลที
เกิดขึนจากเครื องคอมพิวเตอร์ในรู ปตัวเลข 0 หรื อ 1 ต่อเนืองกันไป ซึงเป็ นค่าทีเครื องคอมพิวเตอร์เข้าใจ นัน
คือ การสือสารข้อมูล หมายถึง การส่งเนือหาทีอยูในรู ปตัวเลขฐานสองทีเกิดจากอุปกรณ์หรื อเครื อง
่
คอมพิวเตอร์ตงแต่ 2 เครื องขึนไป โดยมีจุดประสงค์เพือต้องการติดต่อ แลกเปลียนข้อมูลข่าวสาร ตลอดจน
ั
แบ่งปันการใช้ทรัพยากรทีมีอยูให้เกิดประโยชน์สูงสุด
่
การสือสารข้ อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรื อแลกเปลียนข้อมูลกัน
ระหว่างผูส่งและผูรับ โดยผ่านช่องทางสือสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรื อคอมพิวเตอร์เป็ นตัวกลางใน
้
้
การส่งข้อมูล เพือให้ผส่งและผูรับเกิดความเข้าใจซึงกันและกัน
ู้
้
5

วิธีการส่ งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็ นสัญญาณ หรื อรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผูรับ และเมือถึง
้
ปลายทางหรื อผูรับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนัน กลับมาให้อยูในรู ปทีมนุษย์ สามารถทีจะเข้าใจได้ ใน
้
่
ระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ทีเกิดขึนก็คือ สิ งรบกวน (Noise) จากภายนอกทําให้ขอมูลบางส่วนเสียหาย
้
หรื อผิดเพียนไปได้ซึงระยะทางก็มีส่วนเกียวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิงมากก็อาจจะทําให้เกิด
สิ งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ งรบกวน เหล่านี โดยการพัฒนาตัวกลางในการสือสารทีจะทํา
ให้เกิดการรบกวนน้อยทีสุด

องค์ ประกอบขันพืนฐานของระบบ
องค์ประกอบขันพืนฐานของระบบสือสารโทรคมนาคม สามารถจําแนกออกเป็ นส่วนประกอบได้
ดังต่อไปนี
1. ผู้ส่งข่ าวสารหรื อแหล่งกําเนิดข่าวสาร (source) อาจจะเป็ นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณ
ภาพ ข้อมูล และเสียงเป็ นต้น ในการติดต่อสือสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรื อท่าทางต่างๆ ก็
นับว่าเป็ นแหล่งกําเนิดข่าวสาร จัดอยูในหมวดหมูนีเช่นกัน
่
่
2. ผู้รับข่ าวสารหรื อจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึงจะรับรู้จากสิ งทีผูส่งข่าวสาร หรื อ
้
แหล่งกําเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ทีการติดต่อสือสารบรรลุวตถุประสงค์ ผูรับสารหรื อจุดหมาย
ั
้
ปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนัน ๆ ถ้าผูรับสารหรื อ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับ
้
ข่าวสาร ก็แสดงว่าการสือสารนันไม่ประสบความสําเร็จ กล่าวคือไม่มีการสือสารเกิดขึนนันเอง

3. ช่ องสัญญาณ (channel) ในทีนีอาจจะหมายถึงสือกลางหรื อตัวกลางทีข่าวสารเดินทางผ่าน อาจจะ
เป็ นอากาศ สายนําสัญญาณต่าง ๆ หรื อแม้กระทังของเหลว เช่น นํา นํามัน
เป็ น
ต้น เปรี ยบเสมือนเป็ นสะพานทีจะให้ข่าวสารข้ามจากฝั งหนึงไปยังอีกฝั งหนึง
4. การเข้ ารหัส (encoding) เป็ นการช่วยให้ผส่งข่าวสารและผูรับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันใน
ู้
้
การสือความหมาย จึงมีความจําเป็ นต้องแปลงความหมายนี การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่
ในรู ปพลังงาน ทีพร้อมจะส่งไปในสือกลาง ทางผูส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผูส่งและผูรับ หรื อมี
้
้
้
รหัสเดียวกัน การสือสารจึงเกิดขึนได้
6

5. การถอดรหัส (decoding) หมายถึงการทีผูรับข่าวสารแปลงพลังงานจากสือกลางให้กลับไปอยูใน
้
่
รู ปข่าวสารทีส่งมาจากผูส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรื อรหัสตรงกัน
้
6. สัญญาณรบกวน (noise) เป็ นสิ งทีมีอยูในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรื อรบกวนระบบ อาจจะ
่
เกิดขึนได้ทงทางด้านผูส่งข่าวสาร ผูรับข่าวสารและช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขันพืนฐานมักจะสมมติ
ั
้
้
ให้ทางด้านผูส่งข่าวสารและผูรับข่าวสารไม่มความผิดพลาด ตําแหน่งทีใช้วิเคราะห์ มักจะเป็ นทีตัวกลาง
้
้
ี
หรื อช่องสัญญาณ เมือไรทีรวมสัญญาณรบกวนด้านผูส่งข่าวสารและด้านผูรับข่าวสาร ในทางปฎิบติมกจะ
้
้
ั ั
ใช้ วงจรกรอง (filter) กรองสัญญาณแต่ตนทาง เพือให้การสือสารมีคุณภาพดียงขึนแล้วค่อย
้
ิ
ดําเนินการ เช่น การเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็ นต้น

ข่ ายการสื อสารข้ อมูล
หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรื อสารสนเทศจากทีหนึงไปยังอีกทีหนึง โดยอาศัยระบบการส่งข้อมูล
ทางคลืนไฟฟ้ าหรื อแสง อุปกรณ์ทีประกอบเป็ นระบบการสือสารข้อมูลโดยทัวไปเรี ยกว่า ข่ ายการสือสาร
ข้ อมูล (Data Communication Networks)

องค์ ประกอบพืนฐาน
1. หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit)
2. ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmisstion Channel)
3. หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit)

วัตถุประสงค์ หลักของการนําการสื อการข้ อมูลมาประยุกต์ ใช้ ในองค์ การประกอบด้ วย
1.
2.
3.
4.
5.
6.

เพือรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกําเนิดข้อมูล
เพือส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว
เพือลดเวลาการทํางาน
เพือการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร
เพือช่วยขยายการดําเนินการองค์การ
เพือช่วยปรับปรุ งการบริ หารขององค์การ
7

ประโยชน์ ของการสื อสารข้ อมูล
1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสือสารได้รวดเร็ ว การจัดเก็บซึอยูในรู ปของสัญญาณ
่
อิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกทีมีความหนาแน่นสูงแผ่นบันทึกแผ่นหนึงสามารถบันทึก
ข้อมูลได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สําหรับการสือสารข้อมูลนัน ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120
ตัวอักษรต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ตองเสียเวลานังป้ อนข้อมูลเหล่านัน
้
ซําใหม่อีก
2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึงไปยังอีกจุดหนึง
ด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนันมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้
และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ขอมูลทีได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ทาการส่งใหม่ หรื อกรณี ทีผิดพลาดไม่
้
ํ
มากนัก ฝ่ ายผูรับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้
้
3) ความเร็วของการทํางาน โดยปกติสญญาณทางไฟฟ้ าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทําให้การใช้
ั
คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึง ไปยังอีกซีกโลกหนึง หรื อค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่
สามารถทําได้รวดเร็ ว ความรวดเร็วของระบบทําให้ผใช้สะดวกสบายยิงขึน เช่น บริ ษทสายการบินทุกแห่ง
ู้
ั
สามารถทราบข้อมูลของทุกเทียวบินได้อย่างรวดเร็ว ทําให้การจองทีนังของสายการบินสามารถทําได้ทนที
ั
4) ต้นทุนประหยัด การเชือมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็ นเครื อข่าย เพือส่งหรื อสําเนาข้อมูล ทําให้ราคา
ต้นทุนของการใช้ขอมูลประหยัดขึน เมือเทียบกับการ
้

สื อกลางในการสื อสารข้ อมูล
ตัวกลางหรื อสายเชือมโยง เป็ นส่วนทีทําให้เกิดการเชือมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และ
อุปกรณ์นียอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผูส่งไปสู่ผรับ สือกลางทีใช้ในการสือสารข้อมูลมีอยูหลาย
้
ู้
่
ประเภท แต่ละประเภทมความแตกต่างกันในด้านของปริ มาณข้อมูล ทีสือกลางนัน ๆ สามารถนําผ่านไปได้
ในเวลาขณะใดขณะหนึง การวัดปริ มาณหรื อความจุในการนําข้อมูลหรื อ ทีเรี ยกกันว่าแบบด์วิดท์
(bandwidth) มีหน่วยเป็ นจํานวนบิตข้อมูลต่อวินาที (bit per second : bps) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มี
ดังต่อไปนี

สื อกลางประเภทมีสาย
เช่น สายโทรศัพท์ เคเบิลใยแก้วนําแสง เป็ นต้น สือทีจัดอยูในการสือสารแบบมีสายทีนิยมใช้ใน
่
ปัจจุบน ได้แก่ สายทองแดงแบบไม่ห้ ุมฉนวน(Unshield Twisted Pair)
ั
8

มีราคาถูกและนิยมใช้กนมากทีสุด ส่วนใหญ่มกใช้กบระบบโทรศัพท์ แต่สายแบบนีมักจะถูก
ั
ั ั
รบกวนได้ง่าย และไม่ค่อยทนทาน

สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน (Shield Twisted Pair)
มีลกษณะเป็ นสองเส้น มีแนวแล้วบิดเป็ นเกลียวเข้าด้วยกันเพือลดเสียงรบกวน มีฉนวนหุมรอบ
ั
้
นอก มีราคาถูก ติดตังง่าย นําหนักเบาและ การรบกวนทางไฟฟ้ าตํา สายโทรศัพท์จดเป็ นสายคู่บิดเกลียว
ั
แบบหุมฉนวน
้

สายโคแอคเชียล (Coaxial)
สายแบบนีจะประกอบด้วยตัวนําทีใช้ในการส่งข้อมูลเส้นหนึงอยูตรงกลางอีกเส้นหนึงเป็ นสายดิน
่
ระหว่างตัวนําสองเส้นนีจะมีฉนวนพลาสติก กันสายโคแอคเชียลแบบหนาจะส่งข้อมูลได้ไกลหว่าแบบบาง
แต่มีราคาแพงและติดตังได้ยากกว่า
สายเคเบิลแบบโคแอกเชียลหรื อเรี ยกสัน ๆ ว่า "สายโคแอก" จะเป็ นสายสือสารทีมีคุณภาพทีกว่า
และราคาแพงกว่า สายเกลียวคู่ ส่วนของสายส่งข้อมูลจะอยูตรงกลางเป็ นลวดทองแดงมีชนของตัว
่
ั
เหนียวนําหุมอยู่ 2 ชัน ชันในเป็ นฟั นเกลียวหรื อชันแข็ง ชันนอกเป็ นฟั นเกลียว และคันระหว่างชันด้วย
้
ฉนวนหนา เปลือกชันนอกสุดเป็ นฉนวน สายโคแอกสามารถม้วนโค้งงอได้ง่าย มี 2 แบบ คือ 75 โอมห์
และ 50 โอมห์ ขนาดของสายมีตงแต่ 0.4 - 1.0 นิ ว ชันตัวเหนียวนําทําหน้าทีป้ องกันการสูญเสียพลังงาน
ั
9

จากแผ่รังสี เปลือกฉนวนหนาทําให้สายโคแอกมีความคงทนสามารถฝังเดินสายใต้พืนดิน
ได้ นอกจากนันสาย โคแอกยังช่วยป้ องกัน "การสะท้อนกลับ" (Echo) ของเสียงได้อีกด้วยและลดการ
รบกวนจากภายนอกได้ดีเช่นกัน
สายโคแอกสามารถส่งสัญญาณได้ ทังในช่องทางแบบเบสแบนด์และแบบบรอดแบนด์ การส่ง
สัญญาณในเบสแบนด์สามารถทําได้เพียง 1 ช่องทางและเป็ นแบบครึ งดูเพล็กซ์ แต่ในส่วนของการส่ง
สัญญาณ ในบรอดแบนด์จะเป็ นเช่นเดียวกับสายเคเบิลทีวี คือสามารถส่งได้พร้อมกันหลายช่องทาง ทัง
ข้อมูลแบบดิจิตอลและแบบอนาล็อก สายโคแอกของเบสแบนด์สามารถส่งสัญญาณได้ไกล
ถึง 2 กม. ในขณะทีบรอดแบนด์ส่งได้ไกลกว่าถึง 6 เท่า โดยไม่ตองเครื องทบทวน หรื อเครื องขยาย
้
สัญญาณเลย ถ้าอาศัยหลักการมัลติเพล็กซ์สญญาณแบบ FDM สายโคแอกสามารถมีช่องทาง(เสียง) ได้
ั
ถึง 10,000 ช่องทางในเวลาเดียวกัน อัตราเร็วในการส่งข้อมูลมีได้สูงถึง 50 เมกะบิตต่อวินาที หรื อ 800
เมกะบิตต่อวินาที ถ้าใช้เครื องทบทวนสัญญาณทุก ๆ 1.6 กม. ตัวอย่างการใช้สายโคแอกในการส่งสัญญาณ
ข้อมูลทีใช้กนมากในปัจจุบน คือสายเคเบิลทีวี และสายโทรศัพท์ทางไกล (อนาล็อก) สายส่งข้อมูลใน
ั
ั
ระบบเครื อข่ายท้องถิ น หรื อ LAN (ดิจิตอล) หรื อใช้ในการเชือมโยงสัน ๆ ระหว่างอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์
10

ใยแก้ วนําแสง (Optic Fiber)
ทําจากแก้วหรื อพลาสติกมีลกษณะเป็ นเส้นบางๆ คล้าย เส้นใยแก้วจะทําตัวเป็ นสือในการส่งแสง
ั
เลเซอร์ทีมีความเร็ วในการส่งสัญญาณเท่ากับ ความเร็วของแสง
หลักการทัวไปของการสือสารในสายไฟเบอร์ออปติกคือการเปลียนสัญญาณ (ข้อมูล) ไฟฟ้ าให้
เป็ นคลืนแสงก่อน จากนันจึงส่งออกไปเป็ นพัลส์ ของแสง ผ่านสายไฟเบอร์ออปติกสายไฟเบอร์ออปติกทํา
จากแก้วหรื อพลาสติกสามารถส่งลําแสง ผ่านสายได้ทีละหลาย ๆ ลําแสงด้วยมุมทีต่างกัน ลําแสงทีส่งออก
ไปเป็ นพัลส์นนจะสะท้อนกลับไปมาทีผิวของสายชันในจนถึงปลายทาง
ั
จากสัญญาณข้อมูลซึงอาจจะเป็ นสัญญาณอนาล็อกหรื อดิจิตอล จะผ่านอุปกรณ์ทีทําหน้าทีมอดู
เลตสัญญาณเสียก่อน จากนันจะส่งสัญญาณมอดูเลต ผ่านตัวไดโอดซึงมี 2 ชนิดคือ LED ไดโอด (light
Emitting Diode) และเลเซอร์ไดโอด หรื อ ILD ไดโอด (Injection Leser Diode) ไดโอดจะมีหน้าทีเปลียน
สัญญาณมอดูเลตให้เป็ นลําแสงเลเซอร์ซึงเป็ นคลืนแสงในย่านทีมองเห็นได้ หรื อเป็ นลําแสงในย่าน
อินฟราเรดซึงไม่สามารถมองเห็นได้ ความถีย่านอินฟราเรดทีใช้จะอยูในช่วง 1014-1015 เฮิรตซ์ ลําแสงจะ
่
ถูกส่งออกไปตามสายไฟเบอร์ออปติก เมือถึงปลายทางก็จะมีตวโฟโต้ไดโอด (Photo Diode) ทีทําหน้าที
ั
รับลําแสงทีถูกส่งมาเพือเปลียนสัญญาณแสงให้กลับไปเป็ นสัญญาณมอดูเลตตามเดิม จากนันก็จะส่ง
สัญญาณผ่านเข้าอุปกรณ์ดีมอดูเลต เพือทําการดีมอดูเลตสัญญาณมอดูเลตให้เหลือแต่สญญาณข้อมูลที
ั
ต้องการ
สายไฟเบอร์ออปติกสามารถมีแบนด์วิดท์ (BW) ได้กว้างถึง 3 จิกะเฮิรตซ์ (1 จิกะ = 109) และมี
อัตราเร็ วในการส่งข้อมูลได้ถึง 1 จิกะบิต ต่อวินาที ภายในระยะทาง 100 กม. โดยไม่ตองการเครื อง
้
ทบทวนสัญญาณเลย สายไฟเบอร์ออปติกสามารถมีช่องทางสือสารได้มากถึง 20,00060,000 ช่องทาง สําหรับการส่งข้อมูลในระยะทางไกล ๆ ไม่เกิน 10 กม. จะสามารถมีช่องทางได้มากถึง
100,000 ช่องทางทีเดียว
11

ข้ อดีของใยแก้ วนําแสดงคือ
1. ป้ องกันการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้ าได้มาก
2. ส่งข้อมูลได้ระยะไกลโดยไม่ตองมีตวขยายสัญญาณ
้
ั
3. การดักสัญญาณทําได้ยาก ข้อมูลจึงมีความปลอดภัยมากกว่าสายส่งแบบอืน
4. ส่งข้อมูลได้ดวยความเร็ วสูงและสามารถส่งได้มาก ขนาดของสายเล็กและนําหนักเบา
้

สื อกลางประเภทไม่ มีสาย
ระบบไมโครเวฟ (Microwave System)
การส่งสัญญาณข้อมูลไปกลับคลืนไมโครเวฟเป็ นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจาก
หอ (สถานี) ส่ง-รับสัญญาณหนึงไปยังอีกหอหนึง แต่ละหาจะครอบคลุมพืนทีรับสัญญาณประมาณ 3050 กม. ระยะห่างของแต่ละหอคํานวณง่าย ๆ ได้จาก
สู ตร
d = 7.14 (1.33h)1/2 กม.
เมือ d = ระยะห่างระหว่างหอ h = ความสูงของหอ
12

การส่งสัญญาณข้อมูลไมโครเวฟมักใช้กนในกรณี ทีการติดตังสายเคเบิลทําได้ไม่สะดวก เช่น ในเขตเมือง
ั
ใหญ่ ๆ หรื อในเขตทีป่ าเขา แต่ละสถานีไมโครเวฟจะติดตังจานส่ง-รับสัญญาณข้อมูล ซึงมี
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 ฟุต สัญญาณไมโครเวฟเป็ นคลืนย่านความถีสูง (2-10 จิกะเฮิรตซ์) เพือ
ป้ องกันการแทรกหรื อรบกวนจากสัญญาณอืน ๆ แต่สญญาณอาจจะอ่อนลง หรื อหักเหได้ในทีมีอากาศ
ั
ร้อนจัด พายุหรื อฝน ดังนันการติดตังจาน ส่ง-รับสัญญาณจึงต้องให้หนหน้าของจานตรงกัน และหอยิงสูง
ั
ยิงส่งสัญญาณได้ไกล
ปัจจุบนมีการใช้การส่งสัญญาณข้อมูลทางไมโครเวฟกันอย่างแพร่ หลาย สําหรับการสือสารข้อมูลใน
ั
ระยะทางไกล ๆ หรื อระหว่างอาคาร โดยเฉพาะในกรณี ทีไม่สะดวกทีจะใช้สายไฟเบอร์ออปติก หรื อการ
สือสารดาวเทียม อีกทังไมโครเวฟยังมีราคาถูกกว่า และติดตังได้ง่ายกว่า และสามารถส่งข้อมูลได้คราวละ
มาก ๆ ด้วย อย่างไรก็ตามปัจจัยสําคัญทีทําให้สือกลางไมโครเวฟเป็ นทีนิยม คือราคาทีถูกกว่า

การสื อสารด้ วยดาวเทียม (Satellite Transmission)
ทีจริ งดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้ านันเอง ซึงทําหน้าทีขยายและทบทวนสัญญาณ
ข้อมูล รับและส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียม ทีอยูบนพืนโลก สถานีดาวเทียมภาคพืนจะทําการส่ง
่
สัญญาณข้อมูล ไปยังดาวเทียมซึงจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซึงมีตาแหน่งคงทีเมือเทียมกับ ตําแหน่ง
ํ
บนพืนโลก ดาวเทียมจะถูกส่งขึนไปให้ลอยอยูสูงจากพืนโลกประมาณ 23,300 กม. เครื องทบทวน
่
สัญญาณของดาวเทียม (Transponder) จะรับสัญญาณข้อมูลจากสถานีภาคพืนซึงมีกาลังอ่อนลงมากแล้วมา
ํ
ขยาย จากนันจะทําการทบทวนสัญญาณ และตรวจสอบตําแหน่งของสถานีปลายทาง แล้วจึงส่งสัญญาณ
ข้อมูลไปด้วยความถีในอีกความถีหนึงลงไปยังสถานีปลายทาง การส่งสัญญาณข้อมูลขึนไปยังดาวเทียม
เรี ยกว่า "สัญญาณอัปลิงก์" (Up-link) และการส่งสัญญาณข้อมูลกลับลงมายังพืนโลกเรี ยกว่า "สัญญาณ
ดาวน์-ลิงก์ (Down-link)
ลักษณะของการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็ นแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) หรื อแบบแพร่
สัญญาณ (Broadcast) สถานีดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเครื องทบทวนสัญญาณดาวเทียมได้ถึง 2
เครื อง และสามารถครอบคลุมพืนทีการส่งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3 ของพืนผิวโลก ดังนันถ้าจะส่งสัญญาณ
ข้อมูลให้ได้รอบโลกสามารถทําได้โดยการส่งสัญญาณผ่านสถานีดาวเทียมเพียง 3 ดวงเท่านัน
13

ระหว่างสถานีดาวเทียม 2 ดวง ทีใช้ความถีของสัญญาณเท่ากันถ้าอยูใกล้กนเกินไปอาจจะทําให้
่
ั
เกิดการรบกวนสัญญาณ ซึงกันและกันได้ เพือหลีกเลียงการรบกวน หรื อชนกันของสัญญาณดาวเทียม จึง
ได้มีการกําหนดมาตรฐานระยะห่างของสถานีดาวเทียม และย่านความถีของสัญญาณดังนี
1. ระยะห่างกัน 4 องศา (วัดมุมเทียงกับจุดศูนย์กลางของโลก) ให้ใช้ยานความถีของสัญญาณ 4/6
่
จิกะเฮิรตซ์ หรื อย่าน C แบนด์โดยมีแบนด์วดท์ของสัญญาณอัป-ลิงก์เท่ากับ 5.925-6.425 จิกะ
ิ
เฮิรตซ์ และมีแบนด์วิดท์ของสัญญาณดาวน์-ลิงก์เท่ากับ 3.7-4.2 จิกะเฮิรตซ์
2. ระยะห่างกัน 3 องศา ให้ใช้ยานความถีของสัญญาณ 12/14 จิกะเฮิรตซ์ หรื อย่าน KU
่
แบนด์ โดยมีแบนด์วดท์ของสัญญาณอัป-ลิงก์เท่ากับ 14.0-14.5 จิกะเฮิรตซ์ และมีแบนด์วิดท์
ิ
ของสัญญาณดาวน์-ลิงก์เท่ากับ 11.7-12.2 จิกะเฮิรตซ์
นอกจากนีสภาพอากาศ เช่น ฝนหรื อพายุ ก็สามารถทําให้สญญาณผิดเพียนไปได้เช่นกัน
ั
สําหรับการส่งสัญญาณข้อมูลนันในแต่ละเครื องทบทวนสัญญาณจะมีแบนด์วิดท์
เท่ากับ 36 เมกะเฮิรตซ์ และมีอตราเร็ วการส่งข้อมูลสูงสุดเท่ากับ 50 เมกะบิตต่อวินาที
ั
ข้ อเสีย ของการส่งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมคือ สัญญาณข้อมูลสามารถถูกรบกวนจาก
สัญญาณภาคพืนอืน ๆ ได้ อีกทังยังมีเวลาประวิง(Delay Time) ในการส่งสัญญาณเนืองจากระยะทางขึนลง ของสัญญาณ และทีสําคัญคือ มีราคาสูงในการลงทุนทําให้ค่าบริ การสูงตามขึนมาเช่นกัน
14

พัฒนาการสื อสาร
ธรรมชาติของมนุษย์ตองการอยูรวมกันเป็ นกลุ่มเพือดําเนินกิจกรรมต่างๆ ร่ วมกัน ทําให้มีการ
้
่
ติดต่อสือสารระหว่างกัน ทํางานสร้างสรรค์สงคมเพือให้สงคมมีความเป็ นอยูทีดีขึน จากการดําเนินชีวิต
ั
ั
่
ร่ วมกันทังในด้านครอบครัว ด้านการทํางาน ตลอดจนสังคมและการเมืองทําให้ไม่สามารถหลีกเลียงการ
พบปะ แลกเปลียนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันได้ เมือมนุษย์มีความจะเป็ นทีต้องมีการติดต่อสือสารระหว่าง
กัน จึงมีการพัฒนาการหลายด้านทีตอบสนองเพือให้ใช้งานได้ตามความต้องการ เช่น
1.1 การสือสารด้ วยรหัส จากอดีตกาล การสือสารต้องอาศัยคน
นําสาร มีการถือเอกสารจากบุคคลหนึงเดินทางส่งต่อให้กบ
ั
ผูรับปลายทาง ต่อมามีการสร้างรหัสเฉพาะเพือรับรู้กนเฉพาะ
้
ั
ผูรับและผูส่ง จนเมือปี พ.ศ. 2379 แซมมวล มอร์ส (Samuel
้
้
Morse) สามารถส่งรหัสข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วย
คลืนวิทยุ เรี ยกว่ารหัส มอร์ส ซึงเป็ นรหัสทีใช้จุดและขีดเป็ นสัญลักษณ์ในการส่งวิทยุ ทําให้เกิดการสือสาร
ระยะไกล และในเวลาต่อมาสามารถขยายผลไปใช้ในกิจกรรมวิทยุ และโทรทัศน์ นอกจากนีรหัส มอร์ส ยัง
ใช้ในการสือสารด้วยโทรเลขเป็ นระยะเวลานาน

เครืองเคาะรหัส
1.2 การสือสารด้ วยสายตัวนํา ในปี พ.ศ. 2419 อเล็กซานเดอร์ แกรแฮม เบล
(Alexander Graham Bell) ได้ประดิษฐ์ โทรศัพท์เพือการสือสารด้วยเสียงผ่ายทาง
สายตัวนําทองแดง พัฒนาการเทคโนโลยีนีได้กาวหน้าขึนเป็ นลําดับ จากเริ มต้น
้
ใช้การสลับสารด้วยคน ต่อมาใช้ระบบการสลับสายแบบอัตโนมัติ ได้พฒนาและ
ั
ใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ปัจจุบนโครงข่ายตัวนําทีใช้ในระบบโทรศัพท์เป็ น
ั
โครงข่ายดิจิทลจึงทําให้การส่งข้อมูลสามารถใช้ร่วมกับแบบอืนร่ วมได้
ั
1.3 การสือสารโดยใช้ คอมพิวเตอร์ การพัฒนาการทางด้านคอมพิวเตอร์เริ มจากมี
การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (centralized processing) เช่น ใช้เครื องมินิคอมพิวเตอร์ หรื อเครื องเมนแฟรม
เป็ นเครื องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (host) โดยเป็ นศูนย์กลางให้ผใช้ใช้งานได้หลายคนพร้อมกัน แต่ละคน
ู้
15

เปรี ยบเสมือนเป็ นสถานีปลายทางทีเรี ยกใช้ทรัพยากร หรื อการคํานวณจากศูนย์กลางและให้ คอมพิวเตอร์
ตอบสนองต่อการทํางานนัน

โทรศัพท์ ในยุคแรก
ต่อมาเมือมีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ทีทําให้สะดวกต่อการ
ใช้งานส่วนบุคคล จนเรี ยกเครื องไมโครคอมพิวเตอร์ว่า พีซี (Personal
Computer : PC) การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์แพร่ หลายอย่างรวดเร็ ว
เพราะใช้งานง่าย ราคาไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ง่าย เมือมีการใช้
งานกันมากบริ ษทผูผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆ ก็ปรับปรุ งและพัฒนา
ั ้
เทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการทีสามารถทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มเครื อข่ายคอมพิวเตอร์จึงเป็ นวิธีการ
หนึงและกําลังได้รับความนิยมสูงมาก โดยเฉพาะเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเพราะสามารถตอบสนองได้ตรงตาม
ความต้องการในการติดต่อสือสารข้อมูลระหว่างกันได้สะดวกและมีการประยุกต์ใช้งานได้กว้างขวาง เช่น
การใช้ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ การโอนย้ายแฟ้ มข้อมูล การสืบค้นและเรี ยกดูข่าว ผ่านระบบเว็บ การพูดคุย
์
และส่งข้อความถึงกัน เป็ นต้น

ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail)
1.4 การสือสารโดยใช้ ดาวเทียม ดาวเทียมได้รับการส่งให้โคจรรอบโลก
โดยมีเครื องถ่ายทอดสัญญาณติดไปด้วยการเคลือนทีของ ดาวเทียมที
เคลือนไปพร้อมกับการหมุนของโลกทําให้คนบนพืนโลกเห็นดาวเทียม
อยูคงที การสือสารผ่านดาวเทียมทําได้โดยสถานีภาคพืนดินทีต้องการ
่
สือสารจะส่งข้อมูลมาทีดาวเทียม และดาวก็จะส่งข้องมูลต่อไปยังสถานี
ภาคพืนดินปลายทางแห่งหนึงหรื อหลายแห่งก็ได้ การับสัญญาณจะครอบคลุมพืนทีทีดาวเทียมโคจรอยูซึงจะ
่
มีบริ เวณกว้างมากทําให้ไม่มีอุปสรรคทางด้านภูมิศาสตร์และเหมาะกับพืนทีทีไม่สามารถติดตังสายได้ เช่น
แนวเขาบังสัญญาณ หรื อเกาะทีอยูกลางทะเล เป็ นต้น
่
16

สถานีภาคพืนดินปลายทาง

1.5 การสือสารด้ วยระบบไร้ สาย การสือสารผ่ายโทรศัพท์เคลือนที กําลังได้รับความ
นิยมเพราะโทรศัพท์แบบ เคลือนทีมีความสะดวก คล่องตัว การสือสารแบบนีใช้
คลืนสัญญาณวิทยุ โดยผูใช้จะติดต่อกับศูนย์กลางสถานีรับส่ง การสือสารวิธีนีมีการ
้
วางเป็ นเซลครอบพืนทีต่างๆ ไว้ จึงเรี ยกระบบโทรศัพท์ไร้สายแบบนีว่า เซลลูลาร์โฟน (cellular phone)
พัฒนาการของระบบไร้สายยังได้รับการนํามาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ อีกหลายอย่าง เช่น ในระบบเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์หรื อทีเรี ยกว่า แลนไร้สาย และระบบการส่งข้อความ (paging) เป็ นต้น

โทรศัพท์ เคลือนที
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการ
พัฒนาอย่างต่อเนืองจากเครื องคอมพิวเตอร์
ขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์
พัฒนามาเป็ นไมโครคอมพิวเตอร์ทีมีขนาด
เล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึน
ไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับการพัฒนาให้มี
ขีดความสามารถและทํางานได้มากขึน
จนกระทังคอมพิวเตอร์สามารถทํางาน
ร่ วมกันเป็ นกลุ่มได้ ดังนันจึงมีการพัฒนาให้
คอมพิวเตอร์ทางานในรู ปแบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
ํ
ในอดีตเครื อขายคอมพิวเตอร์คือการนําเอาเครื องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มาเป็ นสถานีบริ การหรื อที
เรี ยกว่า เครื องให้บริ การ (server) และตัวไมโครคอมพิวเตอร์ตามหน่วยงานต่างๆ เป็ นเครื องใช้บริ การ
(client) โดยมี เครื อข่าย (merwork) เป็ นเส้นทางเชือมโยงคอมพิวเตอร์จากจุดต่างๆ ปัจจุบนเครื อข่าย
ั
คอมพิวเตอร์คือการเชือมโยงคอมพิวเตอร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน เพือใช้ประโยชน์จากทรัพยากรต่างๆ ร่ วมกันให้
เกิดประโยชน์สูงสุด
17

เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทวีความสําคัญและได้รับความนิยมมากขึน เพราะสามารถสร้างระบบ
คอมพิวเตอร์ให้ เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท ในธุรกิจขนาดเล็กทีไม่มความสามารถในการลงทุนซือ
ี
เครื องคอมพิวเตอร์ทีมีราคาสูง เช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื องต่อ
เชือมโยงกันเป็ นเครื อข่าย

พัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื องหนึง
เป็ นสถานีบริ การทีทําให้ใช้งานข้อมูล
ร่ วมกันได้ เมือกิจการเจริ ญก้าวหน้าขึน
ก็ สามารถขยายเครื อข่ายการใช้
คอมพิวเตอร์ โดยเพิ มจํานวนเครื อง หรื อ
ขยายความจุขอมูลให้พอเหมาะกับองค์กร
้
ได้ ในปัจจุบนองค์กรขนาดใหญ่สามารถ
ั
ลดการลงทุนได้โดยใช้เครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ เชือมโยงจาก
ไมโครคอมพิวเตอร์กลุ่มเล็กๆ หลายๆ กลุ่ม
รวมกันเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กรได้ โดยสภาพการใช้ขอมูลสามารทําได้ดีเหมือนเช่นในอดีตที
้
ต้องลงทุนเป็ นจํานวนมากเครื อข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาททีสําคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี
1. ทําให้เกิดการทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มและสามารถทํางานพร้อมกัน
2. สามารถใช้ขอมูลต่างๆ ร่ วมกัน ทําให้องค์กรได้รับประโยชน์มากขึน
้
3. สามารถใช้ทรัพยากรร่ วมกันได้คุมค่า เช่น ใช้เครื องประมวลผลร่ วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้ มข้อมูลให้
้
เครื องพิมพ์ และอุปกรณ์ทีมีราคาแพงร่ วมกัน
4. ทําให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
18

อ้างอิง
http://www.chakkham.ac.th/technology/network/datacommu.html
http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/computer/network/net_datacom1.htm
http://www.chakkham.ac.th/technology/network/equ.html
http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/datacom/typeofdatacom.htm
http://kururat-01.blogspot.com/
19

More Related Content

What's hot

สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Note Narudaj
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลleelawadeerattakul99
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Supicha Ploy
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
Nuttapat Sukcharoen
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
ครู อินดี้
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
bosskrittachai boss
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wannapaainto8522
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kru.Mam Charoensansuay
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 

What's hot (20)

สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน 55555
รายงาน 55555รายงาน 55555
รายงาน 55555
 
ระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูลระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to การสื่อสารข้อมูล

2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูลMeaw Sukee
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
ครู อินดี้
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลTharathep Chumchuen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
โรงเรียนชุมชนโนนแดง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157Surapong Jakang
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตdlled
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
RMUTT
 

Similar to การสื่อสารข้อมูล (20)

การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
2.1 พัฒนาการสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 5 2555
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 

การสื่อสารข้อมูล

  • 1. 1 รายงาน เรื อง การสื อสารข้อมูล กลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดทําโดย นางสาว ธัญชนก ชุมทอง เลขที 21 ชันมัธยมศึกษาปี ที4/1 เสนอ อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ รหัสวิชา ง.31102 ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2556 โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ สํานักงานเขตพืนทีการศึกษา ตรัง เขต 13
  • 2. 2 คํานํา รายงานเล่มนีเป็ นส่ วนหนึงของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง. 31102ชัน มัธยมศึกษาปี ที 4 โดยมีจุดประสงค์เพือการศึกษาความรู ้ทีได้จากเรื อง การสื อสาร ข้อมูล ซึ งรายงานนีมีเนือหาเกียวกับความรู ้ ประโยชน์ในการสื อสารข้อมูล องค์ประกอบพืนฐานของนะบบ สื อกลางในการสื อสารข้อมูลและพัฒนาการของการ สื อสารข้อมูล ผูจดทําได้เลือกหัวข้อนีในการทํารายงาน เนืองมาจากเป็ นเรื องที ้ั น่าสนใจและได้รับประโยชน์สาระน่ารู ้มากมาย หวังว่ารายงานเล่มนี จะให้ความรู ้ และเป็ นประโยชน์แก่ผอ่านทุก ๆท่าน และ ู้ หากมีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ทีนีด้วย ้ นางสาว ธัญชนก ชุมทอง ผูจดทํา ้ั
  • 3. 3 สารบัญ เรื อง หน้า ความหมายของการสือสารข้อมูล 1 องค์ประกอบขันพืนฐานของระบบ 2 ข่ายการสือสารข้อมูล 3 องค์ประกอบพืนฐาน 3 วัตถุประสงค์หลักของการนําการสือการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วย 3 ประโยชน์ของการสือสารข้อมูล 4 สือกลางในการสือสารข้อมูล 4 สือกลางประเภทมีสาย 4 -สายทองแดงแบบหุมฉนวน ้ 5 -สายโคแอคเชียล 5 -ใยแก้วนําแสง ข้อดีของใยแก้วนําแสดงคือ 7 8 สือกลางประเภทไม่มีสาย 8 - ระบบไมโครเวฟ 8 - การสือสารด้วยดาวเทียม พัฒนาการสือสาร 9 11
  • 4. 4 การสื อสารข้ อมูล (Data Communication) ความหมายของการสื อสารข้ อมูล การติดต่อสือสารเป็ นสิ งทีเกิดขึนควบคู่มากับมนุษย์ เนืองจากมนุษย์ตองอยูรวมกันเป็ นกลุ่มเป็ นก้อน ้ ่ โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็ นสือในการส่งข้อมูล แลกเปลียนข้อมูลซึงกันและกัน โดยมีอากาศเป็ นตัวกลาง ซึงใน ภาษาทีมนุษย์ใช้สือสารกันนัน จะต้องมีขอตกลงกันว่าแต่ละสัญลักษณ์ หรื อคําพูด แทนหรื อหมายถึงสิ งใด ้ มนุษย์ได้คิดค้นวิธีการและเครื องมือทีใช้ในการติดต่อสือสารกันมาตังแต่สมัยโบราณแล้ว ยกตัวอย่างเช่น การใช้สญญาณควันไฟของชาวอินเดียแดง หรื อการใช้มาเร็ วในการส่งสาส์น จนกระทังพัฒนามาเป็ นการใช้ ั ้ โทรเลข วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ และอินเทอร์เน็ต ความหมายของการสือสารข้อมูล เกิดจากคําสองคํา คือ การสือสาร (Communication) ซึงหมายถึง การส่ง เนือหาจากฝ่ ายหนึงไปยังอีกฝ่ ายหนึง และคําว่าข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริ งหรื อสิ งทีถือหรื อยอมรับว่า เป็ นข้อเท็จจริ งสําหรับใช้เป็ นหลักอนุมานหาความจริ งหรื อการคํานวณ [17] ซึงในทีนีเราจะหมายถึงข้อมูลที เกิดขึนจากเครื องคอมพิวเตอร์ในรู ปตัวเลข 0 หรื อ 1 ต่อเนืองกันไป ซึงเป็ นค่าทีเครื องคอมพิวเตอร์เข้าใจ นัน คือ การสือสารข้อมูล หมายถึง การส่งเนือหาทีอยูในรู ปตัวเลขฐานสองทีเกิดจากอุปกรณ์หรื อเครื อง ่ คอมพิวเตอร์ตงแต่ 2 เครื องขึนไป โดยมีจุดประสงค์เพือต้องการติดต่อ แลกเปลียนข้อมูลข่าวสาร ตลอดจน ั แบ่งปันการใช้ทรัพยากรทีมีอยูให้เกิดประโยชน์สูงสุด ่ การสือสารข้ อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรื อแลกเปลียนข้อมูลกัน ระหว่างผูส่งและผูรับ โดยผ่านช่องทางสือสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรื อคอมพิวเตอร์เป็ นตัวกลางใน ้ ้ การส่งข้อมูล เพือให้ผส่งและผูรับเกิดความเข้าใจซึงกันและกัน ู้ ้
  • 5. 5 วิธีการส่ งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็ นสัญญาณ หรื อรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผูรับ และเมือถึง ้ ปลายทางหรื อผูรับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนัน กลับมาให้อยูในรู ปทีมนุษย์ สามารถทีจะเข้าใจได้ ใน ้ ่ ระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ทีเกิดขึนก็คือ สิ งรบกวน (Noise) จากภายนอกทําให้ขอมูลบางส่วนเสียหาย ้ หรื อผิดเพียนไปได้ซึงระยะทางก็มีส่วนเกียวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิงมากก็อาจจะทําให้เกิด สิ งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ งรบกวน เหล่านี โดยการพัฒนาตัวกลางในการสือสารทีจะทํา ให้เกิดการรบกวนน้อยทีสุด องค์ ประกอบขันพืนฐานของระบบ องค์ประกอบขันพืนฐานของระบบสือสารโทรคมนาคม สามารถจําแนกออกเป็ นส่วนประกอบได้ ดังต่อไปนี 1. ผู้ส่งข่ าวสารหรื อแหล่งกําเนิดข่าวสาร (source) อาจจะเป็ นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณ ภาพ ข้อมูล และเสียงเป็ นต้น ในการติดต่อสือสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรื อท่าทางต่างๆ ก็ นับว่าเป็ นแหล่งกําเนิดข่าวสาร จัดอยูในหมวดหมูนีเช่นกัน ่ ่ 2. ผู้รับข่ าวสารหรื อจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึงจะรับรู้จากสิ งทีผูส่งข่าวสาร หรื อ ้ แหล่งกําเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ทีการติดต่อสือสารบรรลุวตถุประสงค์ ผูรับสารหรื อจุดหมาย ั ้ ปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนัน ๆ ถ้าผูรับสารหรื อ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับ ้ ข่าวสาร ก็แสดงว่าการสือสารนันไม่ประสบความสําเร็จ กล่าวคือไม่มีการสือสารเกิดขึนนันเอง 3. ช่ องสัญญาณ (channel) ในทีนีอาจจะหมายถึงสือกลางหรื อตัวกลางทีข่าวสารเดินทางผ่าน อาจจะ เป็ นอากาศ สายนําสัญญาณต่าง ๆ หรื อแม้กระทังของเหลว เช่น นํา นํามัน เป็ น ต้น เปรี ยบเสมือนเป็ นสะพานทีจะให้ข่าวสารข้ามจากฝั งหนึงไปยังอีกฝั งหนึง 4. การเข้ ารหัส (encoding) เป็ นการช่วยให้ผส่งข่าวสารและผูรับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันใน ู้ ้ การสือความหมาย จึงมีความจําเป็ นต้องแปลงความหมายนี การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ ในรู ปพลังงาน ทีพร้อมจะส่งไปในสือกลาง ทางผูส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผูส่งและผูรับ หรื อมี ้ ้ ้ รหัสเดียวกัน การสือสารจึงเกิดขึนได้
  • 6. 6 5. การถอดรหัส (decoding) หมายถึงการทีผูรับข่าวสารแปลงพลังงานจากสือกลางให้กลับไปอยูใน ้ ่ รู ปข่าวสารทีส่งมาจากผูส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรื อรหัสตรงกัน ้ 6. สัญญาณรบกวน (noise) เป็ นสิ งทีมีอยูในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรื อรบกวนระบบ อาจจะ ่ เกิดขึนได้ทงทางด้านผูส่งข่าวสาร ผูรับข่าวสารและช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาขันพืนฐานมักจะสมมติ ั ้ ้ ให้ทางด้านผูส่งข่าวสารและผูรับข่าวสารไม่มความผิดพลาด ตําแหน่งทีใช้วิเคราะห์ มักจะเป็ นทีตัวกลาง ้ ้ ี หรื อช่องสัญญาณ เมือไรทีรวมสัญญาณรบกวนด้านผูส่งข่าวสารและด้านผูรับข่าวสาร ในทางปฎิบติมกจะ ้ ้ ั ั ใช้ วงจรกรอง (filter) กรองสัญญาณแต่ตนทาง เพือให้การสือสารมีคุณภาพดียงขึนแล้วค่อย ้ ิ ดําเนินการ เช่น การเข้ารหัสแหล่งข้อมูล เป็ นต้น ข่ ายการสื อสารข้ อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรื อสารสนเทศจากทีหนึงไปยังอีกทีหนึง โดยอาศัยระบบการส่งข้อมูล ทางคลืนไฟฟ้ าหรื อแสง อุปกรณ์ทีประกอบเป็ นระบบการสือสารข้อมูลโดยทัวไปเรี ยกว่า ข่ ายการสือสาร ข้ อมูล (Data Communication Networks) องค์ ประกอบพืนฐาน 1. หน่วยส่งข้อมูล (Sending Unit) 2. ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmisstion Channel) 3. หน่วยรับข้อมูล (Receiving Unit) วัตถุประสงค์ หลักของการนําการสื อการข้ อมูลมาประยุกต์ ใช้ ในองค์ การประกอบด้ วย 1. 2. 3. 4. 5. 6. เพือรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกําเนิดข้อมูล เพือส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว เพือลดเวลาการทํางาน เพือการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร เพือช่วยขยายการดําเนินการองค์การ เพือช่วยปรับปรุ งการบริ หารขององค์การ
  • 7. 7 ประโยชน์ ของการสื อสารข้ อมูล 1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสือสารได้รวดเร็ ว การจัดเก็บซึอยูในรู ปของสัญญาณ ่ อิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกทีมีความหนาแน่นสูงแผ่นบันทึกแผ่นหนึงสามารถบันทึก ข้อมูลได้มากกกว่า 1 ล้านตัวอักษร สําหรับการสือสารข้อมูลนัน ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ในอัตรา 120 ตัวอักษรต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ตองเสียเวลานังป้ อนข้อมูลเหล่านัน ้ ซําใหม่อีก 2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุดหนึงไปยังอีกจุดหนึง ด้วยระบบดิจิตอล วิธีการส่งข้อมูลนันมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ขอมูลทีได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ทาการส่งใหม่ หรื อกรณี ทีผิดพลาดไม่ ้ ํ มากนัก ฝ่ ายผูรับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้ ้ 3) ความเร็วของการทํางาน โดยปกติสญญาณทางไฟฟ้ าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทําให้การใช้ ั คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึง ไปยังอีกซีกโลกหนึง หรื อค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทําได้รวดเร็ ว ความรวดเร็วของระบบทําให้ผใช้สะดวกสบายยิงขึน เช่น บริ ษทสายการบินทุกแห่ง ู้ ั สามารถทราบข้อมูลของทุกเทียวบินได้อย่างรวดเร็ว ทําให้การจองทีนังของสายการบินสามารถทําได้ทนที ั 4) ต้นทุนประหยัด การเชือมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็ นเครื อข่าย เพือส่งหรื อสําเนาข้อมูล ทําให้ราคา ต้นทุนของการใช้ขอมูลประหยัดขึน เมือเทียบกับการ ้ สื อกลางในการสื อสารข้ อมูล ตัวกลางหรื อสายเชือมโยง เป็ นส่วนทีทําให้เกิดการเชือมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และ อุปกรณ์นียอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผูส่งไปสู่ผรับ สือกลางทีใช้ในการสือสารข้อมูลมีอยูหลาย ้ ู้ ่ ประเภท แต่ละประเภทมความแตกต่างกันในด้านของปริ มาณข้อมูล ทีสือกลางนัน ๆ สามารถนําผ่านไปได้ ในเวลาขณะใดขณะหนึง การวัดปริ มาณหรื อความจุในการนําข้อมูลหรื อ ทีเรี ยกกันว่าแบบด์วิดท์ (bandwidth) มีหน่วยเป็ นจํานวนบิตข้อมูลต่อวินาที (bit per second : bps) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มี ดังต่อไปนี สื อกลางประเภทมีสาย เช่น สายโทรศัพท์ เคเบิลใยแก้วนําแสง เป็ นต้น สือทีจัดอยูในการสือสารแบบมีสายทีนิยมใช้ใน ่ ปัจจุบน ได้แก่ สายทองแดงแบบไม่ห้ ุมฉนวน(Unshield Twisted Pair) ั
  • 8. 8 มีราคาถูกและนิยมใช้กนมากทีสุด ส่วนใหญ่มกใช้กบระบบโทรศัพท์ แต่สายแบบนีมักจะถูก ั ั ั รบกวนได้ง่าย และไม่ค่อยทนทาน สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน (Shield Twisted Pair) มีลกษณะเป็ นสองเส้น มีแนวแล้วบิดเป็ นเกลียวเข้าด้วยกันเพือลดเสียงรบกวน มีฉนวนหุมรอบ ั ้ นอก มีราคาถูก ติดตังง่าย นําหนักเบาและ การรบกวนทางไฟฟ้ าตํา สายโทรศัพท์จดเป็ นสายคู่บิดเกลียว ั แบบหุมฉนวน ้ สายโคแอคเชียล (Coaxial) สายแบบนีจะประกอบด้วยตัวนําทีใช้ในการส่งข้อมูลเส้นหนึงอยูตรงกลางอีกเส้นหนึงเป็ นสายดิน ่ ระหว่างตัวนําสองเส้นนีจะมีฉนวนพลาสติก กันสายโคแอคเชียลแบบหนาจะส่งข้อมูลได้ไกลหว่าแบบบาง แต่มีราคาแพงและติดตังได้ยากกว่า สายเคเบิลแบบโคแอกเชียลหรื อเรี ยกสัน ๆ ว่า "สายโคแอก" จะเป็ นสายสือสารทีมีคุณภาพทีกว่า และราคาแพงกว่า สายเกลียวคู่ ส่วนของสายส่งข้อมูลจะอยูตรงกลางเป็ นลวดทองแดงมีชนของตัว ่ ั เหนียวนําหุมอยู่ 2 ชัน ชันในเป็ นฟั นเกลียวหรื อชันแข็ง ชันนอกเป็ นฟั นเกลียว และคันระหว่างชันด้วย ้ ฉนวนหนา เปลือกชันนอกสุดเป็ นฉนวน สายโคแอกสามารถม้วนโค้งงอได้ง่าย มี 2 แบบ คือ 75 โอมห์ และ 50 โอมห์ ขนาดของสายมีตงแต่ 0.4 - 1.0 นิ ว ชันตัวเหนียวนําทําหน้าทีป้ องกันการสูญเสียพลังงาน ั
  • 9. 9 จากแผ่รังสี เปลือกฉนวนหนาทําให้สายโคแอกมีความคงทนสามารถฝังเดินสายใต้พืนดิน ได้ นอกจากนันสาย โคแอกยังช่วยป้ องกัน "การสะท้อนกลับ" (Echo) ของเสียงได้อีกด้วยและลดการ รบกวนจากภายนอกได้ดีเช่นกัน สายโคแอกสามารถส่งสัญญาณได้ ทังในช่องทางแบบเบสแบนด์และแบบบรอดแบนด์ การส่ง สัญญาณในเบสแบนด์สามารถทําได้เพียง 1 ช่องทางและเป็ นแบบครึ งดูเพล็กซ์ แต่ในส่วนของการส่ง สัญญาณ ในบรอดแบนด์จะเป็ นเช่นเดียวกับสายเคเบิลทีวี คือสามารถส่งได้พร้อมกันหลายช่องทาง ทัง ข้อมูลแบบดิจิตอลและแบบอนาล็อก สายโคแอกของเบสแบนด์สามารถส่งสัญญาณได้ไกล ถึง 2 กม. ในขณะทีบรอดแบนด์ส่งได้ไกลกว่าถึง 6 เท่า โดยไม่ตองเครื องทบทวน หรื อเครื องขยาย ้ สัญญาณเลย ถ้าอาศัยหลักการมัลติเพล็กซ์สญญาณแบบ FDM สายโคแอกสามารถมีช่องทาง(เสียง) ได้ ั ถึง 10,000 ช่องทางในเวลาเดียวกัน อัตราเร็วในการส่งข้อมูลมีได้สูงถึง 50 เมกะบิตต่อวินาที หรื อ 800 เมกะบิตต่อวินาที ถ้าใช้เครื องทบทวนสัญญาณทุก ๆ 1.6 กม. ตัวอย่างการใช้สายโคแอกในการส่งสัญญาณ ข้อมูลทีใช้กนมากในปัจจุบน คือสายเคเบิลทีวี และสายโทรศัพท์ทางไกล (อนาล็อก) สายส่งข้อมูลใน ั ั ระบบเครื อข่ายท้องถิ น หรื อ LAN (ดิจิตอล) หรื อใช้ในการเชือมโยงสัน ๆ ระหว่างอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
  • 10. 10 ใยแก้ วนําแสง (Optic Fiber) ทําจากแก้วหรื อพลาสติกมีลกษณะเป็ นเส้นบางๆ คล้าย เส้นใยแก้วจะทําตัวเป็ นสือในการส่งแสง ั เลเซอร์ทีมีความเร็ วในการส่งสัญญาณเท่ากับ ความเร็วของแสง หลักการทัวไปของการสือสารในสายไฟเบอร์ออปติกคือการเปลียนสัญญาณ (ข้อมูล) ไฟฟ้ าให้ เป็ นคลืนแสงก่อน จากนันจึงส่งออกไปเป็ นพัลส์ ของแสง ผ่านสายไฟเบอร์ออปติกสายไฟเบอร์ออปติกทํา จากแก้วหรื อพลาสติกสามารถส่งลําแสง ผ่านสายได้ทีละหลาย ๆ ลําแสงด้วยมุมทีต่างกัน ลําแสงทีส่งออก ไปเป็ นพัลส์นนจะสะท้อนกลับไปมาทีผิวของสายชันในจนถึงปลายทาง ั จากสัญญาณข้อมูลซึงอาจจะเป็ นสัญญาณอนาล็อกหรื อดิจิตอล จะผ่านอุปกรณ์ทีทําหน้าทีมอดู เลตสัญญาณเสียก่อน จากนันจะส่งสัญญาณมอดูเลต ผ่านตัวไดโอดซึงมี 2 ชนิดคือ LED ไดโอด (light Emitting Diode) และเลเซอร์ไดโอด หรื อ ILD ไดโอด (Injection Leser Diode) ไดโอดจะมีหน้าทีเปลียน สัญญาณมอดูเลตให้เป็ นลําแสงเลเซอร์ซึงเป็ นคลืนแสงในย่านทีมองเห็นได้ หรื อเป็ นลําแสงในย่าน อินฟราเรดซึงไม่สามารถมองเห็นได้ ความถีย่านอินฟราเรดทีใช้จะอยูในช่วง 1014-1015 เฮิรตซ์ ลําแสงจะ ่ ถูกส่งออกไปตามสายไฟเบอร์ออปติก เมือถึงปลายทางก็จะมีตวโฟโต้ไดโอด (Photo Diode) ทีทําหน้าที ั รับลําแสงทีถูกส่งมาเพือเปลียนสัญญาณแสงให้กลับไปเป็ นสัญญาณมอดูเลตตามเดิม จากนันก็จะส่ง สัญญาณผ่านเข้าอุปกรณ์ดีมอดูเลต เพือทําการดีมอดูเลตสัญญาณมอดูเลตให้เหลือแต่สญญาณข้อมูลที ั ต้องการ สายไฟเบอร์ออปติกสามารถมีแบนด์วิดท์ (BW) ได้กว้างถึง 3 จิกะเฮิรตซ์ (1 จิกะ = 109) และมี อัตราเร็ วในการส่งข้อมูลได้ถึง 1 จิกะบิต ต่อวินาที ภายในระยะทาง 100 กม. โดยไม่ตองการเครื อง ้ ทบทวนสัญญาณเลย สายไฟเบอร์ออปติกสามารถมีช่องทางสือสารได้มากถึง 20,00060,000 ช่องทาง สําหรับการส่งข้อมูลในระยะทางไกล ๆ ไม่เกิน 10 กม. จะสามารถมีช่องทางได้มากถึง 100,000 ช่องทางทีเดียว
  • 11. 11 ข้ อดีของใยแก้ วนําแสดงคือ 1. ป้ องกันการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้ าได้มาก 2. ส่งข้อมูลได้ระยะไกลโดยไม่ตองมีตวขยายสัญญาณ ้ ั 3. การดักสัญญาณทําได้ยาก ข้อมูลจึงมีความปลอดภัยมากกว่าสายส่งแบบอืน 4. ส่งข้อมูลได้ดวยความเร็ วสูงและสามารถส่งได้มาก ขนาดของสายเล็กและนําหนักเบา ้ สื อกลางประเภทไม่ มีสาย ระบบไมโครเวฟ (Microwave System) การส่งสัญญาณข้อมูลไปกลับคลืนไมโครเวฟเป็ นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจาก หอ (สถานี) ส่ง-รับสัญญาณหนึงไปยังอีกหอหนึง แต่ละหาจะครอบคลุมพืนทีรับสัญญาณประมาณ 3050 กม. ระยะห่างของแต่ละหอคํานวณง่าย ๆ ได้จาก สู ตร d = 7.14 (1.33h)1/2 กม. เมือ d = ระยะห่างระหว่างหอ h = ความสูงของหอ
  • 12. 12 การส่งสัญญาณข้อมูลไมโครเวฟมักใช้กนในกรณี ทีการติดตังสายเคเบิลทําได้ไม่สะดวก เช่น ในเขตเมือง ั ใหญ่ ๆ หรื อในเขตทีป่ าเขา แต่ละสถานีไมโครเวฟจะติดตังจานส่ง-รับสัญญาณข้อมูล ซึงมี เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 ฟุต สัญญาณไมโครเวฟเป็ นคลืนย่านความถีสูง (2-10 จิกะเฮิรตซ์) เพือ ป้ องกันการแทรกหรื อรบกวนจากสัญญาณอืน ๆ แต่สญญาณอาจจะอ่อนลง หรื อหักเหได้ในทีมีอากาศ ั ร้อนจัด พายุหรื อฝน ดังนันการติดตังจาน ส่ง-รับสัญญาณจึงต้องให้หนหน้าของจานตรงกัน และหอยิงสูง ั ยิงส่งสัญญาณได้ไกล ปัจจุบนมีการใช้การส่งสัญญาณข้อมูลทางไมโครเวฟกันอย่างแพร่ หลาย สําหรับการสือสารข้อมูลใน ั ระยะทางไกล ๆ หรื อระหว่างอาคาร โดยเฉพาะในกรณี ทีไม่สะดวกทีจะใช้สายไฟเบอร์ออปติก หรื อการ สือสารดาวเทียม อีกทังไมโครเวฟยังมีราคาถูกกว่า และติดตังได้ง่ายกว่า และสามารถส่งข้อมูลได้คราวละ มาก ๆ ด้วย อย่างไรก็ตามปัจจัยสําคัญทีทําให้สือกลางไมโครเวฟเป็ นทีนิยม คือราคาทีถูกกว่า การสื อสารด้ วยดาวเทียม (Satellite Transmission) ทีจริ งดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้ านันเอง ซึงทําหน้าทีขยายและทบทวนสัญญาณ ข้อมูล รับและส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียม ทีอยูบนพืนโลก สถานีดาวเทียมภาคพืนจะทําการส่ง ่ สัญญาณข้อมูล ไปยังดาวเทียมซึงจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซึงมีตาแหน่งคงทีเมือเทียมกับ ตําแหน่ง ํ บนพืนโลก ดาวเทียมจะถูกส่งขึนไปให้ลอยอยูสูงจากพืนโลกประมาณ 23,300 กม. เครื องทบทวน ่ สัญญาณของดาวเทียม (Transponder) จะรับสัญญาณข้อมูลจากสถานีภาคพืนซึงมีกาลังอ่อนลงมากแล้วมา ํ ขยาย จากนันจะทําการทบทวนสัญญาณ และตรวจสอบตําแหน่งของสถานีปลายทาง แล้วจึงส่งสัญญาณ ข้อมูลไปด้วยความถีในอีกความถีหนึงลงไปยังสถานีปลายทาง การส่งสัญญาณข้อมูลขึนไปยังดาวเทียม เรี ยกว่า "สัญญาณอัปลิงก์" (Up-link) และการส่งสัญญาณข้อมูลกลับลงมายังพืนโลกเรี ยกว่า "สัญญาณ ดาวน์-ลิงก์ (Down-link) ลักษณะของการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็ นแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) หรื อแบบแพร่ สัญญาณ (Broadcast) สถานีดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเครื องทบทวนสัญญาณดาวเทียมได้ถึง 2 เครื อง และสามารถครอบคลุมพืนทีการส่งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3 ของพืนผิวโลก ดังนันถ้าจะส่งสัญญาณ ข้อมูลให้ได้รอบโลกสามารถทําได้โดยการส่งสัญญาณผ่านสถานีดาวเทียมเพียง 3 ดวงเท่านัน
  • 13. 13 ระหว่างสถานีดาวเทียม 2 ดวง ทีใช้ความถีของสัญญาณเท่ากันถ้าอยูใกล้กนเกินไปอาจจะทําให้ ่ ั เกิดการรบกวนสัญญาณ ซึงกันและกันได้ เพือหลีกเลียงการรบกวน หรื อชนกันของสัญญาณดาวเทียม จึง ได้มีการกําหนดมาตรฐานระยะห่างของสถานีดาวเทียม และย่านความถีของสัญญาณดังนี 1. ระยะห่างกัน 4 องศา (วัดมุมเทียงกับจุดศูนย์กลางของโลก) ให้ใช้ยานความถีของสัญญาณ 4/6 ่ จิกะเฮิรตซ์ หรื อย่าน C แบนด์โดยมีแบนด์วดท์ของสัญญาณอัป-ลิงก์เท่ากับ 5.925-6.425 จิกะ ิ เฮิรตซ์ และมีแบนด์วิดท์ของสัญญาณดาวน์-ลิงก์เท่ากับ 3.7-4.2 จิกะเฮิรตซ์ 2. ระยะห่างกัน 3 องศา ให้ใช้ยานความถีของสัญญาณ 12/14 จิกะเฮิรตซ์ หรื อย่าน KU ่ แบนด์ โดยมีแบนด์วดท์ของสัญญาณอัป-ลิงก์เท่ากับ 14.0-14.5 จิกะเฮิรตซ์ และมีแบนด์วิดท์ ิ ของสัญญาณดาวน์-ลิงก์เท่ากับ 11.7-12.2 จิกะเฮิรตซ์ นอกจากนีสภาพอากาศ เช่น ฝนหรื อพายุ ก็สามารถทําให้สญญาณผิดเพียนไปได้เช่นกัน ั สําหรับการส่งสัญญาณข้อมูลนันในแต่ละเครื องทบทวนสัญญาณจะมีแบนด์วิดท์ เท่ากับ 36 เมกะเฮิรตซ์ และมีอตราเร็ วการส่งข้อมูลสูงสุดเท่ากับ 50 เมกะบิตต่อวินาที ั ข้ อเสีย ของการส่งสัญญาณข้อมูลทางดาวเทียมคือ สัญญาณข้อมูลสามารถถูกรบกวนจาก สัญญาณภาคพืนอืน ๆ ได้ อีกทังยังมีเวลาประวิง(Delay Time) ในการส่งสัญญาณเนืองจากระยะทางขึนลง ของสัญญาณ และทีสําคัญคือ มีราคาสูงในการลงทุนทําให้ค่าบริ การสูงตามขึนมาเช่นกัน
  • 14. 14 พัฒนาการสื อสาร ธรรมชาติของมนุษย์ตองการอยูรวมกันเป็ นกลุ่มเพือดําเนินกิจกรรมต่างๆ ร่ วมกัน ทําให้มีการ ้ ่ ติดต่อสือสารระหว่างกัน ทํางานสร้างสรรค์สงคมเพือให้สงคมมีความเป็ นอยูทีดีขึน จากการดําเนินชีวิต ั ั ่ ร่ วมกันทังในด้านครอบครัว ด้านการทํางาน ตลอดจนสังคมและการเมืองทําให้ไม่สามารถหลีกเลียงการ พบปะ แลกเปลียนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันได้ เมือมนุษย์มีความจะเป็ นทีต้องมีการติดต่อสือสารระหว่าง กัน จึงมีการพัฒนาการหลายด้านทีตอบสนองเพือให้ใช้งานได้ตามความต้องการ เช่น 1.1 การสือสารด้ วยรหัส จากอดีตกาล การสือสารต้องอาศัยคน นําสาร มีการถือเอกสารจากบุคคลหนึงเดินทางส่งต่อให้กบ ั ผูรับปลายทาง ต่อมามีการสร้างรหัสเฉพาะเพือรับรู้กนเฉพาะ ้ ั ผูรับและผูส่ง จนเมือปี พ.ศ. 2379 แซมมวล มอร์ส (Samuel ้ ้ Morse) สามารถส่งรหัสข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วย คลืนวิทยุ เรี ยกว่ารหัส มอร์ส ซึงเป็ นรหัสทีใช้จุดและขีดเป็ นสัญลักษณ์ในการส่งวิทยุ ทําให้เกิดการสือสาร ระยะไกล และในเวลาต่อมาสามารถขยายผลไปใช้ในกิจกรรมวิทยุ และโทรทัศน์ นอกจากนีรหัส มอร์ส ยัง ใช้ในการสือสารด้วยโทรเลขเป็ นระยะเวลานาน เครืองเคาะรหัส 1.2 การสือสารด้ วยสายตัวนํา ในปี พ.ศ. 2419 อเล็กซานเดอร์ แกรแฮม เบล (Alexander Graham Bell) ได้ประดิษฐ์ โทรศัพท์เพือการสือสารด้วยเสียงผ่ายทาง สายตัวนําทองแดง พัฒนาการเทคโนโลยีนีได้กาวหน้าขึนเป็ นลําดับ จากเริ มต้น ้ ใช้การสลับสารด้วยคน ต่อมาใช้ระบบการสลับสายแบบอัตโนมัติ ได้พฒนาและ ั ใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ปัจจุบนโครงข่ายตัวนําทีใช้ในระบบโทรศัพท์เป็ น ั โครงข่ายดิจิทลจึงทําให้การส่งข้อมูลสามารถใช้ร่วมกับแบบอืนร่ วมได้ ั 1.3 การสือสารโดยใช้ คอมพิวเตอร์ การพัฒนาการทางด้านคอมพิวเตอร์เริ มจากมี การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (centralized processing) เช่น ใช้เครื องมินิคอมพิวเตอร์ หรื อเครื องเมนแฟรม เป็ นเครื องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (host) โดยเป็ นศูนย์กลางให้ผใช้ใช้งานได้หลายคนพร้อมกัน แต่ละคน ู้
  • 15. 15 เปรี ยบเสมือนเป็ นสถานีปลายทางทีเรี ยกใช้ทรัพยากร หรื อการคํานวณจากศูนย์กลางและให้ คอมพิวเตอร์ ตอบสนองต่อการทํางานนัน โทรศัพท์ ในยุคแรก ต่อมาเมือมีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ทีทําให้สะดวกต่อการ ใช้งานส่วนบุคคล จนเรี ยกเครื องไมโครคอมพิวเตอร์ว่า พีซี (Personal Computer : PC) การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์แพร่ หลายอย่างรวดเร็ ว เพราะใช้งานง่าย ราคาไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ง่าย เมือมีการใช้ งานกันมากบริ ษทผูผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆ ก็ปรับปรุ งและพัฒนา ั ้ เทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการทีสามารถทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มเครื อข่ายคอมพิวเตอร์จึงเป็ นวิธีการ หนึงและกําลังได้รับความนิยมสูงมาก โดยเฉพาะเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเพราะสามารถตอบสนองได้ตรงตาม ความต้องการในการติดต่อสือสารข้อมูลระหว่างกันได้สะดวกและมีการประยุกต์ใช้งานได้กว้างขวาง เช่น การใช้ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ การโอนย้ายแฟ้ มข้อมูล การสืบค้นและเรี ยกดูข่าว ผ่านระบบเว็บ การพูดคุย ์ และส่งข้อความถึงกัน เป็ นต้น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (electronic mail) 1.4 การสือสารโดยใช้ ดาวเทียม ดาวเทียมได้รับการส่งให้โคจรรอบโลก โดยมีเครื องถ่ายทอดสัญญาณติดไปด้วยการเคลือนทีของ ดาวเทียมที เคลือนไปพร้อมกับการหมุนของโลกทําให้คนบนพืนโลกเห็นดาวเทียม อยูคงที การสือสารผ่านดาวเทียมทําได้โดยสถานีภาคพืนดินทีต้องการ ่ สือสารจะส่งข้อมูลมาทีดาวเทียม และดาวก็จะส่งข้องมูลต่อไปยังสถานี ภาคพืนดินปลายทางแห่งหนึงหรื อหลายแห่งก็ได้ การับสัญญาณจะครอบคลุมพืนทีทีดาวเทียมโคจรอยูซึงจะ ่ มีบริ เวณกว้างมากทําให้ไม่มีอุปสรรคทางด้านภูมิศาสตร์และเหมาะกับพืนทีทีไม่สามารถติดตังสายได้ เช่น แนวเขาบังสัญญาณ หรื อเกาะทีอยูกลางทะเล เป็ นต้น ่
  • 16. 16 สถานีภาคพืนดินปลายทาง 1.5 การสือสารด้ วยระบบไร้ สาย การสือสารผ่ายโทรศัพท์เคลือนที กําลังได้รับความ นิยมเพราะโทรศัพท์แบบ เคลือนทีมีความสะดวก คล่องตัว การสือสารแบบนีใช้ คลืนสัญญาณวิทยุ โดยผูใช้จะติดต่อกับศูนย์กลางสถานีรับส่ง การสือสารวิธีนีมีการ ้ วางเป็ นเซลครอบพืนทีต่างๆ ไว้ จึงเรี ยกระบบโทรศัพท์ไร้สายแบบนีว่า เซลลูลาร์โฟน (cellular phone) พัฒนาการของระบบไร้สายยังได้รับการนํามาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ อีกหลายอย่าง เช่น ในระบบเครื อข่าย คอมพิวเตอร์หรื อทีเรี ยกว่า แลนไร้สาย และระบบการส่งข้อความ (paging) เป็ นต้น โทรศัพท์ เคลือนที เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนืองจากเครื องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ เช่น เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ พัฒนามาเป็ นไมโครคอมพิวเตอร์ทีมีขนาด เล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึน ไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับการพัฒนาให้มี ขีดความสามารถและทํางานได้มากขึน จนกระทังคอมพิวเตอร์สามารถทํางาน ร่ วมกันเป็ นกลุ่มได้ ดังนันจึงมีการพัฒนาให้ คอมพิวเตอร์ทางานในรู ปแบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ํ ในอดีตเครื อขายคอมพิวเตอร์คือการนําเอาเครื องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มาเป็ นสถานีบริ การหรื อที เรี ยกว่า เครื องให้บริ การ (server) และตัวไมโครคอมพิวเตอร์ตามหน่วยงานต่างๆ เป็ นเครื องใช้บริ การ (client) โดยมี เครื อข่าย (merwork) เป็ นเส้นทางเชือมโยงคอมพิวเตอร์จากจุดต่างๆ ปัจจุบนเครื อข่าย ั คอมพิวเตอร์คือการเชือมโยงคอมพิวเตอร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน เพือใช้ประโยชน์จากทรัพยากรต่างๆ ร่ วมกันให้ เกิดประโยชน์สูงสุด
  • 17. 17 เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทวีความสําคัญและได้รับความนิยมมากขึน เพราะสามารถสร้างระบบ คอมพิวเตอร์ให้ เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท ในธุรกิจขนาดเล็กทีไม่มความสามารถในการลงทุนซือ ี เครื องคอมพิวเตอร์ทีมีราคาสูง เช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื องต่อ เชือมโยงกันเป็ นเครื อข่าย พัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื องหนึง เป็ นสถานีบริ การทีทําให้ใช้งานข้อมูล ร่ วมกันได้ เมือกิจการเจริ ญก้าวหน้าขึน ก็ สามารถขยายเครื อข่ายการใช้ คอมพิวเตอร์ โดยเพิ มจํานวนเครื อง หรื อ ขยายความจุขอมูลให้พอเหมาะกับองค์กร ้ ได้ ในปัจจุบนองค์กรขนาดใหญ่สามารถ ั ลดการลงทุนได้โดยใช้เครื อข่าย คอมพิวเตอร์ เชือมโยงจาก ไมโครคอมพิวเตอร์กลุ่มเล็กๆ หลายๆ กลุ่ม รวมกันเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กรได้ โดยสภาพการใช้ขอมูลสามารทําได้ดีเหมือนเช่นในอดีตที ้ ต้องลงทุนเป็ นจํานวนมากเครื อข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาททีสําคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี 1. ทําให้เกิดการทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มและสามารถทํางานพร้อมกัน 2. สามารถใช้ขอมูลต่างๆ ร่ วมกัน ทําให้องค์กรได้รับประโยชน์มากขึน ้ 3. สามารถใช้ทรัพยากรร่ วมกันได้คุมค่า เช่น ใช้เครื องประมวลผลร่ วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้ มข้อมูลให้ ้ เครื องพิมพ์ และอุปกรณ์ทีมีราคาแพงร่ วมกัน 4. ทําให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้
  • 19. 19