SlideShare a Scribd company logo
1 

 


                                            ใบความรูที่ 1
                                       เรื่อง คอมพิวเตอร

         คอมพิวเตอรเปนอุปกรณที่ใชในการประมวลผลขอมูลที่มีความสามารถหลายอยางซึ่งชวยอํานวย
ความสะดวกในการทํางาน เชน คิดคํานวณตัวเลขจํานวนมากไดอยางรวดเร็วและแมนยํา เก็บขอมูลได
จํานวนมาก เมื่อจัดเก็บแลวสามารถเรียกคนหรือคัดแยกไดถูกตองรวดเร็ว ความสามารถตางๆ เหลานี้ขึ้นอยู
กับชุด คําสั่งหรื อโปรแกรม (Software) อุ ปกรณภ ายในคอมพิวเตอร และอุปกรณเชื่อมตอภายนอก
(Hardware)




                                  ชุดคําสั่งหรือโปรแกรม (software) 




                     เครื่องคอมพิวเตอร และอุปกรณเชื่อมตอภายนอก (Hardware) 
2 

 

       1. หลักการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร

        คอมพิวเตอรทํางานอยางเปนระบบโดยมีสวนประกอบพื้นฐานที่สําคัญ 5 หนวย ดังนี้




                          แผนภาพสวนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร


1.1 หนวยรับเขา (input unit) ทําหนาที่นําขอมูลหรือโปรแกรมเขาไปเก็บไวในหนวยความจําและใชในการ
ประมวลผล อุปกรณที่ทําหนาที่เปนหนวยรับเขามีหลายชนิด ดังนี้

         1 ) แผงแปนอักขระ (Keyboard) เปนอุปกรณที่รับขอมูลจากการกด
แป น บนแผงแป น อั ก ขระ แล ว ส ง รหั ส ให กั บ คอมพิ ว เตอร แผงแป น อั ก ขระ
มาตรฐานที่ใชกันในปจจุบันมีชนิดที่มีสายเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรและชนิดไร
สาย มีจํานวนแปนทั้งหมด 104 แปน โดยแผงแปนอักขระที่ใชในประเทศไทย
สามารถพิมพอักขระภาษาไทยได และแผงแปนอักขระบางรุนสามารถนําขอมูลจากหนวยความจําแบบ
แฟลชไดดวย

          2) เมาส (Mouse) มีหลายขนาดและมีรูปรางแตกตางกันไป ที่นิยมใชมีขนาดเทากับฝามือ มีลูกกลม
กลิ้งอยูดานลาง สวนดานบนจะมีปุมใหกดจํานวนสอง สาม หรือสี่ปุมแตที่นิยมใชกันมากคือสองปุม ใชสง
ขอมูลเขาสูหนวยความจําหลักโดยการเลื่อนเมาสใหลูกกลมดานลางหมุน เพื่อเปนการเลื่อน ตัวชี้ตําแหนง
(cursor) บนจอภาพไปยังตําแหนงที่ตองการบนจอภาพ ทําใหการโตตอบระหวางผูใชกับเครื่องคอมพิวเตอร
ทําใหรวดเร็วกวาแปนพิมพ ผูใชอาจใชเมาสวาดรูป เลือกทางเลือกจากเมนู และเปลี่ยนแปลงหรือยาย
3 

 




                                                  1.เมาสแบบลูกกลิ้ง ชนิดตัวเมาสเคลื่อนที่
                                                  (Ball Mouse) อาศัยกําหนดจุด X และ Y โดยกลิ้งลูก
                                                  ยางทรงกลมไปบนพื้นเรียบ(นิยมใชแผนยางรอง เพื่อ
                                                  ปองกันการลืน)
                                                              ่

                                                  2. เมาสแบบลูกกลิ้ง ชนิดตัวเมาสอยูกับที่ (Track
                                                  Ball) อาศัยลูกยางทรงกลมที่ถูกกลิ้งโดยนิ้วมือผูใช
                                                  โดยทั่วไปมักใชกับเครื่องคอมพิวเตอรขนาดเล็กหรือ
                                                  ในบริเวณที่มีเนื้อที่จํากัด ซึ่งไมสะดวกที่จะใชเมาส
                                                  แ บ บ เ ค ลื่ อ น ที่ เ ช น ติ ด ตั้ ง บ น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร
                                                  โนตบุค (Notebook Computer) หรือ คอมพิวเตอร
                                                  แลปทอป (Laptop Computer) เปนตน

                                                  3. เมาสแบบแสง (Optical Mouse) มีลักษณะการใช
                                                  งานเชนเดียวกับ Ball Mouse แตอาศัยแสงแทน
                                                  ลูกกลิ้งในการกําหนดจุดตัด โดยแสงจากตัวเมาสพุง
                                                  ลงสูพื้นแลวสะทอนกลับขึ้นสูตัวรับแสงบนตัวเมาส
                                                  อีกครั้ง (แผนรองเปนแบบสะทอนแสง)




         3) ปากกาแสง(light pen) เปนอุปกรณที่ใชสัมผัสกับจอภาพ เพื่อใชชี้ตําแหนงและวาดขอมูล
ปากกาแสงนิยมใชกับงานดานการออกแบบอุปกรณ เชน ไมโครโปรเซสเซอร และชิ้นสวนของเครื่องบิน
คอมพิวเตอรพกพาขนาดเล็ก และเครื่องอานพิกัด โดยเมื่อแตะปากกาที่จอภาพ ขอมูลจะถูกสงไปยังเครื่อง
คอมพิวเตอร ทําใหคอมพิวเตอรสามารถรับรูตําแหนงที่ชี้และทําตามคําสั่งได ในปจจุบันปากกาแสงมีทั้ง
ชนิดที่มีสายเชื่อมตอกับเครื่องคอมพิวเตอร และชนิดไรสายใหเลือกใชตามความตองการ
4 

 




                              การใชปากกาแสงรวมกับเครื่องอานพิกัด




                                         4) กานควบคุม (Joystick) จอยสติก จะเปนกานสําหรับใชโยก
                                ขึ้นลง / ซายขวา เพื่อยายตําแหนงของตัวชี้ตําแหนงบนจอภาพ มี
                                หลักการทํางานเชนเดียวกับเมาส แตจะมีแปนกดเพิ่มเติมมาจํานวนหนึ่ง
                                สําหรับสั่งงานพิเศษ นิยมใชกับการเลนเกมสคอมพิวเตอรหรือควบคุม
                                หุนยนต
          กานควบคุม




         5) เครื่องกราดตรวจ (Scanner) เปนอุปกรณนําเขาขอมูลประเภทที่สะดวกในการปอนเขาเครื่อง
คอมพิวเตอรทางคียบอรดได เชน ภาพโลโก วิวทิวทัศน ภาพถายรูปคน สัตว ฯลฯ หนวยประมวลผลจะนํา
ขอมูลที่ไดรับมานั้นแสดงเปนภาพใหปรากฏอยูบนจอภาพ เพื่อนํามาแกไขสี รูปราง ตัดแตง และนําภาพไป
ประกอบงานพิมพอื่นๆ ได การทํางานของสแกนเนอรอาศัยหลักของการสะทอนแสง โดยเมื่อเราวางภาพลง
ไปในสแกนเนอร ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะวิธีการใชงานของสแกนเนอรแตละแบบวาจะใสภาพเขาไปอยางไร
สแกนเนอรจะทําการฉายแสงไปกระทบกับวัตถุใหสะทอนไปตกบนตัวรับแสงทีละแถว ขอมูลในแถวนั้นๆ
ก็จะถูกแปลงเปนจุดเล็กๆ ในลักษณะสัญญาณดิจิตัลเขาไปเก็บในหนวยความจํา สแกนเนอรแบงเปน 3
ประเภทหลักๆ คือ
5 

 



                                                                 1. สแกนเนอรมือถือ (Hand-Held Scanner) มี
                                                              ขนาดเล็ก ราคาไมแพงนัก เก็บภาพขนาดเล็กๆ ซึ่งไม
                                                              ตองการความละเอียด มากนักได เชน โลโก ลายเซ็น
                                                              เปนตน 

                                                                  2. สแกนเนอรดึงกระดาษ (Sheet-Fed Scanner)
                                                              เปนสแกนเนอรที่ใหญกวาสแกนเนอรมือถือ ใช
                                                              หลักการดึงกระดาษขึ้นมาสแกนทีละแผน แตมี
                                                              ขอจํากัดคือถาตองการสแกนภาพจากหนังสือที่เปน
                                                              รูปเลม ตองฉีกกระดาษออกมาทีละแผน ทําใหไม
                                                              สะดวกในการสแกน คุณภาพที่ไดจากสแกนเนอร
                                                              ประเภทนี้อยูในระดับปานกลาง

                                                               3. สแกนเนอรแทนเรียบ (Flatbed Scanner) เปน
                                                              สแกนเนอร ที่ มี ก ระจกใสไว สํ า หรั บ วางภาพที่ จ ะ
                                                              สแกน เหมือนเครื่องถายเอกสาร คุณภาพของงาน
                                                              สแกนประเภทนี้จะดีกวาสแกนเนอรแบบมือถือ หรือ
                                                              สแกนเนอรแบบดึงกระดาษ แตราคาสูงกวาเชนกัน



                                             6) จอสัมผัส(touch screen) จอภาพแบบสัมผัส เปนจอภาพ
                                  ชนิ ด พิ เ ศษที่ ใ ห ผู ใ ช ง านใชนิ้ ว สั ม ผั ส บนจอภาพเพื่ อป อนขอ มูล เข า สู
                                  ระบบแทนที่จะใชการพิมพทางแปนพิมพ หรือสั่งงาน ดวยการคลิกเมาส
                                  การใช ง านระบบจอภาพสั ม ผั ส ผู ใ ช จ ะต อ งสั ม ผั ส จอภาพที่ อ าจเป น
                                  ขอความตัวเลข หรือสัญลักษณตําแหนง จากนั้นโปรแกรมจะทําหนาที่
                                  แปลงเปนสัญญาณเขาสูระบบคอมพิวเตอร จอภาพสัมผัสไมนิยมใชกับ
                                  งานที่ตองปอนขอมูลจํานวนมากเขาสูระบบสวนใหญนิยมใชกับงาน
                                  เฉพาะอยางที่ใหผูใชเลือกจากรายการที่กําหนดไว เชนการใหขอมูล
แหลงทองเที่ยว ที่พัก รานอาหารจานดวน สถานีบริการน้ํามัน ตูเกมตามศูนยการคา เปนตน
6 

 

        1.2 หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU )
ทําหนา ที่คิ ด คํ า นวณหรื อประมวลผลข อ มูล โดยอา นข อมู ลต า งๆ จาก
หนวยรับเขา แลวเก็บไวที่หนวยความจําหลัก หลังจากนั้นจะอานคําสั่ง
จากหน ว ยความจํ า หลั ก เพื่ อ นํ า มาตี ค วามหมายและกระทํ า ตามอย า ง
รวดเร็ว ซึ่งในปจจุบันมีการผลิตวงจรหนวยประมวลผลกลางทั้งวงจรไว
ในซิปเพียงตัวเดียว เรียกวา ไมโครโพรเซสเซอร

      หนวยประมวลผลกลางแบงออกเปน 2 หนวย ดังนี้              ไมโครโพรเซสเซอร
      1) หนวยควบคุม (Control Unit : CU)
      2) หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit: ALU) ทําหนาที่นําขอมูลซึ่งเปน
สัญญาณไฟฟาแบบตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทางคณิตศาสตรและตรรกศาสตร

        1.3 หนวยความจําหลัก (main memory unit )เปนอุปกรณที่ใชในการจําจดขอมูลและโปรแกรม
ตาง ๆ ที่อยูระหวางการประมวลผลของคอมพิวเตอร บางครั้งอาจเรียกวา หนวยเก็บขอมูลหลัก (Primary
Storage)หนวยความจําหลักที่นิยมใชงานอยูในปจจุบันสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท
        1) แรม (Random Access Memory : RAM) ทําหนาที่เก็บขอมูลและโปรแกรมตางๆ ที่เกิดขึ้น
ขณะใชเครื่องคอมพิวเตอร ถาไฟฟาดับขณะใชงานหรือคอมพิวเตอรถูกปดลงโดยไมไดบันทึกขอมูลไว
ขอมูลจะสูญหายทันที
        2) รอม (Read Only Memory : ROM) เปนหนวยความจําแบบอานไดอยางเดียว ทําหนาที่อาน
ขอมูล และนําขอมูลที่บันทึกไวในหนวยความจํารอมมาใชงานได แตไมสามารถแกไขขอมูลได




                                              แผงวงจรแรม
7 

 

         1.4 หนวยความจํารอง (secondary memory unit ) ทําหนาที่เก็บขอมูลหรือโปรแกรมในขณะ
ทํางานไวใชงานตอจากหนวยความจําหลัก และสามารถสงถายขอมูลไปยังหนวยความจําหลักประเภทแรม
เพื่อใหหนวยประมวลผลทํางานได
         อุปกรณที่เปนหนวยความจํารองมีหลายประเภท ดังนี้
                                     1) แผนฟลอปปดิสก (floppy disk หรือ diskette) หรือ ดิสกเกต
                             แมเหล็กที่ประกอบดวย Polyester Film Disk เคลือบดวย Iron Oxide
                             Compound แผนดิสกหมุนรอบโดยอิสระภายใน Protective Flexible หรือ
                             ปลอกพลาสติกแพรหลายมากที่สุด นอกจากนี้มีเทคโนโลยีรุนใหม LS-120 ที่
มีหนวยในการจัดเก็บ 120 เมกะไบต ซึ่งในปจจุบันไมนิยมใชกันเนื่องจากความสะดวกของ flash drive

         2) ฮารดดิสก (harddisk) เปนที่สําหรับเก็บขอมูลขนาดใหญ มีความจุสูงถึงหนวยเมกะไบต จนถึง
กิกะไบต และมีความเร็วสูงในการทํางาน และ การสงผานขอมูลมากกวา
Secondary Storage ทั่วไป ซึ่ง Harddisk จะประกอบไปดวยจาน Disk หรือที่
เรียกวา Platters หลายๆ แผนมารวมกัน ซึ่งแตละดานของ Plalter จะถูกปก
คลุมไปดวยสารประกอบ Oxide เพื่อใหสามารถบันทึกขอมูลได Hard Disk
สวนมากจะอยูภายในเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งไมสะดวกในการเคลื่อนยาย บางที
ถูกเรียกวา Fixed Disk

         3) เทปแมเหล็ก (magnetic tape) เปนอุปกรณที่มีลักษณะ
เป น แถบสายพลาสติ ก เคลื อ บด ว ยสารแม เ หล็ ก เหมื อ นเทป
บันทึกเสียงเก็บขอมูลไดจํานวนมาก และเรียกคนขอมูลแบบเปน
ลําดับ ใชสําหรับสํารองขอมูล และปองกันการเสียหายของขอมูล
ที่ใชงานอยู นอกจากนี้เทปแมเหล็กยังมีประโยชนในการถายโอน
ขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่งไดงาย

        4) ออพติคัลดิสก (optical disk) เปนอุปกรณที่ถูกพัฒนาใหมีความจุมากยิ่งขึ้น ไดแก ซีดี-รอม
(Compact Disk Read Only Memory, CDROM) วอรม (Write Once Read Many, WORM) และแมคนิโต
ออปติคัลดิสก (Magneto-optical disk, MO) ออพติคัลดิสกหรือสื่อแสง คือ สื่อที่บันทึกและอานขอมูลดวย
แสงเลเซอร ตัวอยางของสื่อแสงที่เห็นกันอยูทั่วไปขณะนี้ ไดแก แผนเพลง CD แผน CD-ROM และแผน
DVD ซึ่งกําลังเปนสื่อที่ไดรับความนิยมใชกันมากในวงการสื่อประสม ประเภทของสื่อแสงที่ใชในการ
บันทึกขอมูลแบงออกเปน
8 

 

        ชนิดของออพติคัลดิสก
        1) สื่อที่อานอยางเดียวโดยการบันทึกครั้งเดียวแตอานไดหลายครั้ง เชน CD-ROM , CD-R , DVD-
        R และ DVD + R
        2) สื่อที่ใหผูใชบันทึกขอมูลไดเองหลายครั้งจนกวาจะเต็มแผนและอานไดหลายครั้งเชน CD-RW ,
        DVD + RW , DVD-RW และ DVD-RAM

        5) หนวยความจําแบบแฟลช เปนหนวยความจําประเภทที่เรียกวา อีอีพรอม (Electrically Erasable
Programmable Read-Only Memory : EEPROM ) สามารถเก็บขอมูลไดเหมือนฮารดดิสก ลบ และโอนถาย
ขอมูลไดอยางรวดเร็ว มีความจุมาก ตั้งแต 512 เมกะไบต (megabyte) ขึ้นไป มีชื่อทางการคาหลายชื่อ เชน
แฮนดรีไดรฟ เมมโมรีสติ๊ก แฟลชไดรฟ เปนตน

       1.5 หนวยสงออก (output unit ) ทําหนาที่นําขอมูลที่ประมวลผลแลวมาแสดงผลโดยผานอุปกรณ
คอมพิวเตอร หรือเก็บไวในหนวยความจํารอง
       1) จอภาพ (monitor) มีลักษณะเปน จอภาพเหมือนจอโทรทัศน ทั่วไปเรียกวา ซีอารที การสงออก
ของขอมูล จะปรากฏบนจอภาพ ซึ่งแสดงได ทั้งตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายพิเศษ และยังสามารถ แสดง
รูปภาพไดดวย การแสดงผล บนจอภาพ จะแสดงดวยจุดเล็กๆตามแนวนอนและแนวตั้งแตเ ดิมจอภาพ
แสดงผลไดเพียง สีเดียว พัฒนาการ ตอมาทําให การแสดงผล เปนสีหลายสีได นอกจากนี้ ยังมีความละเอียด
                   มากขึ้น เชน จอภาพที่ใชกับคอมพิวเตอร ในปจจุบัน แสดงผล ในภาวะกราฟก ไดอยาง
                   นอย ในแนวนอน 640 จุด ในแนวตั้ง 480 จุด และแสดงสี ไดอยางนอย 16 สี ถึง 256 สี
                   สําหรับการ แสดงผลเปน ตัวอักษร ในภาวะปกติ สามารถ แสดงผลได 25 บรรทัด
                   บรรทัดละ 80 ตัวอักษรขนาดของ จอภาพจะวัดความยาว ตามเสนทะแยงมุม จอภาพ
                   โดยทั่วไป จะมีขนาด 14 นิ้ว หรือ17 นิ้ว การแสดงผล ของจอภาพ ควบคุมโดย
แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส ซึ่งอยูภายใน เครื่องคอมพิวเตอร

         2) เครื่องพิมพ (printer) เปนอุปกรณสงออกที่แสดงผลภาพและขอความบนกระดาษ เครื่องพิมพมี
หลายประเภท ดังนี้
                   2.1 ) เครื่องพิมพแบบจุด (Dot Matrix Printer) เปน
เครื่องพิมพที่มีหัวยิงเปนเข็มขนาดเล็กพุงไปชนแผนผาหมึก เพื่อใหหมึก
ติดบนกระดาษเปนจุดเล็กๆ หลายๆ จุดเรียงกันเปนตัวหนังสือ หรือรูปภาพ
ที่มีความละเอียดพอสมควร

                                                                               เครื่องพิมพแบบจุด
9 

 

                 2.2) เครื่องพิมพแบบพนหมึก (Ink-Jet Printer)
เปนเครื่องพิมพที่ใชวิธีพนหมึกเพื่อใหติดกระดาษโดยพนหมึกสีดํา
หรือ ผสมจากแมสี คือ แดง เหลือง และน้ําเงิน ใหไดสีตามตองการ
แลวจึงพนออกมาบนกระดาษ
                                                                           เครื่องพิมพแบบพนหมึก

                 2.3) เครื่องพิมพเลเซอร (Laser Printer) เปนเครื่องพิมพที่ใชหลักการทางแสง งานที่พิมพ
ดวยเครื่องพิมพประเภทนี้จะมีความคมชัด มีความละเอียดสูง และหมึกจะไมเลอะเทอะ จึงเหมาะสําหรับการ
ใชงานในสํานักงาน แตไมสามารถพิมพสําเนากระดาษคารบอนได




                                  เครื่องพิมพเลเซอร (Laser Printer)


                 2.3)     เครื่องพิมพรายบรรทัด (Line
Printer) เปนเครื่องพิมพที่มีความเร็วมาก ลักษณะการ
พิมพมีทั้งแบบพิมพดวยแถบโซตัวอักษรที่หมุนอยู มีคัน
แตะตัวอักษรในตําแหนงที่กําหนด และแบบหัวยิงแบบ
จุด เครื่องพิมพชนิดนี้เหมาะสําหรับศูนยคอมพิวเตอรที่
ตองพิมพเอกสารเปนจํานวนมาก

                                                                             เครื่องพิมพรายบรรทัด


                                3) ลําโพง(speaker) เปนอุปกรณที่ชวยใหไดยินเสียงจากเครื่อง
                        คอมพิวเตอร โดยทําหนาที่แปลงสัญญาณไฟฟาใหกลายเปนสัญญาณเสียง แลวเดิน
                        ผานอากาศมาสูหูของเรา


        ลําโพง
10 

 



         2. บทบาทของคอมพิวเตอร

             2.1 คอมพิวเตอรชวยอํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวัน เชน ใชพิมพเอกสารรายงานตางๆ
ได เมื่อเชื่อมตอเครือขายอินเตอรเน็ต สามารถสํารองที่นั่งในการชมคอนเสิรต สํารองที่นั่งในโรงภาพยนตร
สํารองที่นั่งบนเครื่องบินโดยสาร หรือฝากถอนเงินผานเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ซึ่งการควบคุม
การทํางานดวยคอมพิวเตอร เปนตน
             2.2 คอมพิวเตอรชวยตอบสนองความตองการเฉพาะบุคคล เชน ใชคอมพิวเตอรชมภาพยนตร
ฟงเพลง เลมเกม สงจดหมายอิเล็กทรอนิกสหรืออีเมล (E-mail) สนทนาบนเครือขายอินเทอรเน็ตหรือแชต
(chat) สืบคนขอมูล แลกเปลี่ยนขาวสารขอมูลความรูผานกระดานสนทนา หรือ เว็บบอรด (Webboard)
ตรวจผลสอบในเว็บไซตผานเครือขายอินเทอรเน็ต เปนตน
             2.3 คอมพิวเตอรชวยตอบสนองความตองการของสังคม เชน ประชาชนมีสวนรวมในการดูแล
ความสงบเรียบรอยของสังคม ดวยการแจงเหตุที่พบเห็นเกี่ยวกับการคาหรือเสพยาเสพติด ในเว็บไซตบน
เครือขายอินเทอรเน็ต และสามารถเผยแพรขอมูลซึ่งเปนเหตุดวนเหตุรายใหคนในสังคมไดรับทราบ ผาน
ทางระบบเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อชวยกันปองกันและแกไขปญหา


          3. ประโยชนของคอมพิวเตอร
        คอมพิวเตอรมีประโยชนอยางมากในดานตางๆ ตอไปนี้
         3.1 การแกปญหา เชน คํานวณตัวเลขโดยใชสูตรแทนคาในเซลลของโปรแกรม Microsoft Excel
การเขียนโปรแกรมเพื่อแกปญหาการทํางานคอมพิวเตอรและปญหาทางคณิตศาสตร การแกปญหาเกม
คอมพิวเตอร การจัดการฐานขอมูลใหเปนระเบียบเรียบรอยโดยใช Microsoft Excel

          3.2 การสรางงาน เชน งานนําเสนอ และงานออกแบบหลายรูปแบบ โดยอาศัยซอฟตแวรหรือ
โปรแกรมประยุกตตางๆ ดังนี้
               1) Microsoft Word ใชสรางเอกสาร หนังสือเวียน รายงาน บัตรอวยพร ปายประกาศ
และเอกสารแนะนําชิ้นงาน
               2) Microsoft Excel ใชในการคํานวณตัวเลข วางแผน วิเคราะหขอมูล สรางกราฟ
แผนภูมิ ตาราง สรุปผลขอมูล โดยกอนสรางกราฟและแผนภูมิ ตองมีขอมูลกอนเสมอ
               3) Microsoft PowerPoint ใชสรางงานนําเสนอประเภทภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และมี
เสียงประกอบ
11 

 

                4) โปรแกรมโปรเดสทอป (Pro/DESKTOP) , โปรแกรม AutoCAD ใชออกแบบและ
สรางชิ้นงานจําลองแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ




                            การใชโปรแกรม AutoCAD สรางชิ้นงานจําลองแบบ 3 มิติ


        3.3 การสรางความบันเทิง เชน การชมภาพยนตร ฟงเพลง และเลนเกมคอมพิวเตอรโดยใช
โปรแกรมประยุกตตางๆ และเครือขายอินเตอรเน็ต

            3.4 การติดตอสื่อสาร มี 2 วิธี ไดแก การเชื่อมตอกับเครือขายอินทราเน็ต (intranet) ภายใน
หนวยงานหรือองคกร เพื่อติดตอสื่อสารกับเพื่อนรวมงานและใชขอมูลในการทํางานรวมกัน และการ
เชื่อมตอเครือขายอินเทอรเน็ต (internet) เพื่อติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่น ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ
ซึ่งการติดตอสื่อสารผานเครือขายอินเทอรเน็ตมีหลายวิธี ดังนี้
                  1) ไปรษณียหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส หรืออีเมล (E Mail หรือ Electronics Mail)
                  2) การสนทนาบนเครือขาย หรือแชต (Chat)
                  3) การฝากขอความสั้นๆ ไวบนเว็บไซตทใหบริการ เชน http://www.hi5.com
                                                           ี่
http://www.facebook.com http://twitter.com เปนตน

            3.5 การคนหาขอมูล แบงออกเปน 3 วิธี ดังนี้
                 1) การคนหาขอมูลที่มีในเครื่องคอมพิวเตอร เปนขอมูลที่สามารถคนหาไดจะถูกเก็บบันทึก
ไวในเครื่องคอมพิวเตอร การคนหาขอมูลในลักษณะนี้จะพบไดจากการคนหาขอมูลในหองสมุด ประวัติ
ผูปวยในโรงพยาบาล ประวัติครูและนักเรียน ประชากรในทะเบียนราษฎร ประวัติลูกคาของธนาคาร การ
คนหาขอมูลความรูที่บันทึกไวในคอมพิวเตอร
12 

 

                2) การคนหาขอมูลในสื่อบันทึกขอมูลตางๆ เชน แผนบันทึก หนวยความจําแฟลช ซีดีรอม
                3) การคนหาขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ตโดยการคนหาขอมูลความรูผานเว็บไซตของ
ไทยและตางประเทศ เมื่อเขาไปยังเว็บไซตที่มีบริการคนหาขอมูล จะตองพิมพคําคน หรือคําสําคัญของเรื่อง
ที่ตองการคนหาลงในชองที่แตละเว็บไซตกําหนด แลวคลิกปุมคนหา ดังตัวอยาง




                   การคนหาขอมูลบนเว็บไซตของไทย ของ http://www.google.com 

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Krit Krit
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
Rachabodin Suwannakanthi
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์Guntima Pisaidsin
 
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงNattapon
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
Jintana Pandoung
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
Rachabodin Suwannakanthi
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Radompon.com
 
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์Chatree MChatree
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์Guntima Pisaidsin
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
kruchanon2555
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 

What's hot (17)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
 
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
1.3 ทักษะการใช้เมาส์และแป้นพิมพ์
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
CMTA research STAR initiative
CMTA research STAR initiativeCMTA research STAR initiative
CMTA research STAR initiative
Melinda Lang
 
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
เรื่อง  หลักการนำเสนองานเรื่อง  หลักการนำเสนองาน
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
Praphaphun Kaewmuan
 
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
เรื่อง  หลักการนำเสนองานเรื่อง  หลักการนำเสนองาน
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
Praphaphun Kaewmuan
 
Computer1
Computer1Computer1
ใบความรู้1
ใบความรู้1ใบความรู้1
ใบความรู้1
Praphaphun Kaewmuan
 
BillWalshCommunity.com_AAA Cell Phones And Driving Research Update
BillWalshCommunity.com_AAA Cell Phones And Driving Research UpdateBillWalshCommunity.com_AAA Cell Phones And Driving Research Update
BillWalshCommunity.com_AAA Cell Phones And Driving Research Update
BillWalsh Honda
 
S T A R P P T V2.0+With+Notes
S T A R  P P T V2.0+With+NotesS T A R  P P T V2.0+With+Notes
S T A R P P T V2.0+With+Notes
Melinda Lang
 
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานPraphaphun Kaewmuan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Praphaphun Kaewmuan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Praphaphun Kaewmuan
 
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Praphaphun Kaewmuan
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
Praphaphun Kaewmuan
 

Viewers also liked (18)

ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Mycomputer1
Mycomputer1Mycomputer1
Mycomputer1
 
CMTA research STAR initiative
CMTA research STAR initiativeCMTA research STAR initiative
CMTA research STAR initiative
 
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
เรื่อง  หลักการนำเสนองานเรื่อง  หลักการนำเสนองาน
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
 
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
เรื่อง  หลักการนำเสนองานเรื่อง  หลักการนำเสนองาน
เรื่อง หลักการนำเสนองาน
 
Dataandit
DataanditDataandit
Dataandit
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
ใบความรู้1
ใบความรู้1ใบความรู้1
ใบความรู้1
 
Hanfbookflash8
Hanfbookflash8Hanfbookflash8
Hanfbookflash8
 
BillWalshCommunity.com_AAA Cell Phones And Driving Research Update
BillWalshCommunity.com_AAA Cell Phones And Driving Research UpdateBillWalshCommunity.com_AAA Cell Phones And Driving Research Update
BillWalshCommunity.com_AAA Cell Phones And Driving Research Update
 
S T A R P P T V2.0+With+Notes
S T A R  P P T V2.0+With+NotesS T A R  P P T V2.0+With+Notes
S T A R P P T V2.0+With+Notes
 
Strucker
StruckerStrucker
Strucker
 
Ulead video studio 11
Ulead video studio 11Ulead video studio 11
Ulead video studio 11
 
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงานใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]Ulead video studio 11 [compatibility mode]
Ulead video studio 11 [compatibility mode]
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 

Similar to Lesson 1

ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
Thanawut Rattanadon
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5paween
 
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์พัน พัน
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
หน่วยรับข้อมูล
หน่วยรับข้อมูลหน่วยรับข้อมูล
หน่วยรับข้อมูล
Aobtion Freshwalkerz'Thailand
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Wachiraya Thasnapanth
 
work 3
work 3work 3
work 3
Lynd Doll
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Oh Aeey
 
Work3-09
Work3-09Work3-09
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างsrilakorn
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
Jenchoke Tachagomain
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
Npatsa Pany
 

Similar to Lesson 1 (20)

ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
หน่วยรับข้อมูล
หน่วยรับข้อมูลหน่วยรับข้อมูล
หน่วยรับข้อมูล
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
work 3
work 3work 3
work 3
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
Work3-09
Work3-09Work3-09
Work3-09
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Com
ComCom
Com
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่าง
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 

Recently uploaded

Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (6)

Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 

Lesson 1

  • 1. 1    ใบความรูที่ 1 เรื่อง คอมพิวเตอร คอมพิวเตอรเปนอุปกรณที่ใชในการประมวลผลขอมูลที่มีความสามารถหลายอยางซึ่งชวยอํานวย ความสะดวกในการทํางาน เชน คิดคํานวณตัวเลขจํานวนมากไดอยางรวดเร็วและแมนยํา เก็บขอมูลได จํานวนมาก เมื่อจัดเก็บแลวสามารถเรียกคนหรือคัดแยกไดถูกตองรวดเร็ว ความสามารถตางๆ เหลานี้ขึ้นอยู กับชุด คําสั่งหรื อโปรแกรม (Software) อุ ปกรณภ ายในคอมพิวเตอร และอุปกรณเชื่อมตอภายนอก (Hardware) ชุดคําสั่งหรือโปรแกรม (software)  เครื่องคอมพิวเตอร และอุปกรณเชื่อมตอภายนอก (Hardware) 
  • 2. 2    1. หลักการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรทํางานอยางเปนระบบโดยมีสวนประกอบพื้นฐานที่สําคัญ 5 หนวย ดังนี้ แผนภาพสวนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร 1.1 หนวยรับเขา (input unit) ทําหนาที่นําขอมูลหรือโปรแกรมเขาไปเก็บไวในหนวยความจําและใชในการ ประมวลผล อุปกรณที่ทําหนาที่เปนหนวยรับเขามีหลายชนิด ดังนี้ 1 ) แผงแปนอักขระ (Keyboard) เปนอุปกรณที่รับขอมูลจากการกด แป น บนแผงแป น อั ก ขระ แล ว ส ง รหั ส ให กั บ คอมพิ ว เตอร แผงแป น อั ก ขระ มาตรฐานที่ใชกันในปจจุบันมีชนิดที่มีสายเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรและชนิดไร สาย มีจํานวนแปนทั้งหมด 104 แปน โดยแผงแปนอักขระที่ใชในประเทศไทย สามารถพิมพอักขระภาษาไทยได และแผงแปนอักขระบางรุนสามารถนําขอมูลจากหนวยความจําแบบ แฟลชไดดวย 2) เมาส (Mouse) มีหลายขนาดและมีรูปรางแตกตางกันไป ที่นิยมใชมีขนาดเทากับฝามือ มีลูกกลม กลิ้งอยูดานลาง สวนดานบนจะมีปุมใหกดจํานวนสอง สาม หรือสี่ปุมแตที่นิยมใชกันมากคือสองปุม ใชสง ขอมูลเขาสูหนวยความจําหลักโดยการเลื่อนเมาสใหลูกกลมดานลางหมุน เพื่อเปนการเลื่อน ตัวชี้ตําแหนง (cursor) บนจอภาพไปยังตําแหนงที่ตองการบนจอภาพ ทําใหการโตตอบระหวางผูใชกับเครื่องคอมพิวเตอร ทําใหรวดเร็วกวาแปนพิมพ ผูใชอาจใชเมาสวาดรูป เลือกทางเลือกจากเมนู และเปลี่ยนแปลงหรือยาย
  • 3. 3    1.เมาสแบบลูกกลิ้ง ชนิดตัวเมาสเคลื่อนที่ (Ball Mouse) อาศัยกําหนดจุด X และ Y โดยกลิ้งลูก ยางทรงกลมไปบนพื้นเรียบ(นิยมใชแผนยางรอง เพื่อ ปองกันการลืน) ่ 2. เมาสแบบลูกกลิ้ง ชนิดตัวเมาสอยูกับที่ (Track Ball) อาศัยลูกยางทรงกลมที่ถูกกลิ้งโดยนิ้วมือผูใช โดยทั่วไปมักใชกับเครื่องคอมพิวเตอรขนาดเล็กหรือ ในบริเวณที่มีเนื้อที่จํากัด ซึ่งไมสะดวกที่จะใชเมาส แ บ บ เ ค ลื่ อ น ที่ เ ช น ติ ด ตั้ ง บ น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร โนตบุค (Notebook Computer) หรือ คอมพิวเตอร แลปทอป (Laptop Computer) เปนตน 3. เมาสแบบแสง (Optical Mouse) มีลักษณะการใช งานเชนเดียวกับ Ball Mouse แตอาศัยแสงแทน ลูกกลิ้งในการกําหนดจุดตัด โดยแสงจากตัวเมาสพุง ลงสูพื้นแลวสะทอนกลับขึ้นสูตัวรับแสงบนตัวเมาส อีกครั้ง (แผนรองเปนแบบสะทอนแสง) 3) ปากกาแสง(light pen) เปนอุปกรณที่ใชสัมผัสกับจอภาพ เพื่อใชชี้ตําแหนงและวาดขอมูล ปากกาแสงนิยมใชกับงานดานการออกแบบอุปกรณ เชน ไมโครโปรเซสเซอร และชิ้นสวนของเครื่องบิน คอมพิวเตอรพกพาขนาดเล็ก และเครื่องอานพิกัด โดยเมื่อแตะปากกาที่จอภาพ ขอมูลจะถูกสงไปยังเครื่อง คอมพิวเตอร ทําใหคอมพิวเตอรสามารถรับรูตําแหนงที่ชี้และทําตามคําสั่งได ในปจจุบันปากกาแสงมีทั้ง ชนิดที่มีสายเชื่อมตอกับเครื่องคอมพิวเตอร และชนิดไรสายใหเลือกใชตามความตองการ
  • 4. 4    การใชปากกาแสงรวมกับเครื่องอานพิกัด 4) กานควบคุม (Joystick) จอยสติก จะเปนกานสําหรับใชโยก ขึ้นลง / ซายขวา เพื่อยายตําแหนงของตัวชี้ตําแหนงบนจอภาพ มี หลักการทํางานเชนเดียวกับเมาส แตจะมีแปนกดเพิ่มเติมมาจํานวนหนึ่ง สําหรับสั่งงานพิเศษ นิยมใชกับการเลนเกมสคอมพิวเตอรหรือควบคุม หุนยนต กานควบคุม 5) เครื่องกราดตรวจ (Scanner) เปนอุปกรณนําเขาขอมูลประเภทที่สะดวกในการปอนเขาเครื่อง คอมพิวเตอรทางคียบอรดได เชน ภาพโลโก วิวทิวทัศน ภาพถายรูปคน สัตว ฯลฯ หนวยประมวลผลจะนํา ขอมูลที่ไดรับมานั้นแสดงเปนภาพใหปรากฏอยูบนจอภาพ เพื่อนํามาแกไขสี รูปราง ตัดแตง และนําภาพไป ประกอบงานพิมพอื่นๆ ได การทํางานของสแกนเนอรอาศัยหลักของการสะทอนแสง โดยเมื่อเราวางภาพลง ไปในสแกนเนอร ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะวิธีการใชงานของสแกนเนอรแตละแบบวาจะใสภาพเขาไปอยางไร สแกนเนอรจะทําการฉายแสงไปกระทบกับวัตถุใหสะทอนไปตกบนตัวรับแสงทีละแถว ขอมูลในแถวนั้นๆ ก็จะถูกแปลงเปนจุดเล็กๆ ในลักษณะสัญญาณดิจิตัลเขาไปเก็บในหนวยความจํา สแกนเนอรแบงเปน 3 ประเภทหลักๆ คือ
  • 5. 5    1. สแกนเนอรมือถือ (Hand-Held Scanner) มี ขนาดเล็ก ราคาไมแพงนัก เก็บภาพขนาดเล็กๆ ซึ่งไม ตองการความละเอียด มากนักได เชน โลโก ลายเซ็น เปนตน      2. สแกนเนอรดึงกระดาษ (Sheet-Fed Scanner) เปนสแกนเนอรที่ใหญกวาสแกนเนอรมือถือ ใช หลักการดึงกระดาษขึ้นมาสแกนทีละแผน แตมี ขอจํากัดคือถาตองการสแกนภาพจากหนังสือที่เปน รูปเลม ตองฉีกกระดาษออกมาทีละแผน ทําใหไม สะดวกในการสแกน คุณภาพที่ไดจากสแกนเนอร ประเภทนี้อยูในระดับปานกลาง 3. สแกนเนอรแทนเรียบ (Flatbed Scanner) เปน สแกนเนอร ที่ มี ก ระจกใสไว สํ า หรั บ วางภาพที่ จ ะ สแกน เหมือนเครื่องถายเอกสาร คุณภาพของงาน สแกนประเภทนี้จะดีกวาสแกนเนอรแบบมือถือ หรือ สแกนเนอรแบบดึงกระดาษ แตราคาสูงกวาเชนกัน 6) จอสัมผัส(touch screen) จอภาพแบบสัมผัส เปนจอภาพ ชนิ ด พิ เ ศษที่ ใ ห ผู ใ ช ง านใชนิ้ ว สั ม ผั ส บนจอภาพเพื่ อป อนขอ มูล เข า สู ระบบแทนที่จะใชการพิมพทางแปนพิมพ หรือสั่งงาน ดวยการคลิกเมาส การใช ง านระบบจอภาพสั ม ผั ส ผู ใ ช จ ะต อ งสั ม ผั ส จอภาพที่ อ าจเป น ขอความตัวเลข หรือสัญลักษณตําแหนง จากนั้นโปรแกรมจะทําหนาที่ แปลงเปนสัญญาณเขาสูระบบคอมพิวเตอร จอภาพสัมผัสไมนิยมใชกับ งานที่ตองปอนขอมูลจํานวนมากเขาสูระบบสวนใหญนิยมใชกับงาน เฉพาะอยางที่ใหผูใชเลือกจากรายการที่กําหนดไว เชนการใหขอมูล แหลงทองเที่ยว ที่พัก รานอาหารจานดวน สถานีบริการน้ํามัน ตูเกมตามศูนยการคา เปนตน
  • 6. 6    1.2 หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU ) ทําหนา ที่คิ ด คํ า นวณหรื อประมวลผลข อ มูล โดยอา นข อมู ลต า งๆ จาก หนวยรับเขา แลวเก็บไวที่หนวยความจําหลัก หลังจากนั้นจะอานคําสั่ง จากหน ว ยความจํ า หลั ก เพื่ อ นํ า มาตี ค วามหมายและกระทํ า ตามอย า ง รวดเร็ว ซึ่งในปจจุบันมีการผลิตวงจรหนวยประมวลผลกลางทั้งวงจรไว ในซิปเพียงตัวเดียว เรียกวา ไมโครโพรเซสเซอร หนวยประมวลผลกลางแบงออกเปน 2 หนวย ดังนี้ ไมโครโพรเซสเซอร 1) หนวยควบคุม (Control Unit : CU) 2) หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit: ALU) ทําหนาที่นําขอมูลซึ่งเปน สัญญาณไฟฟาแบบตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทางคณิตศาสตรและตรรกศาสตร 1.3 หนวยความจําหลัก (main memory unit )เปนอุปกรณที่ใชในการจําจดขอมูลและโปรแกรม ตาง ๆ ที่อยูระหวางการประมวลผลของคอมพิวเตอร บางครั้งอาจเรียกวา หนวยเก็บขอมูลหลัก (Primary Storage)หนวยความจําหลักที่นิยมใชงานอยูในปจจุบันสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท 1) แรม (Random Access Memory : RAM) ทําหนาที่เก็บขอมูลและโปรแกรมตางๆ ที่เกิดขึ้น ขณะใชเครื่องคอมพิวเตอร ถาไฟฟาดับขณะใชงานหรือคอมพิวเตอรถูกปดลงโดยไมไดบันทึกขอมูลไว ขอมูลจะสูญหายทันที 2) รอม (Read Only Memory : ROM) เปนหนวยความจําแบบอานไดอยางเดียว ทําหนาที่อาน ขอมูล และนําขอมูลที่บันทึกไวในหนวยความจํารอมมาใชงานได แตไมสามารถแกไขขอมูลได แผงวงจรแรม
  • 7. 7    1.4 หนวยความจํารอง (secondary memory unit ) ทําหนาที่เก็บขอมูลหรือโปรแกรมในขณะ ทํางานไวใชงานตอจากหนวยความจําหลัก และสามารถสงถายขอมูลไปยังหนวยความจําหลักประเภทแรม เพื่อใหหนวยประมวลผลทํางานได อุปกรณที่เปนหนวยความจํารองมีหลายประเภท ดังนี้ 1) แผนฟลอปปดิสก (floppy disk หรือ diskette) หรือ ดิสกเกต แมเหล็กที่ประกอบดวย Polyester Film Disk เคลือบดวย Iron Oxide Compound แผนดิสกหมุนรอบโดยอิสระภายใน Protective Flexible หรือ ปลอกพลาสติกแพรหลายมากที่สุด นอกจากนี้มีเทคโนโลยีรุนใหม LS-120 ที่ มีหนวยในการจัดเก็บ 120 เมกะไบต ซึ่งในปจจุบันไมนิยมใชกันเนื่องจากความสะดวกของ flash drive 2) ฮารดดิสก (harddisk) เปนที่สําหรับเก็บขอมูลขนาดใหญ มีความจุสูงถึงหนวยเมกะไบต จนถึง กิกะไบต และมีความเร็วสูงในการทํางาน และ การสงผานขอมูลมากกวา Secondary Storage ทั่วไป ซึ่ง Harddisk จะประกอบไปดวยจาน Disk หรือที่ เรียกวา Platters หลายๆ แผนมารวมกัน ซึ่งแตละดานของ Plalter จะถูกปก คลุมไปดวยสารประกอบ Oxide เพื่อใหสามารถบันทึกขอมูลได Hard Disk สวนมากจะอยูภายในเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งไมสะดวกในการเคลื่อนยาย บางที ถูกเรียกวา Fixed Disk 3) เทปแมเหล็ก (magnetic tape) เปนอุปกรณที่มีลักษณะ เป น แถบสายพลาสติ ก เคลื อ บด ว ยสารแม เ หล็ ก เหมื อ นเทป บันทึกเสียงเก็บขอมูลไดจํานวนมาก และเรียกคนขอมูลแบบเปน ลําดับ ใชสําหรับสํารองขอมูล และปองกันการเสียหายของขอมูล ที่ใชงานอยู นอกจากนี้เทปแมเหล็กยังมีประโยชนในการถายโอน ขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่งไดงาย 4) ออพติคัลดิสก (optical disk) เปนอุปกรณที่ถูกพัฒนาใหมีความจุมากยิ่งขึ้น ไดแก ซีดี-รอม (Compact Disk Read Only Memory, CDROM) วอรม (Write Once Read Many, WORM) และแมคนิโต ออปติคัลดิสก (Magneto-optical disk, MO) ออพติคัลดิสกหรือสื่อแสง คือ สื่อที่บันทึกและอานขอมูลดวย แสงเลเซอร ตัวอยางของสื่อแสงที่เห็นกันอยูทั่วไปขณะนี้ ไดแก แผนเพลง CD แผน CD-ROM และแผน DVD ซึ่งกําลังเปนสื่อที่ไดรับความนิยมใชกันมากในวงการสื่อประสม ประเภทของสื่อแสงที่ใชในการ บันทึกขอมูลแบงออกเปน
  • 8. 8    ชนิดของออพติคัลดิสก 1) สื่อที่อานอยางเดียวโดยการบันทึกครั้งเดียวแตอานไดหลายครั้ง เชน CD-ROM , CD-R , DVD- R และ DVD + R 2) สื่อที่ใหผูใชบันทึกขอมูลไดเองหลายครั้งจนกวาจะเต็มแผนและอานไดหลายครั้งเชน CD-RW , DVD + RW , DVD-RW และ DVD-RAM 5) หนวยความจําแบบแฟลช เปนหนวยความจําประเภทที่เรียกวา อีอีพรอม (Electrically Erasable Programmable Read-Only Memory : EEPROM ) สามารถเก็บขอมูลไดเหมือนฮารดดิสก ลบ และโอนถาย ขอมูลไดอยางรวดเร็ว มีความจุมาก ตั้งแต 512 เมกะไบต (megabyte) ขึ้นไป มีชื่อทางการคาหลายชื่อ เชน แฮนดรีไดรฟ เมมโมรีสติ๊ก แฟลชไดรฟ เปนตน 1.5 หนวยสงออก (output unit ) ทําหนาที่นําขอมูลที่ประมวลผลแลวมาแสดงผลโดยผานอุปกรณ คอมพิวเตอร หรือเก็บไวในหนวยความจํารอง 1) จอภาพ (monitor) มีลักษณะเปน จอภาพเหมือนจอโทรทัศน ทั่วไปเรียกวา ซีอารที การสงออก ของขอมูล จะปรากฏบนจอภาพ ซึ่งแสดงได ทั้งตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายพิเศษ และยังสามารถ แสดง รูปภาพไดดวย การแสดงผล บนจอภาพ จะแสดงดวยจุดเล็กๆตามแนวนอนและแนวตั้งแตเ ดิมจอภาพ แสดงผลไดเพียง สีเดียว พัฒนาการ ตอมาทําให การแสดงผล เปนสีหลายสีได นอกจากนี้ ยังมีความละเอียด มากขึ้น เชน จอภาพที่ใชกับคอมพิวเตอร ในปจจุบัน แสดงผล ในภาวะกราฟก ไดอยาง นอย ในแนวนอน 640 จุด ในแนวตั้ง 480 จุด และแสดงสี ไดอยางนอย 16 สี ถึง 256 สี สําหรับการ แสดงผลเปน ตัวอักษร ในภาวะปกติ สามารถ แสดงผลได 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษรขนาดของ จอภาพจะวัดความยาว ตามเสนทะแยงมุม จอภาพ โดยทั่วไป จะมีขนาด 14 นิ้ว หรือ17 นิ้ว การแสดงผล ของจอภาพ ควบคุมโดย แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส ซึ่งอยูภายใน เครื่องคอมพิวเตอร 2) เครื่องพิมพ (printer) เปนอุปกรณสงออกที่แสดงผลภาพและขอความบนกระดาษ เครื่องพิมพมี หลายประเภท ดังนี้ 2.1 ) เครื่องพิมพแบบจุด (Dot Matrix Printer) เปน เครื่องพิมพที่มีหัวยิงเปนเข็มขนาดเล็กพุงไปชนแผนผาหมึก เพื่อใหหมึก ติดบนกระดาษเปนจุดเล็กๆ หลายๆ จุดเรียงกันเปนตัวหนังสือ หรือรูปภาพ ที่มีความละเอียดพอสมควร เครื่องพิมพแบบจุด
  • 9. 9    2.2) เครื่องพิมพแบบพนหมึก (Ink-Jet Printer) เปนเครื่องพิมพที่ใชวิธีพนหมึกเพื่อใหติดกระดาษโดยพนหมึกสีดํา หรือ ผสมจากแมสี คือ แดง เหลือง และน้ําเงิน ใหไดสีตามตองการ แลวจึงพนออกมาบนกระดาษ เครื่องพิมพแบบพนหมึก 2.3) เครื่องพิมพเลเซอร (Laser Printer) เปนเครื่องพิมพที่ใชหลักการทางแสง งานที่พิมพ ดวยเครื่องพิมพประเภทนี้จะมีความคมชัด มีความละเอียดสูง และหมึกจะไมเลอะเทอะ จึงเหมาะสําหรับการ ใชงานในสํานักงาน แตไมสามารถพิมพสําเนากระดาษคารบอนได เครื่องพิมพเลเซอร (Laser Printer) 2.3) เครื่องพิมพรายบรรทัด (Line Printer) เปนเครื่องพิมพที่มีความเร็วมาก ลักษณะการ พิมพมีทั้งแบบพิมพดวยแถบโซตัวอักษรที่หมุนอยู มีคัน แตะตัวอักษรในตําแหนงที่กําหนด และแบบหัวยิงแบบ จุด เครื่องพิมพชนิดนี้เหมาะสําหรับศูนยคอมพิวเตอรที่ ตองพิมพเอกสารเปนจํานวนมาก เครื่องพิมพรายบรรทัด 3) ลําโพง(speaker) เปนอุปกรณที่ชวยใหไดยินเสียงจากเครื่อง คอมพิวเตอร โดยทําหนาที่แปลงสัญญาณไฟฟาใหกลายเปนสัญญาณเสียง แลวเดิน ผานอากาศมาสูหูของเรา ลําโพง
  • 10. 10    2. บทบาทของคอมพิวเตอร 2.1 คอมพิวเตอรชวยอํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวัน เชน ใชพิมพเอกสารรายงานตางๆ ได เมื่อเชื่อมตอเครือขายอินเตอรเน็ต สามารถสํารองที่นั่งในการชมคอนเสิรต สํารองที่นั่งในโรงภาพยนตร สํารองที่นั่งบนเครื่องบินโดยสาร หรือฝากถอนเงินผานเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ซึ่งการควบคุม การทํางานดวยคอมพิวเตอร เปนตน 2.2 คอมพิวเตอรชวยตอบสนองความตองการเฉพาะบุคคล เชน ใชคอมพิวเตอรชมภาพยนตร ฟงเพลง เลมเกม สงจดหมายอิเล็กทรอนิกสหรืออีเมล (E-mail) สนทนาบนเครือขายอินเทอรเน็ตหรือแชต (chat) สืบคนขอมูล แลกเปลี่ยนขาวสารขอมูลความรูผานกระดานสนทนา หรือ เว็บบอรด (Webboard) ตรวจผลสอบในเว็บไซตผานเครือขายอินเทอรเน็ต เปนตน 2.3 คอมพิวเตอรชวยตอบสนองความตองการของสังคม เชน ประชาชนมีสวนรวมในการดูแล ความสงบเรียบรอยของสังคม ดวยการแจงเหตุที่พบเห็นเกี่ยวกับการคาหรือเสพยาเสพติด ในเว็บไซตบน เครือขายอินเทอรเน็ต และสามารถเผยแพรขอมูลซึ่งเปนเหตุดวนเหตุรายใหคนในสังคมไดรับทราบ ผาน ทางระบบเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อชวยกันปองกันและแกไขปญหา 3. ประโยชนของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรมีประโยชนอยางมากในดานตางๆ ตอไปนี้ 3.1 การแกปญหา เชน คํานวณตัวเลขโดยใชสูตรแทนคาในเซลลของโปรแกรม Microsoft Excel การเขียนโปรแกรมเพื่อแกปญหาการทํางานคอมพิวเตอรและปญหาทางคณิตศาสตร การแกปญหาเกม คอมพิวเตอร การจัดการฐานขอมูลใหเปนระเบียบเรียบรอยโดยใช Microsoft Excel 3.2 การสรางงาน เชน งานนําเสนอ และงานออกแบบหลายรูปแบบ โดยอาศัยซอฟตแวรหรือ โปรแกรมประยุกตตางๆ ดังนี้ 1) Microsoft Word ใชสรางเอกสาร หนังสือเวียน รายงาน บัตรอวยพร ปายประกาศ และเอกสารแนะนําชิ้นงาน 2) Microsoft Excel ใชในการคํานวณตัวเลข วางแผน วิเคราะหขอมูล สรางกราฟ แผนภูมิ ตาราง สรุปผลขอมูล โดยกอนสรางกราฟและแผนภูมิ ตองมีขอมูลกอนเสมอ 3) Microsoft PowerPoint ใชสรางงานนําเสนอประเภทภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และมี เสียงประกอบ
  • 11. 11    4) โปรแกรมโปรเดสทอป (Pro/DESKTOP) , โปรแกรม AutoCAD ใชออกแบบและ สรางชิ้นงานจําลองแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ การใชโปรแกรม AutoCAD สรางชิ้นงานจําลองแบบ 3 มิติ 3.3 การสรางความบันเทิง เชน การชมภาพยนตร ฟงเพลง และเลนเกมคอมพิวเตอรโดยใช โปรแกรมประยุกตตางๆ และเครือขายอินเตอรเน็ต 3.4 การติดตอสื่อสาร มี 2 วิธี ไดแก การเชื่อมตอกับเครือขายอินทราเน็ต (intranet) ภายใน หนวยงานหรือองคกร เพื่อติดตอสื่อสารกับเพื่อนรวมงานและใชขอมูลในการทํางานรวมกัน และการ เชื่อมตอเครือขายอินเทอรเน็ต (internet) เพื่อติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่น ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ ซึ่งการติดตอสื่อสารผานเครือขายอินเทอรเน็ตมีหลายวิธี ดังนี้ 1) ไปรษณียหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส หรืออีเมล (E Mail หรือ Electronics Mail) 2) การสนทนาบนเครือขาย หรือแชต (Chat) 3) การฝากขอความสั้นๆ ไวบนเว็บไซตทใหบริการ เชน http://www.hi5.com ี่ http://www.facebook.com http://twitter.com เปนตน 3.5 การคนหาขอมูล แบงออกเปน 3 วิธี ดังนี้ 1) การคนหาขอมูลที่มีในเครื่องคอมพิวเตอร เปนขอมูลที่สามารถคนหาไดจะถูกเก็บบันทึก ไวในเครื่องคอมพิวเตอร การคนหาขอมูลในลักษณะนี้จะพบไดจากการคนหาขอมูลในหองสมุด ประวัติ ผูปวยในโรงพยาบาล ประวัติครูและนักเรียน ประชากรในทะเบียนราษฎร ประวัติลูกคาของธนาคาร การ คนหาขอมูลความรูที่บันทึกไวในคอมพิวเตอร
  • 12. 12    2) การคนหาขอมูลในสื่อบันทึกขอมูลตางๆ เชน แผนบันทึก หนวยความจําแฟลช ซีดีรอม 3) การคนหาขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ตโดยการคนหาขอมูลความรูผานเว็บไซตของ ไทยและตางประเทศ เมื่อเขาไปยังเว็บไซตที่มีบริการคนหาขอมูล จะตองพิมพคําคน หรือคําสําคัญของเรื่อง ที่ตองการคนหาลงในชองที่แตละเว็บไซตกําหนด แลวคลิกปุมคนหา ดังตัวอยาง การคนหาขอมูลบนเว็บไซตของไทย ของ http://www.google.com