SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
หน่วยที่ 1
เรื่อง
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการร่วมค้า
• แนวคิด
1.การร่วมค้าเป็นการประกอบกิจการร่วมกันตั้งแต่ 2 คน หรือ 2 กิจการขึ้นไป
โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจง เมื่อการค้าเสร็จสิ้นถือว่าการร่วมค้าสิ้นสุด
ลง
2.รูปแบบของการร่วมค้ามี 3 รูปแบบ คือ การดาเนินงานที่ควบคุมร่วมกัน
สินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกันและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน หรือกิจการร่วมค้า
3.วิธีการบัญชีของการร่วมค้ามี 2 วิธี คือ วิธีการบันทึกบัญชีการร่วมค้าโดย
ไม่เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก และวิธีการบันทึกบัญชีการร่วม
ค้าโดยเปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก
• สาระการเรียนรู้
1.ความหมายและลักษณะของการร่วมค้า
2.รูปแบบของการร่วมค้า
3.วิธีการบัญชีของการร่วมค้า
• ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.นักศึกษาสามารถอธิบายความหมายและลักษณะของการร่วมค้าได้
2.นักศึกษาสามารถอธิบายรูปแบบของการร่วมค้าได้
3.นักศึกษาสามารถอธิบายวิธีการบัญชีของการร่วมค้าได้
ความหมายและลักษณะของการร่วมค้า
• ความหมายของการร่วมค้า
การร่วมค้า หมายถึง การที่บุคคลหรือกิจการตั้งแต่สองคนหรือสอง
กิจการขึ้นไป ทาการประกอบกิจการค้าร่วมกัน โดยจะต้องมีข้อตกลงใน
สัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรด้วยว่าผู้ร่วมค้าทุกคนจะต้องมีสิทธิ์หรือส่วนร่วม
ในการควบคุมการร่วมค้าด้วยกันในการกาหนดนโยบายทางการเงินและการ
ดาเนินงานของกิจการที่ร่วมค้าร่วมกันเพื่อให้ได้รับประโยชน์ของกิจกรรม
ต่างๆ ของธุรกิจนั้น การร่วมค้าอาจจะเกี่ยวกับการค้าขายสินค้าหรือการ
ประกอบกิจการโครงการใดโครงการหนึ่งโดยเฉพาะ เมื่อกิจการร่วมค้าสาเร็จ
ลุล่วงแล้วการร่วมค้าถือว่ายุติลง
• ลักษณะของการร่วมค้า
จากที่กล่าวมาแล้ว การร่วมค้าจะเป็นการที่บุคคลหรือกิจการตั้งแต่ 2
คน หรือ 2 กิจการขึ้นไปทาการประกอบกิจการร่วมกันเฉพาะกาลใดกาลหนึ่ง
เมื่อการประกอบกิจการร่วมกันดังกล่าวนั้นเสร็จสิ้นถือว่าการร่วมค้ายุติลง
และผู้ร่วมค้าทุกคนจะต้องมีสิทธิ์ในการควบคุมการร่วมค้าด้วยกันการ
ดาเนินงานลักษณะนี้จะเป็นการดาเนินงานที่ต่างกิจการห้างหุ้นส่วน การ
จัดตั้งการร่วมค้าอาจตั้งขึ้นเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย เช่น จัดตั้งในลักษณะ
ห้างหุ้นส่วน บริษัท หรืออาจไม่ได้มีการจัดตั้งขึ้นเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย
ก็ได้ ไม่ว่าการร่วมค้าจะมีรูปแบบใดตามกฎหมายการจะจัดเป็นการร่วมค้า
ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 จะต้องมีลักษณะที่สาคัญ
2 ประการ คือ
• 1.มีผู้ร่วมค้าตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป ตกลงกันเป็นสัญญา และ
• 2.สัญญาดังกล่าวระบุให้ผู้ร่วมค้าทุกรายมีอานาจในการควบคุม
ในปัจจุบันการร่วมค้าในประเทศไทยจะพบในการดาเนินธุรกิจบาง
ประเภท เช่น การจัดซื้อที่ดินเพื่อทาการจัดสรรขาย การจัดซื้อที่ดินปลูก
สร้างอาคารเพื่อจัดสรรขาย เป็นต้น หรืออาจจะพบได้ในการดาเนินงานของ
บริษัทข้ามชาติที่แสวงหางานในต่างประเทศร่วมกับบริษัทในท้องถิ่นเพื่อ
ทางานในแต่ละโครงการ เช่น โครงการสารวจขุดเจาะน้ามันและก๊าซ การ
สร้างเขื่อน เป็นต้น
นอกเหนือจากลักษณะของการร่วมค้าที่กล่าวไปแล้ว ตามความเห็น
APB Opinion No.18 ได้มีการกาหนดลักษณะของการร่วมค้าไว้ดังนี้
“กิจการร่วมค้าเป็นการลงทุนร่วมกันของกลุ่มธุรกิจ เพื่อนดาเนินการค้า
โดยเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือโครงการหนึ่ง เพื่อหวังผลกาไรมาแบ่งปัน
ในกลุ่มสมาชิก รัฐบาลอาจเป็นสมาชิกคนหนึ่งของกลุ่มก็ได้ วัตถุประสงค์
โดยทั่วไปของกิจการร่วมค้าเพื่อแบ่งปันความเสี่ยงและผลตอบแทน โดย
หวังจะพัฒนาตลาดของผลิตภัณฑ์ใหม่หรือเทคโนโลยีใหม่ เพื่อรวมความรู้
ทางด้านเทคนิค หรือรวมทรัพยากรเพื่อพัฒนาผลผลิต หรือสาธารณูปโภค
ต่าง ๆ การประกอบกิจการร่วมค้าทาให้ผู้ร่วมค้าต้องร่วมจัดงานทั้งทางตรง
และทางอ้อม”
จากความเห็นของ APB Opinion No.18 ข้างต้น สามารถสรุปลักษณะ
ของการร่วมค้าได้ดังนี้
1. การร่วมค้าประกอบด้วยบุคคลตั้งแต่สองคนหรือกิจการตั้งแต่สองกิจการ
ขึ้นไปร่วมกันลงทุนเพื่อดาเนินการค้า
2. การดาเนินการค้าเฉพาะกาลใดกาลหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งกาไร
จากการค้านั้น
3. เป็นการลงทุนที่ไม่ถาวรเหมือนการค้าปกติ มีขอบเขตจากัดโดยจะสิ้นสุด
เมื่อการดาเนินการค้านั้นเสร็จสิ้นลง
4. มีการนากฎหมายว่าด้วยห้างหุ้นส่วนมาบังคับใช้เช่น การลงทุน และการ
แบ่งสรรกาไร เป็นต้น
รูปแบบของการร่วมค้า
• รูปแบบของการร่วมค้า
วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการร่วมค้าของผู้ร่วมค้านั้นจะขึ้นอยู่กับรูปแบบ
ของการร่วมค้า ซึ่งรูปแบบของการร่วมค้า ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 46
สามารถแบ่งได้3 รูปแบบ ดังนี้
รูปแบบที่ 1 การดาเนินงานที่ควบคุมร่วมค้า
(Jointly Controlled operations)
รูปแบบที่ 2 สินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกัน
(Jointly Controlled Assets)
รูปแบบที่ 3 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน หรือกิจการร่วมค้า
(Jointly Controlled Entities )
รูปแบบที่ 1 การดาเนินงานที่ควบคุมร่วมค้า (Jointly Controlled
operations)
การดาเนินงานของกิจการร่วมค้าแบบนี้จะไม่มีการตั้งกิจการร่วมค้าเป็น
หน่วยงานตามกฎหมายแยกออกจากเดิมแต่จะแฝงการร่วมค้าอยู่ในกิจการเดิม โดยผู้
ร่วมค้าแต่ละรายจะใช้ความรู้ความชานาญและสินทรัพย์ของตน เช่น อุปกรณ์ โรงงาน
หรืออาจเป็นสินค้า เพื่อการผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกับผู้
ร่วมค้าราบอื่น ๆ ผู้ร่วมค้าแต่ละรายจะรับผิดชอบในสินทรัพย์ ค่าใช้จ่าย และหนี้สิน
ตลอดจนจัดหาเงินทุนเพื่อดาเนินการของการร่วมค้าเอง ผู้ร่วมค้าจะได้ส่วนแบ่งใน
รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ และรับปันส่วนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นร่วมกันระหว่างผู้ร่วม
ค้าตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา
การบันทึกบัญชีของผู้ร่วมค้าแต่ละรายนั้นจะบันทึกบัญชีและแสดงรายการใน
งบการเงินเกี่ยวกับสินทรัพย์ของตน หนี้สินของตน ค่าใช้จ่ายของตน และส่วนแบ่ง
รายได้หรือค่าใช้จ่ายจากการร่วมค้าตามปกติเช่นเดียวกับรายการที่เกิดจากการ
ดาเนินงานของกิจการเอง ผู้ร่วมค้าไม่จาเป็นต้องบันทึกบัญชีและจัดทางบการเงิน
สาหรับกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก
รูปแบบที่ 2 สินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกัน (Jointly Controlled
Assets)
การดาเนินงานของกิจการร่วมค้ารูปแบบนี้จะเหมือนกับรูปแบบแรก
คือ ไม่มีการจัดตั้งกิจการร่วมค้าเป็นหน่วยงานตามกฎหมายแยกออกจากิจการ
โดยจะแฝงการร่วมค้าอยู่ในกิจการเดิมผู้ร่วมค้าแต่ละรายจะนาสินทรัพย์ของ
ตนมาให้ผู้ร่วมค้ารายอื่นๆ ใช้ร่วมกัน หรืออาจเป็นเจ้าของร่วมกันใน
สินทรัพย์ที่ซื้อมาเพื่อใช้ตามวัตถุประสงค์ของกิจการร่วมค้า
การบันทึกบัญชีและการแสดงรายการของการร่วมค้าจะแสดงเป็นส่วน
หนึ่งของการดาเนินงานตามปกติ
• รูปแบบที่ 3 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน หรือกิจการร่วมค้า (Jointly
Controlled Entities )
การดาเนินงานขอองกิจการร่วมค้ารูปแบบนี้จะมีการจัดตั้งกิจการร่วม
ค้าเป็นหน่วยงานตามกฎหมาย จึงสามารถแยกออกจากกิจการเดิม โดยกิจการ
ที่ตั้งขึ้นมาใหม่จะมีสัญญาซึ่งระบุให้ผู้ร่วมค้าทุกรายมีอานาจควบคุมร่วมกัน
ในการดาเนินงานของกิจการร่วมค้า
การบันทึกบัญชีและงบการเงิน กิจการร่วมค้ารูปแบบนี้เป็นหน่วยงาน
แยกออกมาตามกฎหมาย จึงสามารถที่จะมีสินทรัพย์ก่อหนี้สิน และมีรายได้
หรือค่าใช้จ่ายเป็นของตนเองได้ ดังนั้นจึงต้องจัดทาบัญชีและงบการเงินของ
กิจการเองตามมาตรฐานการบัญชีเช่นเดียวกับกิจการทั่วไป
วิธีการบัญชีของการร่วมค้า
การจัดแบ่งรูปแบบของกิจการร่วมค้าตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 สามารถแบ่ง
รูปแบบได้ 3 รูปแบบตามที่กล่าวไว้ข้างต้น จะพบว่าการดาเนินงาน 2 รูปแบบแรก คือ การ
ดาเนินงานที่ควบคุมร่วมค้า (Jointly Controlled operations) และสินทรัพย์ที่
ควบคุมร่วมกัน (Jointly Controlled Assets) จะมีรูปแบบที่เหมือนกัน คือ ไม่ได้
มีการจัดตั้งเป็นหน่วยงานตามกฎหมายโดยจะแฝงการร่วมค้าอยู่ในกิจการเดิม ส่วนการ
ดาเนินงานรูปแบบที่ 3 เป็นรูปแบบกิจการที่ควบคุมร่วมกัน หรือกิจการร่วมค้า (Jointly
Controlled Entities ) ซึ่งจะมีการจัดตั้งการร่วมค้าเป็นหน่วยงานตามกฎหมาย
แยกการร่วมค้าออกจากกิจการเดิมของผู้ร่วมค้าแต่ละคน ดังนั้น วิธีการบัญชีสาหรับกิจการ
ร่วมค้าสามารถแบ่งได้ 2 วิธี ดังนี้
วิธีที่ 1 วิธีการบันทึกบัญชีการร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก
วิธีที่ 2 วิธีการบันทึกบัญชีการร่วมค้าโดยเปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก
• สรุป
การร่วมค้าเป็นการประกอบกิจการร่วมกันตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กิจการขึ้น
ไป โดยมีวัตถุประสงค์ดาเนินงานเฉพาะเจาะจง เมื่อการค้าเสร็จสิ้นถือว่า
การร่วมค้าสิ้นสุดลง วิธีการบัญชีของการร่วมค้ามี 2 วิธี คือ วิธีการบันทึก
บัญชีการร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก และวิธีการ
บันทึกบัญชีการร่วมค้าโดยเปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก

More Related Content

What's hot

ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คAttaporn Ninsuwan
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือple2516
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นsaowanee
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีPa'rig Prig
 
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1Niti Nachit
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปNoree Sapsopon
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102Chenchira Chaengson
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
แบบทดสอบครั้งที่1
แบบทดสอบครั้งที่1แบบทดสอบครั้งที่1
แบบทดสอบครั้งที่1thai01
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
หนี้สิน
หนี้สินหนี้สิน
หนี้สินpeepai
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 

What's hot (20)

ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็ค
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้น
 
1
11
1
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
 
5
55
5
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
 
4เช็ค
4เช็ค4เช็ค
4เช็ค
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
แบบทดสอบครั้งที่1
แบบทดสอบครั้งที่1แบบทดสอบครั้งที่1
แบบทดสอบครั้งที่1
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
หนี้สิน
หนี้สินหนี้สิน
หนี้สิน
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 

Viewers also liked

แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีวาสนา ทีคะสาย
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนple2516
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารNoo Jomkwan Parida
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
แบบฝึกหัดบทที่ 7
แบบฝึกหัดบทที่ 7แบบฝึกหัดบทที่ 7
แบบฝึกหัดบทที่ 7PümPüy Ża
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมple2516
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงินsiriwaan seudee
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีAttachoke Putththai
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีAttachoke Putththai
 

Viewers also liked (16)

ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
 
013
013013
013
 
023
023023
023
 
010
010010
010
 
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
 
รายวิชา
รายวิชารายวิชา
รายวิชา
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
แบบฝึกหัดบทที่ 7
แบบฝึกหัดบทที่ 7แบบฝึกหัดบทที่ 7
แบบฝึกหัดบทที่ 7
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงิน
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 
บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
 

Similar to หน่วยที่ 1

บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2 Pa'rig Prig
 
คำอธิบายรายวิชา บัญชี
คำอธิบายรายวิชา บัญชีคำอธิบายรายวิชา บัญชี
คำอธิบายรายวิชา บัญชีSommard Choomsawad
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1chwalit
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 
Entrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture CreationEntrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture Creationsiroros
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
บัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfบัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfWattanaNanok
 

Similar to หน่วยที่ 1 (15)

บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
คำอธิบายรายวิชา บัญชี
คำอธิบายรายวิชา บัญชีคำอธิบายรายวิชา บัญชี
คำอธิบายรายวิชา บัญชี
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Entrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture CreationEntrepreneurship : New Venture Creation
Entrepreneurship : New Venture Creation
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfบัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdf
 
Organization&Management part1
Organization&Management part1Organization&Management part1
Organization&Management part1
 

หน่วยที่ 1

  • 3. • แนวคิด 1.การร่วมค้าเป็นการประกอบกิจการร่วมกันตั้งแต่ 2 คน หรือ 2 กิจการขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจง เมื่อการค้าเสร็จสิ้นถือว่าการร่วมค้าสิ้นสุด ลง 2.รูปแบบของการร่วมค้ามี 3 รูปแบบ คือ การดาเนินงานที่ควบคุมร่วมกัน สินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกันและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน หรือกิจการร่วมค้า 3.วิธีการบัญชีของการร่วมค้ามี 2 วิธี คือ วิธีการบันทึกบัญชีการร่วมค้าโดย ไม่เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก และวิธีการบันทึกบัญชีการร่วม ค้าโดยเปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก
  • 6. ความหมายและลักษณะของการร่วมค้า • ความหมายของการร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การที่บุคคลหรือกิจการตั้งแต่สองคนหรือสอง กิจการขึ้นไป ทาการประกอบกิจการค้าร่วมกัน โดยจะต้องมีข้อตกลงใน สัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรด้วยว่าผู้ร่วมค้าทุกคนจะต้องมีสิทธิ์หรือส่วนร่วม ในการควบคุมการร่วมค้าด้วยกันในการกาหนดนโยบายทางการเงินและการ ดาเนินงานของกิจการที่ร่วมค้าร่วมกันเพื่อให้ได้รับประโยชน์ของกิจกรรม ต่างๆ ของธุรกิจนั้น การร่วมค้าอาจจะเกี่ยวกับการค้าขายสินค้าหรือการ ประกอบกิจการโครงการใดโครงการหนึ่งโดยเฉพาะ เมื่อกิจการร่วมค้าสาเร็จ ลุล่วงแล้วการร่วมค้าถือว่ายุติลง
  • 7. • ลักษณะของการร่วมค้า จากที่กล่าวมาแล้ว การร่วมค้าจะเป็นการที่บุคคลหรือกิจการตั้งแต่ 2 คน หรือ 2 กิจการขึ้นไปทาการประกอบกิจการร่วมกันเฉพาะกาลใดกาลหนึ่ง เมื่อการประกอบกิจการร่วมกันดังกล่าวนั้นเสร็จสิ้นถือว่าการร่วมค้ายุติลง และผู้ร่วมค้าทุกคนจะต้องมีสิทธิ์ในการควบคุมการร่วมค้าด้วยกันการ ดาเนินงานลักษณะนี้จะเป็นการดาเนินงานที่ต่างกิจการห้างหุ้นส่วน การ จัดตั้งการร่วมค้าอาจตั้งขึ้นเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย เช่น จัดตั้งในลักษณะ ห้างหุ้นส่วน บริษัท หรืออาจไม่ได้มีการจัดตั้งขึ้นเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย ก็ได้ ไม่ว่าการร่วมค้าจะมีรูปแบบใดตามกฎหมายการจะจัดเป็นการร่วมค้า
  • 8. ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 จะต้องมีลักษณะที่สาคัญ 2 ประการ คือ • 1.มีผู้ร่วมค้าตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป ตกลงกันเป็นสัญญา และ • 2.สัญญาดังกล่าวระบุให้ผู้ร่วมค้าทุกรายมีอานาจในการควบคุม ในปัจจุบันการร่วมค้าในประเทศไทยจะพบในการดาเนินธุรกิจบาง ประเภท เช่น การจัดซื้อที่ดินเพื่อทาการจัดสรรขาย การจัดซื้อที่ดินปลูก สร้างอาคารเพื่อจัดสรรขาย เป็นต้น หรืออาจจะพบได้ในการดาเนินงานของ บริษัทข้ามชาติที่แสวงหางานในต่างประเทศร่วมกับบริษัทในท้องถิ่นเพื่อ ทางานในแต่ละโครงการ เช่น โครงการสารวจขุดเจาะน้ามันและก๊าซ การ สร้างเขื่อน เป็นต้น
  • 9. นอกเหนือจากลักษณะของการร่วมค้าที่กล่าวไปแล้ว ตามความเห็น APB Opinion No.18 ได้มีการกาหนดลักษณะของการร่วมค้าไว้ดังนี้ “กิจการร่วมค้าเป็นการลงทุนร่วมกันของกลุ่มธุรกิจ เพื่อนดาเนินการค้า โดยเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือโครงการหนึ่ง เพื่อหวังผลกาไรมาแบ่งปัน ในกลุ่มสมาชิก รัฐบาลอาจเป็นสมาชิกคนหนึ่งของกลุ่มก็ได้ วัตถุประสงค์ โดยทั่วไปของกิจการร่วมค้าเพื่อแบ่งปันความเสี่ยงและผลตอบแทน โดย หวังจะพัฒนาตลาดของผลิตภัณฑ์ใหม่หรือเทคโนโลยีใหม่ เพื่อรวมความรู้ ทางด้านเทคนิค หรือรวมทรัพยากรเพื่อพัฒนาผลผลิต หรือสาธารณูปโภค ต่าง ๆ การประกอบกิจการร่วมค้าทาให้ผู้ร่วมค้าต้องร่วมจัดงานทั้งทางตรง และทางอ้อม”
  • 10. จากความเห็นของ APB Opinion No.18 ข้างต้น สามารถสรุปลักษณะ ของการร่วมค้าได้ดังนี้ 1. การร่วมค้าประกอบด้วยบุคคลตั้งแต่สองคนหรือกิจการตั้งแต่สองกิจการ ขึ้นไปร่วมกันลงทุนเพื่อดาเนินการค้า 2. การดาเนินการค้าเฉพาะกาลใดกาลหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งกาไร จากการค้านั้น 3. เป็นการลงทุนที่ไม่ถาวรเหมือนการค้าปกติ มีขอบเขตจากัดโดยจะสิ้นสุด เมื่อการดาเนินการค้านั้นเสร็จสิ้นลง 4. มีการนากฎหมายว่าด้วยห้างหุ้นส่วนมาบังคับใช้เช่น การลงทุน และการ แบ่งสรรกาไร เป็นต้น
  • 11. รูปแบบของการร่วมค้า • รูปแบบของการร่วมค้า วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการร่วมค้าของผู้ร่วมค้านั้นจะขึ้นอยู่กับรูปแบบ ของการร่วมค้า ซึ่งรูปแบบของการร่วมค้า ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 46 สามารถแบ่งได้3 รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบที่ 1 การดาเนินงานที่ควบคุมร่วมค้า (Jointly Controlled operations) รูปแบบที่ 2 สินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกัน (Jointly Controlled Assets) รูปแบบที่ 3 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน หรือกิจการร่วมค้า (Jointly Controlled Entities )
  • 12. รูปแบบที่ 1 การดาเนินงานที่ควบคุมร่วมค้า (Jointly Controlled operations) การดาเนินงานของกิจการร่วมค้าแบบนี้จะไม่มีการตั้งกิจการร่วมค้าเป็น หน่วยงานตามกฎหมายแยกออกจากเดิมแต่จะแฝงการร่วมค้าอยู่ในกิจการเดิม โดยผู้ ร่วมค้าแต่ละรายจะใช้ความรู้ความชานาญและสินทรัพย์ของตน เช่น อุปกรณ์ โรงงาน หรืออาจเป็นสินค้า เพื่อการผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกับผู้ ร่วมค้าราบอื่น ๆ ผู้ร่วมค้าแต่ละรายจะรับผิดชอบในสินทรัพย์ ค่าใช้จ่าย และหนี้สิน ตลอดจนจัดหาเงินทุนเพื่อดาเนินการของการร่วมค้าเอง ผู้ร่วมค้าจะได้ส่วนแบ่งใน รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ และรับปันส่วนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นร่วมกันระหว่างผู้ร่วม ค้าตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา การบันทึกบัญชีของผู้ร่วมค้าแต่ละรายนั้นจะบันทึกบัญชีและแสดงรายการใน งบการเงินเกี่ยวกับสินทรัพย์ของตน หนี้สินของตน ค่าใช้จ่ายของตน และส่วนแบ่ง รายได้หรือค่าใช้จ่ายจากการร่วมค้าตามปกติเช่นเดียวกับรายการที่เกิดจากการ ดาเนินงานของกิจการเอง ผู้ร่วมค้าไม่จาเป็นต้องบันทึกบัญชีและจัดทางบการเงิน สาหรับกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก
  • 13. รูปแบบที่ 2 สินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกัน (Jointly Controlled Assets) การดาเนินงานของกิจการร่วมค้ารูปแบบนี้จะเหมือนกับรูปแบบแรก คือ ไม่มีการจัดตั้งกิจการร่วมค้าเป็นหน่วยงานตามกฎหมายแยกออกจากิจการ โดยจะแฝงการร่วมค้าอยู่ในกิจการเดิมผู้ร่วมค้าแต่ละรายจะนาสินทรัพย์ของ ตนมาให้ผู้ร่วมค้ารายอื่นๆ ใช้ร่วมกัน หรืออาจเป็นเจ้าของร่วมกันใน สินทรัพย์ที่ซื้อมาเพื่อใช้ตามวัตถุประสงค์ของกิจการร่วมค้า การบันทึกบัญชีและการแสดงรายการของการร่วมค้าจะแสดงเป็นส่วน หนึ่งของการดาเนินงานตามปกติ
  • 14. • รูปแบบที่ 3 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน หรือกิจการร่วมค้า (Jointly Controlled Entities ) การดาเนินงานขอองกิจการร่วมค้ารูปแบบนี้จะมีการจัดตั้งกิจการร่วม ค้าเป็นหน่วยงานตามกฎหมาย จึงสามารถแยกออกจากกิจการเดิม โดยกิจการ ที่ตั้งขึ้นมาใหม่จะมีสัญญาซึ่งระบุให้ผู้ร่วมค้าทุกรายมีอานาจควบคุมร่วมกัน ในการดาเนินงานของกิจการร่วมค้า การบันทึกบัญชีและงบการเงิน กิจการร่วมค้ารูปแบบนี้เป็นหน่วยงาน แยกออกมาตามกฎหมาย จึงสามารถที่จะมีสินทรัพย์ก่อหนี้สิน และมีรายได้ หรือค่าใช้จ่ายเป็นของตนเองได้ ดังนั้นจึงต้องจัดทาบัญชีและงบการเงินของ กิจการเองตามมาตรฐานการบัญชีเช่นเดียวกับกิจการทั่วไป
  • 15. วิธีการบัญชีของการร่วมค้า การจัดแบ่งรูปแบบของกิจการร่วมค้าตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 สามารถแบ่ง รูปแบบได้ 3 รูปแบบตามที่กล่าวไว้ข้างต้น จะพบว่าการดาเนินงาน 2 รูปแบบแรก คือ การ ดาเนินงานที่ควบคุมร่วมค้า (Jointly Controlled operations) และสินทรัพย์ที่ ควบคุมร่วมกัน (Jointly Controlled Assets) จะมีรูปแบบที่เหมือนกัน คือ ไม่ได้ มีการจัดตั้งเป็นหน่วยงานตามกฎหมายโดยจะแฝงการร่วมค้าอยู่ในกิจการเดิม ส่วนการ ดาเนินงานรูปแบบที่ 3 เป็นรูปแบบกิจการที่ควบคุมร่วมกัน หรือกิจการร่วมค้า (Jointly Controlled Entities ) ซึ่งจะมีการจัดตั้งการร่วมค้าเป็นหน่วยงานตามกฎหมาย แยกการร่วมค้าออกจากกิจการเดิมของผู้ร่วมค้าแต่ละคน ดังนั้น วิธีการบัญชีสาหรับกิจการ ร่วมค้าสามารถแบ่งได้ 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 วิธีการบันทึกบัญชีการร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก วิธีที่ 2 วิธีการบันทึกบัญชีการร่วมค้าโดยเปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก
  • 16. • สรุป การร่วมค้าเป็นการประกอบกิจการร่วมกันตั้งแต่ 2 คนหรือ 2 กิจการขึ้น ไป โดยมีวัตถุประสงค์ดาเนินงานเฉพาะเจาะจง เมื่อการค้าเสร็จสิ้นถือว่า การร่วมค้าสิ้นสุดลง วิธีการบัญชีของการร่วมค้ามี 2 วิธี คือ วิธีการบันทึก บัญชีการร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก และวิธีการ บันทึกบัญชีการร่วมค้าโดยเปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก