SlideShare a Scribd company logo
บทที 1
บทนํา
1. หลักการและเหตุผล
ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง (ปวส.) พ.ศ. 2556 ได้มีการจัดการเรียนการ
สอนในรายวิชาโครงการ รหัสวิชา 3401-6001 การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาดังกล่าว
ครูผู้สอนได้การบูรณาการความรู้ ทักษะและประสบการณ์จากหลายๆ สาขาวิชาชีพด้านการ
บริหารธุรกิจ ด้วยการนํากระบวนการทดลอง สํารวจ ประดิษฐ์คิดค้น หรือการปฏิบัติงานอย่างเป็น
กระบวนการมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนจึงได้กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักศึกษา
ไปสํารวจและศึกษาข้อมูลด้วยกระบวนการวิจัยเพือนํามาประกอบการทําขนมข้าวแตนประเภทที
นักศึกษาสนใจในรูปแบบจําหน่ายสินค้า ของการจัดเสมือนธุรกิจจริง พร้อมทังรายงานผลการ
ดําเนินงานเมือสินสุดโครงการ
เนืองจากปัจจุบันมีผู้ผลิตขนมขบเคียวขึนมามากมายมีทังรสชาติทีแปลกใหม่และมีราคาสูง
จนทําให้ “ขนมข้าวแตน” หรือเรียกติดปากว่า “ ขนมนางเล็ด” ไม่ค่อยเป็นทีรู้จัก เป็นขนมทีทํามา
จากข้าวเหนียวราดด้วยนําตาล มีความละเอียดอ่อน ประณีตในวิธีการทํา ตังแต่วัตถุดิบวิธีการทําที
กลมกลืน พิถีพิถันในเรืองรสชาติ สีสัน ความสวยงาม มีรสชาติหวานรูปลักษณะชวนรับประทาน
และเก็บไว้ได้นาน คนไทยในอดีตจะทําขนมในเทศกาลหรือประเพณีต่างๆ เช่นขนมห่อจะทําวัน
สารทหรือวันสงกรานต์ วันออกพรรษาจะทํากายสารทหรือทําขนมนางเล็ด ขนมหูช้างเพือใช้ในการ
ประกอบประเพณีเทศมหาชาติ จึงนับว่าขนมไทยมีความสําคัญต่อประเพณีต่อเศรษฐกิจชุมชนมาก
เพราะสามารถผลิตขายได้ตลอดทังปีทําให้มีรายได้เพิมกับครอบครัวและชุมชนอีกทาง
ผู้จัดทําโครงการสนใจทีจะศึกษาเรืองการผลิตขนมข้าวแตนเนืองจากขนมทีขายตาม
ท้องตลาดมากมายหลายชนิดไม่ว่าจะเป็น วุ้น,ขนมต้ม,ลูกชุบและอืนๆ ซึงขนมเหล่านีมีอายุการเก็บ
รักษาไว้ได้ไม่นานเมือทําการขายให้หมดภายในวันหรือสองวันและมีขนมไทยเพียงไม่กีชนิดที
สามารถเก็บรักษาไว้ขายได้นานมากกว่า 2 วัน อาจเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือนซึงได้แก่พวก ทอด
และอบ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้จัดทําโครงการขนมข้าวแตนนีขึนเพราะขนมข้าวแตนสามารถเก็บไว้
ได้นานถึง 7 วันและไม่เสียง่าย ขนมข้าวแตนทีกลุ่มของข้าพเจ้าได้ทําขึนได้เพิมสีสันให้น่า
รับประทานและมีประโยชน์ด้านโภชนาการเกียวกับอาหารดีกว่าขนมอย่างอืน เพือให้คนทุกเพศทุก
วัยได้รู้จักว่าขนมข้าวแตนทีมีวางขายโดยทัวไปมีรสชาติเหมือน ๆ กัน กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้คิด
ดัดแปลงให้ขนมข้าวแตนมีสีสันทีหลายหลาย เช่น สีม่วงนํามาจากดอกอัญชัญ สีเขียวนํามาจาก
ใบเตย สีนําตาลแดงนํามาจากนําอ้อยเพือทําให้ขายได้ง่ายและเป็นทีแปลกใหม่
ผู้จัดทําโครงการชันประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง 2/1 แผนกการบัญชี ของวิทยาลัย
อาชีวศึกษาพณิชยการพิษณุโลก จํานวน 2 คน จึงมีแนวคิดทีจะจัดทําผลิตภัณฑ์ข้าวแตนเรนโบว์
ออกขายสู่ตลาดชุมชนเพือต้องการสร้างความแปลกใหม่ให้กับผู้บริโภค โดยเริมจากการทํา
แบบสอบถามประเมินความพอใจของโครงการวิชาชีพบัญชี ขนมข้าวแตน แบบประเมินผลตนเอง
ในการประเมินโครงการแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อการผลิตและจําหน่ายขนมข้าว
แตน จากประชากรกลุ่มตัวอย่าง และจัดทําแผนธุรกิจและจําหน่ายขนมข้าวแตนเสนอครูผู้สอน
พิจารณา หลังจากนันได้เข้าสู่กระบวนการผลิตและจําหน่ายจริงเป็นเวลา 1ไตรมาส ตังแต่เดือน
มิถุนายน-สิงหาคม 2556 ซึงการจัดทําครังนีจะทําให้ผู้จัดทําโครงการได้เรียนรู้ถึงการทําบัญชีรายรับ-
รายจ่ายสามารถทําให้รู้ว่าในแต่ละวันได้ทํากําไรหรือขาดทุนเท่าใดทังยังเพิมความรู้เกียวกับทางด้าน
การทําขนมมากขึนอีกด้วยและเพือเป็นรายได้เสริมให้แก่ตนเองและรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2. วัตถุประสงค์ของโครงการ
2.1 เพือศึกษาวิธีการทําขนมข้าวแตนเรนโบว์
2.2 เพือฝึกการสร้างความคิดริเริมสร้างสรรค์การทําขนมข้าวแตนทีมีสีสันหลากหลาย
2.3 เพือให้เกิดรายได้และนําไปสู่แนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
3. ขอบเขตของโครงการ
การดําเนินโครงการครังนี มีขอบเขตการดําเนินงาน เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพือ
การศึกษากระบวนการประกอบการผลิตขนมข้าวแตน เพือฝึกทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์
วิชาชีพสู่ผู้ประกอบการธุรกิจ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง (ปวส.) ชันปีที 2
แผนกบัญชี วิทยาอาชีวศึกษาพณิชยการพิษณุโลก ภาคเรียนที 1 ปีการศึกษา 2556 ทีลงทะเบียนเรียน
วิชาโครงการ(3401-6001)
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรได้แก่ นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวพณิชยการพิษณุโลก และบุคคลทัวไปโดยสุ่ม
ตัวอย่าง 30 คน
2. ตัวแปรทีศึกษา
ตัวแปรต้น ได้แก่ กระบวนการประกอบธุรกิจจําหน่ายขนมข้าวแตน
ตัวแปรตาม ได้แก่ ขนมข้าวแตน
4. ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ
4.1 สามารถเรียนรู้วิธีการทําขนมข้าวแตนเรนโบว์
4.2 ได้สร้างความคิดริเริมสร้างสรรค์การทําขนมข้าวแตนทีมีสีสันหลากหลาย
4.3 ทําให้เกิดรายได้และนําไปสู่แนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
5. วิธีการดําเนินงาน
5.1 สํารวจความต้องการของผู้บริโภค ขนมข้าวแตนเรนโบว์
5.2 วางแผนงบประมาณต่างๆ
5.3 ศึกษาขันตอน และวิธีการทําขนมข้าวแตนเรนโบว์
5.4 จัดทํางบประมาณเพือประมาณค่าใช้จ่าย และคํานวณหาจุดคุ้มทุน
5.5 จัดทําขนมข้าวแตนเรนโบว์นํามาให้กลุ่มตัวอย่างทดลองรับประทานพร้อมสอบถาม
ความพึงพอใจ
5.6 ทําการปรับปรุงและผลิตขนมข้าวแตนออกจําหน่ายในราคาถุงละ 10 บาท
6. นิยามศัพท์
6.1 การวางแผน หมายถึง กระบวนการกําหนดวัตถุประสงค์สําหรับช่วงเวลาข้างหน้า
และกําหนดสิงทีจะกระทําต่าง ๆ เพือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์การวางแผนเป้ นกระบวนการ
เกียวกับการคิดและการตัดสินใจทีละเอียดอ่อน และต้องการทําให้เสร็จสินก่อนจะมีการดําเนิน
กิจกรรม วิธีในการไปถึงเป้ าหมาย กระบวนการพิจารณาตัดสินใจในปัจจุบันว่าจะ ทําอะไร ทําโดย
ใคร และทําเพืออะไรสําหรับการปฏิบัติการทีอาจเกิดขึนในอนาคต
6.2 งบประมาณ (Budgets) คือ แผนการของธุรกิจจะแสดงออกมาในรูปแบบตัวเลข อาจ
เป็นจํานวนหน่วยการผลิตหรือรายรับ รายจ่ายการดําเนินงานซึงอาจจัดทําขึนสําหรับระยะสันหรือ
ยาว กล่าวคือ แผนระยะยาวมีระยะเวลาประมาณ 3 – 5 ปี และแผนระยะสันมีระยะเวลาประมาณ 6
เดือนหรือ 1 ปี โดยแบ่งเป็นรายเดือนหรือรายไตรมาส งบประมารจึงมักรวมหมายถึง การจัดทํา
งบประมาณและคนการควบคุมงบประมาณรวมกัน เช่นงบประมาณการขาย งบประมาณวัตถุดิบ
งบประมาณต้นทุนขายงบประมาณการผลิตสินค้า งบประมารค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน รายงาน
ต้นทุนการผลิต
6.3 การผลิต คือ การนําเอาปัจจัยการผลิตต่าง ๆ อันได้แก่ แป้ งเค้ก นม หรือวัตถุดิบอืน
แล้วนําไปผ่านกระบวนการผลิตหรือกรรมวิธีในการผลิต จนกระทังออกมาเป็นขนมข้าวแตนเรน
โบว์เพือสนองความต้องการของผู้บริโภค
6.4 วัตถุดิบ หมายถึง วัตถุดิบหลักทีใช้ในการผลิต และสามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่าใช้
ในการผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึงในปริมาณและต้นทุนเท่าใดรวมทังจัดเป็นวัตถุดิบส่วนใหญ่ทีใช้
ในการผลิตสินค้า เช่น ข้าวเหนียว นําอ้อย ใบเตย ดอกอัญชัญ แตงโม
6.5 วัตถุดิบทางตรง หมายถึง วัตถุดิบหลักทีใช้ในการผลิต และสามารถระบุได้อย่าง
ชัดเจนว่าใช้ในการผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึงในปริมาณและต้นทุนเท่าใดรวมทังจัดเป็นวัตถุดิบ
ส่วนใหญ่ทีใช้ในการผลิตสินค้าชนิดนัน ๆ เช่น ข้าวเหนียวตากแห้งทีใช้ในการทําขนมข้าวแตน
เป็นต้น
6.6 ค่าแรงงาน หมายถึง ค่าจ้างหรือผลตอบแทนทีจ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือคนงานทีทําหน้าที
เกียวข้องกับการผลิตสินค้าสําเร็จรูปโดยตรง รวมทังเป็นค่าแรงงานทีมีจํานวนมากเมือเทียบกับ
ค่าแรงงานทางอ้อมในการผลิตสินค้าหน่วยหนึง ๆ และจัดเป็นค่าแรงงานส่วนสําคัญในการแปรรูป
วัตถุดิบให้เป็นสินค้าสําเร็จรูป
6.7 ค่าใช้จ่ายในการผลิต หมายถึง แหล่งรวบรวมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับการผลิต
สินค้าซึงนอกเหนือจากวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง เช่น วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม
ค่าใช้จ่ายในการผลิตทางอ้อมอืนๆ ได้แก่ ค่านํา ค่าไฟ ค่าเช่า ค่าเสือมราคา ค่าประกันภัย ค่าภาษี เป็น
ต้น แต่อย่างไรก็ตามค่าใช่จ่ายเห่ลานีจะต้องเป็นค่าใช้จ่ายเกียวกับการดําเนินการผลิตในโรงงาน
เท่านัน ไม่รวมถึงเงินเดือน ค่าเช่า ค่าไฟฟ้ า ค่าเสือมราคา ทีเกิดขึนจากการดําเนินงานในสํานักงาน
ดังนันค่าใช้จ่ายในการผลิตจึงถือเป็นทีรวมของค่าใช้จ่ายในการผลิตทางอ้อมต่าง ๆ (cost pool of
indirect manufacturing costs) นอกจากนี ยังพบว่าในบางกรณีมีการเรียกค่าใช้จ่ายในการผลิตในชือ
อืน ๆ เช่น ค่าใช่ผลิตจ่ายโรงงาน (Factory Overhead) โสหุ้ยการ (Manufacturing Burden) ต้นทุน
การผลิตทางอ้อม (Indirect Costs) เป็นต้น
6.8 ค่าใช้จ่ายในการขาย คือ ค่าใช้จ่ายทีเกิดจากการใช้ความพยายามทางการขายและ
การตลาด โดยปกติถ้าเราต้องการให้มียอดขายสูงขึน ค่าใช้จ่ายในการขายก็จะผันแปรตาม ตัวอย่าง
ของค่าใช้จ่ายในการขาย เช่น เงินเดือนและค่าคอมมิชชันของพนักงานขาย ค่าโฆษณา
ประชาสัมพันธ์ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขายอืน ๆ เป็นต้น
6.9 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร คือ ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอืน ๆ นอกเหนือจากงานด้าน
การขายและการตลาด เช่น เงินเดือนของพนักงานในสํานักงาน (ทีไม่ใช่พนักงานขาย) ค่านําค่าไฟใน
สํานักงาน (ไม่รวมโรงงาน) ค่าเอกสาร ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ เป็นต้น
6.10 การส่งเสริมการตลาด หมายถึง กระบวนการทางด้านการติดต่อสือสารทางการตลาด
ระหว่างผู้ซือและ ผู้ขาย และผู้เกียวข้องในกระบวนการซือ เพือเป็นการให้ข้อมูลชักจูงใจ หรือตอกยํา
เกียวกับผลิตภัณฑ์และตรายีห้อ รวมทังให้เกิดอิทธิพลต่อการเปลียนแปลงความเชือ ทัศนคติ
ความรู้สึก และพฤติกรรมของเป้ าหมาย
6.11 ต้นทุนคงที คือ เป็นต้นทุนซึงจํานวนรวม จะไม่เปลียนแปลงไปกับการเปลียนแปลง
ของปริมาณการผลิตภายในช่วงทีจะพิจารณา หรือไม่ว่าปริมาณกิจกรรมเพิมขึนหรือลดลง ต้นทุน
คงทีรวมจะไม่เปลียนแปลง เช่น เงินเดือนของผู้ควบคุมตรวจตราโรงงาน ค่าเสือมราคาเครืองจักร ค่า
ประกันภัยเครืองจักร ภาษีและค่าเช่า เป็นต้น
6.12 ต้นทุนผันแปร คือ เป็นต้นทุนซึงมีจํานวนรวมทีผันแปรไปเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ
การเปลียนแปลงของกิจกรรมปริมาณกิจกรรมดังกล่าว ได้แก่ หน่วยของสินค้าทีผลิตหรือขายชัวโมง
แรงงาน ชัวโมงเครืองจักร หมายความว่าเมือผลิตสินค้าเพิมขึนหนึงหน่วย ต้นทุนก็จะเพิมขึนจํานวน
หนึงหรือเมือใช้จํานวนชัวโมงเครืองจักรในการผลิตเพิมขึน ต้นทุนก็จะเพิมขึนด้วยแต่ต้นทุนที
เพิมขึนจะหมายถึงต้นทุนรวมส่วนต้นทุนต่อหน่วยจะคงที
6.13 การจําหน่าย คือ กระบวนการวิเคราะห์ความจําเป็นและความต้องการของผู้มุ่งหวัง
และช่วยให้ค้นพบความจําเป็นความต้องการทีจะได้รับการตอบสนองด้วยความพึงพอใจจากการซือ
สินค้าและบริการทีนักขายนําเสนอเพือให้ขนมข้าวแตนเป็นสินค้าทีตลาดต้องการ
6.14 การขาย เป็ นการติดต่อลูกค้า หาผู้ส่งสินค้าจากคลังสินค้าลูกค้าก็จะมีการโอน
สินค้าออกจากบัญชีสินค้าสําเร็จรูปไปบัญชีต้นทุนขาย เมือสินงวดก็จะโอนต้นทุนขายไปยังบัญชี
กําไรขาดทุนเพือหาผลการดําเนินงานประจํางวดต่อไป
6.15 กําไรจากการดําเนินงาน คือ ผลตอบแทนทีเกิดจากการดําเนินงาน โดยมีรายได้
มากกว่าค่าใช้จ่าย
6.16 ขาดทุนจากการดําเนินงาน คือ ผลตอบแมนทีเกิดจากการดําเนินงาน โดยมีรายได้
น้อยกว่าค่าใช้จ่าย

More Related Content

Similar to 002

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
Computer
ComputerComputer
Computer
TKAomerz
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
kruthai40
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
kanwan0429
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
kanwan0429
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
yoyaeiei
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
Tsheej Thoj
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
Kittipun Udomseth
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
parkpoom11z
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 

Similar to 002 (20)

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
K3
K3K3
K3
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
ฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน (1)
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
17
1717
17
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
1
11
1
 

More from Yeah Pitloke

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลYeah Pitloke
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
Yeah Pitloke
 

More from Yeah Pitloke (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
006
006006
006
 
005
005005
005
 
004
004004
004
 
003
003003
003
 
001
001001
001
 
032
032032
032
 
044
044044
044
 
043
043043
043
 
033
033033
033
 
041
041041
041
 
045
045045
045
 
036
036036
036
 

002

  • 1. บทที 1 บทนํา 1. หลักการและเหตุผล ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง (ปวส.) พ.ศ. 2556 ได้มีการจัดการเรียนการ สอนในรายวิชาโครงการ รหัสวิชา 3401-6001 การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาดังกล่าว ครูผู้สอนได้การบูรณาการความรู้ ทักษะและประสบการณ์จากหลายๆ สาขาวิชาชีพด้านการ บริหารธุรกิจ ด้วยการนํากระบวนการทดลอง สํารวจ ประดิษฐ์คิดค้น หรือการปฏิบัติงานอย่างเป็น กระบวนการมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนจึงได้กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักศึกษา ไปสํารวจและศึกษาข้อมูลด้วยกระบวนการวิจัยเพือนํามาประกอบการทําขนมข้าวแตนประเภทที นักศึกษาสนใจในรูปแบบจําหน่ายสินค้า ของการจัดเสมือนธุรกิจจริง พร้อมทังรายงานผลการ ดําเนินงานเมือสินสุดโครงการ เนืองจากปัจจุบันมีผู้ผลิตขนมขบเคียวขึนมามากมายมีทังรสชาติทีแปลกใหม่และมีราคาสูง จนทําให้ “ขนมข้าวแตน” หรือเรียกติดปากว่า “ ขนมนางเล็ด” ไม่ค่อยเป็นทีรู้จัก เป็นขนมทีทํามา จากข้าวเหนียวราดด้วยนําตาล มีความละเอียดอ่อน ประณีตในวิธีการทํา ตังแต่วัตถุดิบวิธีการทําที กลมกลืน พิถีพิถันในเรืองรสชาติ สีสัน ความสวยงาม มีรสชาติหวานรูปลักษณะชวนรับประทาน และเก็บไว้ได้นาน คนไทยในอดีตจะทําขนมในเทศกาลหรือประเพณีต่างๆ เช่นขนมห่อจะทําวัน สารทหรือวันสงกรานต์ วันออกพรรษาจะทํากายสารทหรือทําขนมนางเล็ด ขนมหูช้างเพือใช้ในการ ประกอบประเพณีเทศมหาชาติ จึงนับว่าขนมไทยมีความสําคัญต่อประเพณีต่อเศรษฐกิจชุมชนมาก เพราะสามารถผลิตขายได้ตลอดทังปีทําให้มีรายได้เพิมกับครอบครัวและชุมชนอีกทาง ผู้จัดทําโครงการสนใจทีจะศึกษาเรืองการผลิตขนมข้าวแตนเนืองจากขนมทีขายตาม ท้องตลาดมากมายหลายชนิดไม่ว่าจะเป็น วุ้น,ขนมต้ม,ลูกชุบและอืนๆ ซึงขนมเหล่านีมีอายุการเก็บ รักษาไว้ได้ไม่นานเมือทําการขายให้หมดภายในวันหรือสองวันและมีขนมไทยเพียงไม่กีชนิดที สามารถเก็บรักษาไว้ขายได้นานมากกว่า 2 วัน อาจเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือนซึงได้แก่พวก ทอด และอบ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้จัดทําโครงการขนมข้าวแตนนีขึนเพราะขนมข้าวแตนสามารถเก็บไว้ ได้นานถึง 7 วันและไม่เสียง่าย ขนมข้าวแตนทีกลุ่มของข้าพเจ้าได้ทําขึนได้เพิมสีสันให้น่า รับประทานและมีประโยชน์ด้านโภชนาการเกียวกับอาหารดีกว่าขนมอย่างอืน เพือให้คนทุกเพศทุก วัยได้รู้จักว่าขนมข้าวแตนทีมีวางขายโดยทัวไปมีรสชาติเหมือน ๆ กัน กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้คิด ดัดแปลงให้ขนมข้าวแตนมีสีสันทีหลายหลาย เช่น สีม่วงนํามาจากดอกอัญชัญ สีเขียวนํามาจาก ใบเตย สีนําตาลแดงนํามาจากนําอ้อยเพือทําให้ขายได้ง่ายและเป็นทีแปลกใหม่
  • 2. ผู้จัดทําโครงการชันประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง 2/1 แผนกการบัญชี ของวิทยาลัย อาชีวศึกษาพณิชยการพิษณุโลก จํานวน 2 คน จึงมีแนวคิดทีจะจัดทําผลิตภัณฑ์ข้าวแตนเรนโบว์ ออกขายสู่ตลาดชุมชนเพือต้องการสร้างความแปลกใหม่ให้กับผู้บริโภค โดยเริมจากการทํา แบบสอบถามประเมินความพอใจของโครงการวิชาชีพบัญชี ขนมข้าวแตน แบบประเมินผลตนเอง ในการประเมินโครงการแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อการผลิตและจําหน่ายขนมข้าว แตน จากประชากรกลุ่มตัวอย่าง และจัดทําแผนธุรกิจและจําหน่ายขนมข้าวแตนเสนอครูผู้สอน พิจารณา หลังจากนันได้เข้าสู่กระบวนการผลิตและจําหน่ายจริงเป็นเวลา 1ไตรมาส ตังแต่เดือน มิถุนายน-สิงหาคม 2556 ซึงการจัดทําครังนีจะทําให้ผู้จัดทําโครงการได้เรียนรู้ถึงการทําบัญชีรายรับ- รายจ่ายสามารถทําให้รู้ว่าในแต่ละวันได้ทํากําไรหรือขาดทุนเท่าใดทังยังเพิมความรู้เกียวกับทางด้าน การทําขนมมากขึนอีกด้วยและเพือเป็นรายได้เสริมให้แก่ตนเองและรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพือศึกษาวิธีการทําขนมข้าวแตนเรนโบว์ 2.2 เพือฝึกการสร้างความคิดริเริมสร้างสรรค์การทําขนมข้าวแตนทีมีสีสันหลากหลาย 2.3 เพือให้เกิดรายได้และนําไปสู่แนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต 3. ขอบเขตของโครงการ การดําเนินโครงการครังนี มีขอบเขตการดําเนินงาน เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพือ การศึกษากระบวนการประกอบการผลิตขนมข้าวแตน เพือฝึกทักษะและเสริมสร้างประสบการณ์ วิชาชีพสู่ผู้ประกอบการธุรกิจ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง (ปวส.) ชันปีที 2 แผนกบัญชี วิทยาอาชีวศึกษาพณิชยการพิษณุโลก ภาคเรียนที 1 ปีการศึกษา 2556 ทีลงทะเบียนเรียน วิชาโครงการ(3401-6001) 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรได้แก่ นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวพณิชยการพิษณุโลก และบุคคลทัวไปโดยสุ่ม ตัวอย่าง 30 คน 2. ตัวแปรทีศึกษา ตัวแปรต้น ได้แก่ กระบวนการประกอบธุรกิจจําหน่ายขนมข้าวแตน ตัวแปรตาม ได้แก่ ขนมข้าวแตน
  • 3. 4. ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ 4.1 สามารถเรียนรู้วิธีการทําขนมข้าวแตนเรนโบว์ 4.2 ได้สร้างความคิดริเริมสร้างสรรค์การทําขนมข้าวแตนทีมีสีสันหลากหลาย 4.3 ทําให้เกิดรายได้และนําไปสู่แนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต 5. วิธีการดําเนินงาน 5.1 สํารวจความต้องการของผู้บริโภค ขนมข้าวแตนเรนโบว์ 5.2 วางแผนงบประมาณต่างๆ 5.3 ศึกษาขันตอน และวิธีการทําขนมข้าวแตนเรนโบว์ 5.4 จัดทํางบประมาณเพือประมาณค่าใช้จ่าย และคํานวณหาจุดคุ้มทุน 5.5 จัดทําขนมข้าวแตนเรนโบว์นํามาให้กลุ่มตัวอย่างทดลองรับประทานพร้อมสอบถาม ความพึงพอใจ 5.6 ทําการปรับปรุงและผลิตขนมข้าวแตนออกจําหน่ายในราคาถุงละ 10 บาท 6. นิยามศัพท์ 6.1 การวางแผน หมายถึง กระบวนการกําหนดวัตถุประสงค์สําหรับช่วงเวลาข้างหน้า และกําหนดสิงทีจะกระทําต่าง ๆ เพือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์การวางแผนเป้ นกระบวนการ เกียวกับการคิดและการตัดสินใจทีละเอียดอ่อน และต้องการทําให้เสร็จสินก่อนจะมีการดําเนิน กิจกรรม วิธีในการไปถึงเป้ าหมาย กระบวนการพิจารณาตัดสินใจในปัจจุบันว่าจะ ทําอะไร ทําโดย ใคร และทําเพืออะไรสําหรับการปฏิบัติการทีอาจเกิดขึนในอนาคต 6.2 งบประมาณ (Budgets) คือ แผนการของธุรกิจจะแสดงออกมาในรูปแบบตัวเลข อาจ เป็นจํานวนหน่วยการผลิตหรือรายรับ รายจ่ายการดําเนินงานซึงอาจจัดทําขึนสําหรับระยะสันหรือ ยาว กล่าวคือ แผนระยะยาวมีระยะเวลาประมาณ 3 – 5 ปี และแผนระยะสันมีระยะเวลาประมาณ 6 เดือนหรือ 1 ปี โดยแบ่งเป็นรายเดือนหรือรายไตรมาส งบประมารจึงมักรวมหมายถึง การจัดทํา งบประมาณและคนการควบคุมงบประมาณรวมกัน เช่นงบประมาณการขาย งบประมาณวัตถุดิบ งบประมาณต้นทุนขายงบประมาณการผลิตสินค้า งบประมารค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน รายงาน ต้นทุนการผลิต 6.3 การผลิต คือ การนําเอาปัจจัยการผลิตต่าง ๆ อันได้แก่ แป้ งเค้ก นม หรือวัตถุดิบอืน แล้วนําไปผ่านกระบวนการผลิตหรือกรรมวิธีในการผลิต จนกระทังออกมาเป็นขนมข้าวแตนเรน โบว์เพือสนองความต้องการของผู้บริโภค
  • 4. 6.4 วัตถุดิบ หมายถึง วัตถุดิบหลักทีใช้ในการผลิต และสามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่าใช้ ในการผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึงในปริมาณและต้นทุนเท่าใดรวมทังจัดเป็นวัตถุดิบส่วนใหญ่ทีใช้ ในการผลิตสินค้า เช่น ข้าวเหนียว นําอ้อย ใบเตย ดอกอัญชัญ แตงโม 6.5 วัตถุดิบทางตรง หมายถึง วัตถุดิบหลักทีใช้ในการผลิต และสามารถระบุได้อย่าง ชัดเจนว่าใช้ในการผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึงในปริมาณและต้นทุนเท่าใดรวมทังจัดเป็นวัตถุดิบ ส่วนใหญ่ทีใช้ในการผลิตสินค้าชนิดนัน ๆ เช่น ข้าวเหนียวตากแห้งทีใช้ในการทําขนมข้าวแตน เป็นต้น 6.6 ค่าแรงงาน หมายถึง ค่าจ้างหรือผลตอบแทนทีจ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือคนงานทีทําหน้าที เกียวข้องกับการผลิตสินค้าสําเร็จรูปโดยตรง รวมทังเป็นค่าแรงงานทีมีจํานวนมากเมือเทียบกับ ค่าแรงงานทางอ้อมในการผลิตสินค้าหน่วยหนึง ๆ และจัดเป็นค่าแรงงานส่วนสําคัญในการแปรรูป วัตถุดิบให้เป็นสินค้าสําเร็จรูป 6.7 ค่าใช้จ่ายในการผลิต หมายถึง แหล่งรวบรวมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับการผลิต สินค้าซึงนอกเหนือจากวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง เช่น วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม ค่าใช้จ่ายในการผลิตทางอ้อมอืนๆ ได้แก่ ค่านํา ค่าไฟ ค่าเช่า ค่าเสือมราคา ค่าประกันภัย ค่าภาษี เป็น ต้น แต่อย่างไรก็ตามค่าใช่จ่ายเห่ลานีจะต้องเป็นค่าใช้จ่ายเกียวกับการดําเนินการผลิตในโรงงาน เท่านัน ไม่รวมถึงเงินเดือน ค่าเช่า ค่าไฟฟ้ า ค่าเสือมราคา ทีเกิดขึนจากการดําเนินงานในสํานักงาน ดังนันค่าใช้จ่ายในการผลิตจึงถือเป็นทีรวมของค่าใช้จ่ายในการผลิตทางอ้อมต่าง ๆ (cost pool of indirect manufacturing costs) นอกจากนี ยังพบว่าในบางกรณีมีการเรียกค่าใช้จ่ายในการผลิตในชือ อืน ๆ เช่น ค่าใช่ผลิตจ่ายโรงงาน (Factory Overhead) โสหุ้ยการ (Manufacturing Burden) ต้นทุน การผลิตทางอ้อม (Indirect Costs) เป็นต้น 6.8 ค่าใช้จ่ายในการขาย คือ ค่าใช้จ่ายทีเกิดจากการใช้ความพยายามทางการขายและ การตลาด โดยปกติถ้าเราต้องการให้มียอดขายสูงขึน ค่าใช้จ่ายในการขายก็จะผันแปรตาม ตัวอย่าง ของค่าใช้จ่ายในการขาย เช่น เงินเดือนและค่าคอมมิชชันของพนักงานขาย ค่าโฆษณา ประชาสัมพันธ์ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมการขายอืน ๆ เป็นต้น 6.9 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร คือ ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานอืน ๆ นอกเหนือจากงานด้าน การขายและการตลาด เช่น เงินเดือนของพนักงานในสํานักงาน (ทีไม่ใช่พนักงานขาย) ค่านําค่าไฟใน สํานักงาน (ไม่รวมโรงงาน) ค่าเอกสาร ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ เป็นต้น 6.10 การส่งเสริมการตลาด หมายถึง กระบวนการทางด้านการติดต่อสือสารทางการตลาด ระหว่างผู้ซือและ ผู้ขาย และผู้เกียวข้องในกระบวนการซือ เพือเป็นการให้ข้อมูลชักจูงใจ หรือตอกยํา
  • 5. เกียวกับผลิตภัณฑ์และตรายีห้อ รวมทังให้เกิดอิทธิพลต่อการเปลียนแปลงความเชือ ทัศนคติ ความรู้สึก และพฤติกรรมของเป้ าหมาย 6.11 ต้นทุนคงที คือ เป็นต้นทุนซึงจํานวนรวม จะไม่เปลียนแปลงไปกับการเปลียนแปลง ของปริมาณการผลิตภายในช่วงทีจะพิจารณา หรือไม่ว่าปริมาณกิจกรรมเพิมขึนหรือลดลง ต้นทุน คงทีรวมจะไม่เปลียนแปลง เช่น เงินเดือนของผู้ควบคุมตรวจตราโรงงาน ค่าเสือมราคาเครืองจักร ค่า ประกันภัยเครืองจักร ภาษีและค่าเช่า เป็นต้น 6.12 ต้นทุนผันแปร คือ เป็นต้นทุนซึงมีจํานวนรวมทีผันแปรไปเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ การเปลียนแปลงของกิจกรรมปริมาณกิจกรรมดังกล่าว ได้แก่ หน่วยของสินค้าทีผลิตหรือขายชัวโมง แรงงาน ชัวโมงเครืองจักร หมายความว่าเมือผลิตสินค้าเพิมขึนหนึงหน่วย ต้นทุนก็จะเพิมขึนจํานวน หนึงหรือเมือใช้จํานวนชัวโมงเครืองจักรในการผลิตเพิมขึน ต้นทุนก็จะเพิมขึนด้วยแต่ต้นทุนที เพิมขึนจะหมายถึงต้นทุนรวมส่วนต้นทุนต่อหน่วยจะคงที 6.13 การจําหน่าย คือ กระบวนการวิเคราะห์ความจําเป็นและความต้องการของผู้มุ่งหวัง และช่วยให้ค้นพบความจําเป็นความต้องการทีจะได้รับการตอบสนองด้วยความพึงพอใจจากการซือ สินค้าและบริการทีนักขายนําเสนอเพือให้ขนมข้าวแตนเป็นสินค้าทีตลาดต้องการ 6.14 การขาย เป็ นการติดต่อลูกค้า หาผู้ส่งสินค้าจากคลังสินค้าลูกค้าก็จะมีการโอน สินค้าออกจากบัญชีสินค้าสําเร็จรูปไปบัญชีต้นทุนขาย เมือสินงวดก็จะโอนต้นทุนขายไปยังบัญชี กําไรขาดทุนเพือหาผลการดําเนินงานประจํางวดต่อไป 6.15 กําไรจากการดําเนินงาน คือ ผลตอบแทนทีเกิดจากการดําเนินงาน โดยมีรายได้ มากกว่าค่าใช้จ่าย 6.16 ขาดทุนจากการดําเนินงาน คือ ผลตอบแมนทีเกิดจากการดําเนินงาน โดยมีรายได้ น้อยกว่าค่าใช้จ่าย