SlideShare a Scribd company logo
1 of 86
17/11/57 1
ยารักษาวัณโรค
(Antituberculotic drug)
ยาต้านไวรัส
(Antiviral agents)
ยาต้านเชื้อรา
(Antifungal drugs)
ยารักษามาลาเรีย
(Antimalarial Drugs)
Antiherpes and
Anti-cytomegalovirus agents
Antiretrovirus agents
First-line drug (ยาอับดับแรก)
Second-line drug (ยาอันดับสอง)
Systemic drugs for systemic infections
Systemic drugs for mucocutaneous
infections
Topical drugs for mucocutaneous infections
Quinoline
สารอนุพันธุ์ Artemisnin
Tetracycline
Anti-influenza agents
Antihepatitis virus agents
ยาต้านไวรัส
(Antiviral agents)
17/11/57 2
ชนิดยาต้านไวรัสตามการแบ่งตามชนิดของไวรัส
1. Antiherpes and Anti-cytomegalovirus agents
ยาต้านเชื้อเริม และ CMV
2. Antiretrovirus agents ยาต้านเชื้อไวรัส HIV
3. Anti-influenza agents ยาต้านเชื้อไข้หวัดใหญ่
4. Antihepatitis virus agents ยาต้านเชื้อไวรัสตับอักเสบ
17/11/57 3
1.Antiherpes and Anti-cytomegalovirus agents
ยาต้านเชื้อเริม และ CMV
•Foscarnet
•Trifluridine
17/11/57 4
1. Acyclovir
• **กลไก:จะยับยั้งการสังเคราะห์ DNA ของไวรัส
– โดยยับยั้งเอนไซม์ viral DNA polymerase
– ยาเข้าแทรกใน viral DNA ทาให้เกิด
***chain termination***
(หยุดการสร้างสาย DNA)
• ยาตัวอื่นๆ : Valacyclovia,
Pencyclovia,Famciclovia
17/11/57
5
Acyclovir
• การนาไปใช้ทางคลินิก:
– herpes simplex1และ2 (herpes labialis, herpes genitalis)
– herpes zoster(งูสวัด)
– CMV(cytomegalovirus )
อาการข้างเคียง: คลื่นไส้, อาเจียน, ปวดศีรษะ, renal
toxicity, neurotoxicity , ปวดแสบปวดร้อน ผื่นที่ผิวหนัง,
ชนิดป้ ายตา: อาจมีน้าตาไหล กลัวแสง และเคืองตา
17/11/57 6
Gancyclovir
• กลไก: ยับยั้งเอนไซม์ DNA polymerase และทาให้เกิด viral DNA
termination
• การนาไปใช้ทางคลินิก : Gancyclovir มีฤทธิ์ต่อ cytomegalovirus
(CMV) มากกว่า acyclovir 100 เท่า ****
– รูปแบบฉีด ใช้ในการรักษา retinitis ที่เกิดจาก CMV,
CMV colitis, CMV esophagitis, CMV pneumonitis
- รูปแบบรับประทาน ใช้ป้ องกัน end organ disease
ในผู้ป่วยเอดส์
17/11/57 7
• อาการข้างเคียง:
• myelosuppression โดยเฉพาะทาให้เกิด neutropenia
• พิษต่อระบบประสาทได้แก่ headache, changes in
mental status, seizures
17/11/57 8
2. Antiretroviral agents
• ยาต้าน HIV (Human immunodeficiency virus) ที่ใช้ในปัจจุบันมี 2 กลุ่ม
ใหญ่
1.Reverse transciptase inhibitor (RTIs)
กลไก:
ยับยั้ง เอนไซม์ reverse transcriptase เป็นเอนไซม์ของ Retro virus ที่ใช้ในการ
เปลี่ยนแปลง RNA ให้เป็น DNA
ยาจะ เข้าไปใน viral DNA ทาให้เกิด chain termination
มี 2กลุ่ม1.1Nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NRTIs)
1.2Non- Nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NNRTIs)
17/11/57 9
ยาต้าน HIV
2. Protease inhibitor (PIs)
กลไก:
– ยับยั้ง เอนไซม์ viral protease ที่ใช้ในการตัด polyprotein
ของไวรัส
– ทาให้ไวรัสไม่สามารถแบ่งตัวได้
17/11/57 10
Nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NRTIs)
Zidovudine (Azidothymidine, AZT)
• ช่วยลดการเกิดอาการแสดงทางคลินิก ช่วยทาให้ผู้ป่วยมีชีวิต
ยืนยาวขึ้น ระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วยดีขึ้น
• ช่วยลดการติดเชื้อเอดส์จากแม่สู่ลูก
• ควรให้ยาในรูป combination กับยาชนิดอื่น
• อาการข้างเคียง : myelosupression (anemia, neutropenia,
thrombocytopenia) GI intolerance, headache, insomnia, และ
myopathy
17/11/57 11
Didanosine (ddI)
• รักษาผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีการติดเชื้อ HIV ขั้นรุนแรง ที่ไม่สามารถทนต่อยา
หรือมีการตอบสนองทางคลินิกหรือทางภูมิคุ้มกันลดลง เมื่อใช้
zidovudine (AZT)
• ปัจจุบันสามารถใช้เป็น first-line drug หรือใช้ร่วมกับยาอื่นๆในการรักษา
ผู้ป่วยติดเชื้อHIV
• อาการข้างเคียง: pancreatitis, peripheral neuropathy, diarrhea, hepatitis
17/11/57 12
Lamivudine (3TC)
ใช้ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV โดยใช้ร่วมกับ zidovudine (AZT) ไม่ใช้
เดี่ยวๆเพราะเชื้อดื้อยาได้เร็วมาก
อาการข้างเคียงที่พบได้แก่ headache, insomnia และ fatigue
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มี hypersensitivity
Stavudine (d4T)
ดูดซึมได้ดี อาหารไม่รบกวนการดูดซึม
อาการข้างเคียง: peripheral neuropathy, pancreatitis, arthralgia
และการเพิ่มขึ้นของระดับเอนไซม์ aminotransferase
17/11/57 13
Non-nucleoside reverse transcriptase inhibitors
(NNRTIs)
• การใช้ยากลุ่มนี้การดื้อยามักเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว จึงไม่ควรใช้ยานี้เดี่ยวๆ
• ไม่มีการดื้อยาข้ามกลุ่มระหว่าง NRTIs และ NNRTIs หรือ protease
inhibitors
• Nevirapine, Delavirdine, Ritonavir,
Efavirenz
17/11/57 14
Nevirapine
• combination ในการรักษาการติดเชื้อ HIV เช่น GPO vir
• สามารถป้องกันการ transmission ของ HIV จากแม่สู่ลูกได้ด้วย
• อาการข้างเคียง: skin rash (ถ้ารุนแรง Steven Johnson syndrome),
fulminant hepatitis, fever, nausea, headache และ somnolence
Delavirdine
• อาการข้างเคียง: skin rash, headache, fatigue, nausea และdiarrhea
ไม่ควรใช้ delavirdine ขณะที่ตั้งครรภ์เนื่องจากการศึกษาในสัตว์ทดลอง
พบว่าทาให้ทารกพิการ
17/11/57 15
Ritonavir
• ยาดูดซึมได้ดีขึ้นเมื่อให้ร่วมกับอาหาร
• ค่อยๆเพิ่มขนาดยาทีละน้อยเพื่อลดการเกิดอาการไม่พึงประสงค์
• ยาขับทางอุจจาระเป็นหลัก และต้องระมัดระวังการให้ยาในผู้ป่วย โรคตับ
• อาการข้างเคียง: GI disturbances, มีระดับของระดับเอนไซม์
aminno transferase เพิ่มขึ้น, altered taste, nausea, vomiting
abdominal pain และ hypertriglyceridemia
การให้ ritonavir ร่วมกับ PIs ชนิดอื่น
ทาให้ช่วยเพิ่มระดับยา PIs ชนิดอื่นๆ
เช่น ให้ ritonavir ร่วมกับ
saquinavir
17/11/57 16
**หลักการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์
 การใช้ยาจะไม่ให้ยาเดี่ยวๆเนื่องจากมีการดื้อยาได้ง่าย
 ต้องให้ยาอย่างน้อย 3 ชนิดเรียกว่าเป็น Highly Active
Antiretroviral Therapy (HAART)
 โดยให้ยากลุ่ม NNRTIs 1ชนิด ร่วมกับ NRTIs 2 ชนิด หรือ
PIs 1 ชนิดร่วมกับ NRTIs 2 ชนิด
 คานึงถึงการเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา และอาการไม่พึงประสงค์
17/11/57 17
การรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์อย่างถูกวิธี
การรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์อย่างถูกวิธี และสม่าเสมอเป็นหัวใจ
หลักในการรักษาโรคติดเชื้อHIV
รับประทานทุก 12 ชั่วโมง ตรงเวลา ยาถึงจะได้ประสิทธิภาพ
ลืมเพียงแค่ 3 มื้อต่อเดือนทาให้เชื้อดื้อต่อยาได้
ส่งผลให้ภูมิต้านทานต่าลง
และต้องเปลี่ยนยา
17/11/57 18
3. Anti-influenza agents
Amantadine & Rimantadine
• ออกฤทธิ์: ยับยั้ง uncoating ของ viral RNA ใน influenza A virus
ยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัส
• มีฤทธิ์ป้องกัน influenza A ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง และบรรเทาอาการ
แสดงทางคลินิก/ลดระยะเวลาที่เป็น influenzaได้ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ
• แต่เชื้อเกิดการดื้อยาได้อย่างรวดเร็ว
• อาการข้างเคียง: GI intolerance, CNS (nervousness, difficulty
in concentrating, lightheadedness)
17/11/57 19
4. Anti-hepatitis virus
Interferons (IFN)
• มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสได้ โดยที่ IFN จะเหนี่ยวนาให้ host สร้างเอนไซม์ที่ยับยั้ง
การ translation ของ viral mRNA ไปเป็น viral protein จึงยับยั้งการสร้าง
virus
• ได้ IFN ให้โดยการฉีดเข้าทางเส้นเลือดดาหรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
Interferon -2a
• ได้รับการอนุมัติให้ใช้ในการรักษา chronic hepatitis C
• ใช้ในการรักษา AIDS associated kaposi’s sarcoma, hairy cell
leukemia, chronic myelogenous leukemia
17/11/57 20
Ribavirin
• กลไก: ยังไม่ทราบแน่ชัดแต่คาดว่า รบกวนการสังเคราะห์ guanosine
triphosphate และยับยั้ง viral RNA-dependent RNA polymerase
• สามารถยับยั้ง ทั้ง Hepatitis C virus, influenza A, B
• การให้ IFN ร่วมกับ ribavirin ให้ประสิทธิภาพในการรักษาที่ดีมากกว่าการใช้
IFN เดี่ยวๆ
อาการข้างเคียง: Hemolytic anemia, depression, suicidal behavior
• เฝ้าระวังอาการทางจิตเวท เช่น ภาวะซึมเศร้า มีความคิดฆ่าตัวตาย
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และให้นมบุตร ขณะใช้ยา
ต้องคุมกาเนิด เพราะยาทาให้ทารกพิการ
17/11/57 21
การประเมินภาวะสุขภาพ
ซักประวัติ:
• ประวัติเกี่ยวกับการใช้ยาต้านไวรัส และการใช้ยาอื่นๆ
• การได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ยา การแพ้ยา
• ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต และโรคประจาตัว
• พฤติกรรมการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น รับประทานอาหาร การทางาน การออกกาลัง
กาย และการนอนหลับพักผ่อน
ตรวจร่างกาย: สัญญาณชีพ ตรวจลักษณะผิวหนังทั่วร่างกาย เยื่อบุ หนังศีรษะ ตรวจการ
ติดเชื้อของผิวหนังบริเวณต่างๆ ตรวจลักษณะรอยโรค ตรวจร่างกายระบบทรวงอกและ
ปอด
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC, LFT, BUN, Cr เป็นต้น
17/11/57 22
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เสี่ยงต่อการเกิดภาวะซีด เนื่องจากได้รับผลข้างเคียงจากการได้รับยา AZT
• มีโอกาสเกิดภาวะไตเสียหน้าที่ เนื่องจากได้รับยา acyclovia ทางหลอดเลือด
ดา
• การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากได้รับผลข้างเคียงจากการได้รับยา
lamivudine
17/11/57 23
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัส
• ประเมินภาวะสุขภาพของผู้ป่วยก่อนให้ยาต้านไวรัส
• สังเกตและประเมินอาการข้างเคียงของยาแต่ละชนิด
(ดูผลข้างเคียงของยาแต่ละชนิดตามรายละเอียดข้างต้น )
• ให้ยาโดยคานึงถึงหลัก 6 right ทุกครั้งที่ให้ยา
17/11/57 24
acyciovir
• การให้ทางหลอดเลือดดาต้องระวังไม่ให้มียารั่วออกนอกเส้นเลือด เพราะจะ
ทาให้เนื้อเยื่อเกิดอาการอักเสบอย่างรุนแรง
• ปริมาณความเข้มข้นของ acyclovir ที่ให้โดยการ infusion ไม่ควรเกิน 7
มิลลิกรัม/มิลลิลิตร
• ต้องมีการเพิ่มปริมาณน้าเข้า เพื่อให้มีปริมาณปัสสาวะมากพอเพื่อให้เกิด
ภาวะสมดุลที่จะป้องกันไม่ให้มีการตกตะกอนของ acyclovir ในท่อไต
17/11/57 25
AZT
• ควรระวังและต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ในกรณีต่อไปนี้ เป็นโรคของไขกระดูก โลหิต
จางหรือ ผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็งและทาการรักษาอยู่
ddl
• การรับประทานยาทาได้ 2 วิธี คือ เคี้ยวให้ละเอียดก่อนกลืน หรือบดหรือทาให้แตกตัว
ในน้าอย่างน้อย 30 มล. คนให้ตัวยาละลายเป็นเนื้อเดียวกันแล้วดื่มทันทีจนหมด
• แนะนาผู้ป่วย ถ้ามีอาการแสดงปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน หรือมีระดับเอนไซม์
amylase เพิ่มขึ้นซึ่งอาจเป็นอาการจากตับอ่อนอักเสบ ควรหยุดยาทันที
• ควรติดตามระดับโปแตสเซียมในเลือดอย่างสม่าเสมอ
17/11/57 26
Lamivudine (3tc)
• ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มี hypersensitivity
ยาในกลุ่ม PIs
• แนะนาเรื่องอาการข้างเคียงที่พบบ่อยคือ การเปลี่ยนแปลงการสะสมไขมันในร่างกาย
• แนะนาให้ดื่มน้ามากๆในผู้ป่วยที่รับประทาน indinavir เพราะยาตกตะกอน
• ยาamprenavir หากจาเป็นต้องรับประทานร่วมกับ ddl หรือยา antacid ควรเว้น
ระยะห่าง 1-2 ชั่วโมง
ยากลุ่ม IFN
• ระวังภาวะติดเชื้อง่าย เลือดออกง่าย ติดตามผล WBC และ platelet
• เฝ้าระวังอาการทางจิตเวท เช่น ภาวะซึมเศร้า มีความคิดฆ่าตัวตาย เป็นต้น
Amantadine และ Rimantadine
• ห้ามใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และหลีกเลี่ยงใช้ยาในผู้ป่วย peptic ulcer17/11/57 27
17/11/57 28
หลักการใช้ยารักษาวัณโรค
ต้องใช้เวลาหลายเดือนหรือเป็นปี เพราะเชื้อแบ่งตัวช้า
ยาที่มีผลฆ่าเฉพาะเชื้อวัณโรคที่กาลังแบ่งตัวเท่านั้น ไม่สามารถ
ฆ่าเชื้อที่ไม่แบ่งตัว หรืออยู่ในระยะสงบได้
ต้องให้ยาระยะเวลานาน เพื่อให้ยาฆ่าเชื้อที่กาลังแบ่งตัวได้ จน
ยากาจัดเชื้อได้หมด
ปัจจุบันให้ยามีทั้งระยะสั้น ( 6-8 เดือน ) และระยะยาว (1-2ปี)
17/11/57 29
ในปัจจุบันมีการแบ่งกลุ่มยาเป็น 2 กลุ่มคือ
**First-line drug (ยาอับดับแรก)
เป็นยาหลักตัวแรกในการรักษาวัณโรคที่
ผู้ป่วยได้รับยาครั้งแรก เพราะได้ผลดีในการ
รักษา
Isoniazid (INH, H)
rifampicin (R)
streptomycin (S)
pyrazinamide (Z)
Thiacetozone(T)
ethambutol (E)
**Second-line drug (ยาอันดับสอง )
จะใช้ยากลุ่มนี้เมื่อเชื้อดื้อต่อยาหลัก ราคาแพง มี
ประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อวัณโรคปานกลาง และ
มีผลข้างเคียงสูง
Para-aminosalisylic acid (PAS)
Ethionamide (ETA, ETO)
Cycloserine (CS)
Kanamycin (KM)
Ofloxacin (O, Of)
17/11/57 30
1. First-line drug
Isoniazid (INH, H)
เป็นยาที่ใช้รักษาวัณโรคมานานเกือบ 40 ปี มีราคาถูก
มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อสูงมาก ฆ่าได้ทั้งที่อยู่ในเซลล์ และนอกเซลล์ ซึมเข้าสู่
เนื้อเยื่อต่างๆ รวมทั้งเยื่อหุ้มสมองได้รวดเร็ว
เป็นยาหลักที่ใช้รักษาวัณโรค ทั้งในการรักษาแบบธรรมดา และการรักษาแบบ
ระยะสั้น
โดยเป็นยาหลักร่วมกับยาตัวอื่น ๆ นอกจากนี้ยังใช้เป็นยาเดี่ยว ในกรณี
ป้องกันการกาเริบของโรค
17/11/57 31
กลไกการออกฤทธิ์
กลไกการออกฤทธิ์ของยานี้ยังไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่า
เกิดจากยายับยั้งการสังเคราะห์ ผนังเซลล์ของเชื้อ
ยับยั้งกระบวนการเมตะบอลิสม์ต่างๆ ที่ต้องอาศัยออกซิเจนของเชื้อ
ขัดขวางการสังเคราะห์ DNA
ทาให้เกิดการสะสมของ toxic pigments ภายในเซลล์ของเชื้อ
17/11/57 32
อาการข้างเคียง
พิษต่อระบบประสาท ทาให้ประสาทปลายอักเสบ เวียนศีรษะ
ซึม อาการโรคจิตชัก และประสาทตาอักเสบ
พิษต่อตับ
ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ และระวังการใช้ยาในผู้ป่วย
ที่มีภาวะพร่องเอนไซม์ G-6PD
17/11/57 33
Rifampicin (R,RMP)
กลไกการ:ขัดขวางการสร้าง RNA ของเชื้อ และรบกวนการทางานของเอนไซม์
DNA polymerase
มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรครองลงมาจาก Isoniazid
อาการข้างเคียง: คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ตับอักเสบ Thombocytopenia
flu like syndrome ;ไข้หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อกระดูก
17/11/57 34
Pyrazinamide (PZA, Z)
ใช้ในการกาจัดเชื้อโรคที่หลบซ่อนอยู่ในเซลล์ macrophage บริเวณ
ดังกล่าวมีสภาวะเป็นกรดอ่อนซึ่งเหมาะต่อการออกฤทธิ์ของยา
bactericidal ออกฤทธิ์ได้ดีภาวะที่เป็นกรดอ่อน pH ประมาณ 5.0-
5.5
ใช้ร่วมกับยา isoniazid และ rifampicin
กลไกการออกฤทธิ์: ยังไม่ทราบชัด คาดว่ายาขัดขวางการใช้
nicotinamide ในกระบวนการ dehydrogenation ของเชื้อ
17/11/57 35
กลไกการออกฤทธิ์
อาการข้างเคียง: พิษต่อตับ แพ้แสง, เบื่ออาหาร, คลื่นไส้
อาเจียน, เป็นไข้ อ่อนเพลีย
ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ และ
คนไข้ที่มีประวัติ เป็นโรคข้ออักเสบ gout
17/11/57 36
Ethambutol (EMB,E)
เป็นยาที่นิยมใช้ร่วมกับ isonizid และ rifampicin ในการ
รักษาวัณโรค
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการดื้อยาของเชื้อ ช่วยให้ผลในการ
รักษาดีขึ้น
ยานี้ไม่เหมาะสมที่จะใช้กับเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี เพราะ
อาจเกิดพิษต่อประสาทตา
17/11/57 37
กลไกการออกฤทธิ์
ยังไม่ทราบชัด
อาจเกิดจากยาขัดขวางไม่ให้ mycolic acid เข้าไปรวมตัวกับผนังเซลล์
เกิดจากการขัดขวางการสังเคราะห์ RNA
**อาการข้างเคียง :
optic neuritis คือ ตามัว ตาบอดสี
Hyperuricemia
อาการแพ้ยาเป็นไข้ อ่อนเพลีย ปวดตามข้อ ปวดศีรษะ มีผื่นขึ้น
17/11/57 38
ข้อควรระวังและห้ามใช้
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีประสาทตาอักเสบ
ควรใช้ยานี้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตา เช่น ต้อ
กระจก diabetic retinopathy
ควรลดขนาดลงในผู้ป่วยโรคไต
17/11/57 39
2. Second-line drug
Para-aminosalisylic acid (PAS)
กลไกการออกฤทธิ์: เหมือนกับยาในกลุ่ม sulfonamides ยับยั้งการสร้าง
กรดโฟลิกของเชื้อ
อาการข้างเคียง: คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดท้อง ท้องเดิน เป็น
ไข้ อ่อนเพลีย ปวดตามข้อ มีผื่นขึ้น เยื่อบุตาขาวอักเสบ มีความปกติ
ในเม็ดเลือด ตับอักเสบ
**อาจเกิดภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่า
ซึ่งเป็นอันตรายต่อภาวะหัวใจวาย
17/11/57 40
Ethionamide (ETO, ETA)
ใช้รักษาวัณโรคในกรณีที่เชื้อดื้อต่อยา โดยใช้ร่วมกับยาต้านวัณโรค
ชนิดอื่น
กลไก: ไม่ทราบแน่ชัด คาดว่ายับยั้งการสังเคราะห์ mycolic acid
ของเชื้อ และขัดขวางกระบวนการ dehydrogenation ต่าง ๆ ของ
เชื้อด้วย
ยานี้มีการดื้อยาข้ามพวกกับ thiacetazone ได้
17/11/57 41
อาการข้างเคียง
ต่อระบบทางเดินอาหาร เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน รายมี
อาการรุนแรงถึงกับต้องหยุดยา แต่ลดลงได้ถ้าให้กินพร้อมกับอาหาร
ยามีพิษต่อระบบประสาท อาการปวดศีรษะ ง่วงนอน มึนงง กระสับกระส่าย
อาการผิดปกติทางจิต มือสั่น ภาวะซึม เศร้า
อาการผิดปกติของการมองเห็น ได้แก่ เห็นภาพไม่ชัด หรือเห็นภาพซ้อน
พิษต่อตับ ทาให้เกิดตับอักเสบ เป็นปกติเมื่อหยุดยา
17/11/57 42
Cycloserine (CS)
ข้อบ่งใช้ ยานี้ใช้เพื่อรักษาโรควัณโรค ที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ
แบคทีเรีย ในผู้ที่รักษาด้วยยาชนิดอื่นไม่ได้ผล
กลไกการออกฤทธิ์: ยับยั้ง cell wall synthesis
อาการข้างเคียง: peripheral neuropathy และ CNS
dysfunction เช่น ปวดศีรษะ มึนงง ซึมเศร้า ชัก tremor และ
vertigo
17/11/57 43
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยารักษาวัณโรค
ประเมินผลข้างเคียงของยาแต่ละตัวที่ผู้ป่วยได้รับ (รายละเอียดตามเนื้อหา
ข้างต้น)
ให้ยาโดยคานึงถึงหลัก 6 right ทุกครั้งที่ให้ยา
แนะนาเกี่ยวกับการรับประทานยาดังนี้
รับประทานยาต้านวัณโรคตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด ติดต่อกันทุกวัน
เป็นเวลานาน 6-8 เดือน ตามสูตรที่แพทย์กาหนด อย่าหยุดยาเองถึงแม้
อาการจะดีขึ้นแล้ว เพราะจะทาให้เกิดปัญหาเชื้อโรคดื้อยา กลายเป็นวัณ
โรคเรื้อรังรักษายาก
17/11/57 45
Isoniazid:
ไม่ควรรับประทานร่วมกับยาที่มีส่วนผสมกับ aluminium เพราะทาให้การ
ดูดซึมของยาลดลง ควรรับประทานตอนท้องว่าง จะทาให้ดูดซึมยามากขึ้น
หลีกเลี่ยงการทางานกับเครื่องจักร หรือการขับขี่ยานพาหนะ
งดดื่มสุรา เพราะเพิ่มความเป็นพิษต่อตับ
Rifampicin:
แนะนาว่าขณะใช้ยาจะทาให้ปัสสาวะ อุจจาระ และสารคัดหลั่งต่างๆ มีสีส้ม
แดง
ขณะใช้ยาอาจเกิดอาการคล้ายมีไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อและกระดูก
Para-amino-salicylic acid :
เฝ้าระวังการเกิดภาวะโปแตสเซียมต่า
17/11/57 46
Ethambutal:
ตรวจการมองเห็นขณะใช้ยา ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตาไม่ควรใช้ยานี้
Thiacetazone:
ถ้ามีผื่นหยุดยา อาจเกิด การแพ้ยาแบบ steven-johnson syndrome
Pyrazinamide:
ผู้ป่วยโรคเกาต์ โรคตับ ควรหลีกเลี่ยง ระวังการแพ้แดดขณะใช้ยา
Streptomycin, Kanamycin:
ขณะใช้ยาควรตรวจการได้ยิน และตรวจการทางานของไต
17/11/57 47
การประเมินผล
การดูประสิทธิภาพของการรักษา หลังจากการใช้ยา
การสังเกตอาการข้างเคียง อาการแทรกซ้อนจากการใช้ยา
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการต่างๆและตรวจพิเศษต่างๆ เช่น CBC,
LFT, Cr, CXR, sputum, AFB เป็นต้น
17/11/57 48
ยาต้านเชื้อรา
(Antifungal drugs)
17/11/57 49
ยาต้านเชื้อราสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
Systemic drugs for systemic infections
Systemic drugs for mucocutaneous
infections
Topical drugs for mucocutaneous infections
17/11/57 50
Systemic antifungal drugs for systemic
infections (ยาต้านเชื้อราในร่างกาย)
Amphotericin B
Amphotericin B ได้จากเชื้อ Streptomyces nodosus.
ไม่ละลายน้า และดูดซึมได้ไม่ดีจากทางเดินอาหาร
นิยมให้ยาทางหลอดเลือดดา ยากระจายเข้าสู่เนื้อเยื่อต่างๆได้ดี แต่
เข้าสู่ CSF ได้เพียงเล็กน้อย
17/11/57 51
**กลไกการออกฤทธิ์
• เซลล์เมมเบรนของเชื้อรามีคุณสมบัติ ประกอบด้วย sterol ชนิด Ergosterol
ยาออกฤทธิ์โดยการเข้าจับกับ ergosterol และเปลี่ยน permeability ของ
เซลล์เมมเบรน
• โดยที่ amphotericin B จะทาให้เกิดรู (pore) ขึ้นที่เซลล์เมมเบรน
และทาให้สารต่างๆ ไหลออกนอกเซลล์ และทาให้เซลล์ตาย
17/11/57 52
การนายาไปใช้ทางคลินิก
• Amphotericin Bเป็นยาต้านเชื้อราที่มีฤทธิ์ครอบคลุมกว้างมากที่สุด
• เป็น drug of choice ในการรักษาการติดเชื้อราในร่างกายที่รุนแรงเช่น เยื้อหุ้ม
สมองอักเสบ ปอดอักเสบจากเชื้อรา
• ปัจจุบันมีรูปแบบ local administration ด้วย topical drops รักษาตาอักเสบจาก
เชื้อรา ชนิดฉีดเข้าที่ข้อโดยตรง ชนิด ครีม โลชั่น
17/11/57 53
อาการข้างเคียง
• จากการ infusion ยาเข้าสู่เส้นเลือดดา: fever, chills, muscle
spasms, vomiting, headache, hypotension
– แก้ไขได้โดยการ infusion ยาให้ช้าลงและลดขนาดยาที่ใช้ต่อวันลง
• อาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นได้ช้า: nephrotoxicity หากให้ยาเป็น
ระยะเวลานานจะทาให้เกิดทาลายไต
– potassium และ magnesium ต่า
– ตับวาย anemia
17/11/57 54
Flucytosine (5-FC)
• 5-FC มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อราที่แคบกว่า Amphotericin B มาก
• ยาให้โดยการรับประทาน ยาดูดซึมได้ดี และกระจายเข้าสู่เนื้อเยื่อต่างๆได้
ดี รวมทั้ง CSF
• กลไก: 5-FC ถูกนาเข้าเซลล์ ยาจะถูกเปลี่ยนเป็น 5-FU และจะถูก
เปลี่ยนแปลงต่อให้อยู่ในรูปของ active form ซึ่งมีฤทธิ์ในการยับยั้งการ
สังเคราะห์ DNA และ RNA
17/11/57 55
การนาไปใช้ทางคลินิก
ไม่ใช้ยา 5-FC เดี่ยวๆจะใช้ร่วมกับยาอื่นๆเพื่อ
- ช่วยเสริมฤทธิ์กัน
- ป้องกันการเกิดการดื้อยาได้
**5-FC + amphotericin B
สาหรับ cryptococcal meningitis
17/11/57 56
อาการข้างเคียง
• เกิดจากการเปลี่ยนแปลง 5-FC ไปเป็น toxic compound คือ
fluorouracil
• อาการที่พบได้แก่ การกดไขกระดูก (anemia, leukopenia,
thrombopenia ) คลื่นไส้อาเจียน ผื่นแพ้
ห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์เพราะอาจทา
ให้ทารกพิการได้
17/11/57 57
Azoles
ยาในกลุ่มนี้เป็นยาสังเคราะห์ที่มีสูตรโครงสร้างเป็น azole
เป็นกลุ่มยาที่มีความสาคัญในการรักษา systemic fungal infection
แบ่งตามสูตรโครงสร้างออกได้เป็น 2 กลุ่ม
Triazole : Itraconazole, Fluconazole, Voriconazole
Imidazole : Ketoconazole, Miconazole, Clotrimazole
มีทั้งในรูปแบบยารับประทาน, ยาฉีด และยาทาภายนอก
17/11/57 58
กลไกการออกฤทธิ์
• ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์โดยการยับยั้ง Fungal cytochrome P 450 enzyme
• ลดการสังเคราะห์ ergosterol ซึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญของ เซลล์เมมเบรนของ
เชื้อรา
•Triazole ยามีความชอบต่อ
fungal enzyme มากกว่า
human enzyme
•แต่กลุ่ม Imidazole มี
ความจาเพาะเจาะจงต่อ fungal
enzyme น้อยกว่าจึงก่อให้เกิด
อาการไม่พึงประสงค์ได้
17/11/57 59
การนาไปใช้ทางคลินิก
• ยาในกลุ่มนี้ค่อนข้างมีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อราที่กว้างมีผลต่อทั้ง Candida
species, Cryptococcus neoformans, histoplasmosis,
dermatophytes (ก่อโรคเชื้อราที่ผิวหนัง), รวมทั้ง Aspergillus
อาการไม่พึงประสงค์
• GI effects, abnormal liver enzyme อาจทาให้เกิด hepatitis ได้
17/11/57 60
Ketoconazole
• Ketoconazole เป็นยา azole ตัวแรกในกลุ่ม
• เป็นยาที่ยับยั้งเอนไซม์ cytochrome P 450 ของมนุษย์ได้มาก
– **ยับยั้งการสังเคราะห์ steroid hormoneจากต่อมหมวกไต, รังไข่และอัณฑะ
ทาให้เกิด gynecomastia ในเพศชาย, infertility
– ยับยั้งเอนไซม์ที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงยา/ทาลายยา ทาให้ยาหลายชนิดถูก
เปลี่ยนแปลงได้น้อยลง มีระดับยาเพิ่มขึ้นและก่อให้เกิดพิษจากยาเหล่านั้นได้
มากขึ้น เช่นยา cisapride (cardiac arrhythmia)
17/11/57 61
Itraconazole
• เป็นยาในกลุ่ม azole ที่มีฤทธิ์แรงที่สุด
• เป็น drug of choice ในการรักษา dermatophytes และ onychomycosis
(การติดเชื้อราที่เล็บ), Aspergillus species
• รูปแบบ: รับประทาน ยาฉีดทางเส้นเลือดดา
• การดูดซึมของยาจะดีในภาวะที่เป็นกรด
• ยาผ่านเข้าสู่ CSF ได้ไม่ดี
• ยานี้รบกวนเอนไซม์ที่ตับน้อยกว่า ketoconazole
และ itraconazole ไม่มีผลต่อการสังเคราะห์ steroid hormone
17/11/57 62
Fluconazole
• ละลายน้าได้ดี และผ่าน CSF ได้ดี ยาดูดซึมได้ดีเมื่อให้โดยการรับประทาน
• สามารถให้ทางการฉีดเข้าเส้นเลือดดาได้
• เป็นยาที่มีอาการไม่พึงประสงค์น้อยกว่ายาตัวอื่นๆในกลุ่ม มีผลรบกวนเอนไซม์ที่ตับน้อย
ที่สุด
• ใช้ในการรักษา cryptococcal meningitis, candidemia ในผู้ป่วย ICU,
mucocutaneos candidiasis
17/11/57 63
Systemic Antifungal Drugs for Mucocutaneous Infections (ยาต้าน
เชื้อราบริเวณผิวหนัง และเยื่อบุชนิดรับประทาน)
Griseofulvin
• เป็นยาที่ใช้ในการรักษา dermatophytosis
• การรับประทานอาหารมีไขมัน จะเพิ่มการดูดซึมของยา
• กลไก: ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่อาจเกี่ยวข้องกับการยับยั้งการแบ่งเซลล์ของเชื้อรา
• ยาสะสมได้ดีที่ผิวหนัง ผม และเล็บที่สร้างขึ้นใหม่ ทาให้ไม่เกิดการติดเชื้อขึ้นใน
ผิวหนัง ผม หรือเล็บที่สร้างขึ้นมาใหม่
• อาการไม่พึงประสงค์: allergic, hepatitis
17/11/57 64
Topical drugs for mucocutaneous infection
(ยาต้านเชื้อราชนิดทาภายนอก)
• การติดเชื้อราที่ผิวหนังถ้าเกิดจากเชื้อ dermatophytes
( กลากตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ลาตัว ขาหนีบ เท้า )
เกลื้อนจากเชื้อ Malassezia furfur หรือ cutaneous
candidiasis
• หากเป็นบริเวณไม่กว้างมาก และไม่กระจายในหลายบริเวณก็
สามารถใช้ topical antifungal agents ได้ผลดี
17/11/57 65
Nystatin
• ออกฤทธิ์โดยการทาให้เกิด pore forming
• ยาไม่ละลายน้าพัฒนาเป็นยาฉีดไม่ได้ และมีความเป็นพิษมาก ดูดซึมจาก
ทางเดินอาหารได้น้อยมาก ต้องให้ทาง topical เท่านั้น
• ยาไม่ถูกดูดซึม จึงมีอาการข้างเคียงน้อย
• ได้ผลต่อ Candida species เป็นส่วนใหญ่ เช่น oral thrush, vaginal
candidiasis, ประโยชน์ทางการแพทย์ที่สาคัญของ nystatin คือใช้ใน Oral
candidiasis (thrush) และ vaginal candidiasis
• ยามีในรูปครีม, ointment, suppositories, oral suspension
17/11/57 66
Topical Azoles
• Topical azole เช่น ketoconazole, clotrimazole,
miconazole
• รูปแบบครีมใช้ทาสาหรับ dermatophytic infections เช่น tinea corporis
(กลากที่ลาตัว), tinea pedis (ฮ่องกงฟุต), tinea cruris (กลากที่ขาหนีบ)
• มีในรูปแบบ troches สาหรับ oral thrush
• ยามีอาการไม่พึงประสงค์น้อย เนื่องจากยาไม่ค่อยดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย
17/11/57 67
ยารักษามาลาเรีย
(Antimalarial
Drugs)
17/11/57 72
โรคมาลาเรีย
• มาลาเรียหรือไข้จับสั่น เกิดจากเชื้อโปรโตซัวใน genus Plasmodium มี
ยุงก้นปล่องเพศเมียเป็นพาหะ เชื้อที่ทาให้เกิดโรคในคนมี 4 ชนิดคือเชื้อ
Plasmodium ที่ก่อโรคในคนมี 4 ชนิด ได้แก่
• P.falciparum
• P.vivax
• P.malariae
• P.ovale
• ในประเทศไทยเชื้อที่พบส่วนใหญ่เป็นชนิด P.falciparum และ P.vivax
ชนิดที่มีอาการรุนแรงที่สุด คือ
P.falciparum
17/11/57 73
ยารักษามาลาเรีย
1 choroquine, primaquine, quinine และ
mefloquie
2. : artesunate และ artemeter
3. : tetracycline และ doxytetracycline
17/11/57 74
Quinoline
• ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ choroquine,
primaquine, quinine และ mefloquine
• กลไก: ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ heme
polymerase ทาให้เกิดการสะสมของ free
heme ในเม็ดเลือดแดงซึ่งเป็นพิษต่อเชื้อ และ
ยับยั้งการสร้าง DNA/RNA
17/11/57 75
Choroquine
• เป็นยาต้านมาลาเรีย ที่มีความสาคัญในการนามาใช้ประโยชน์ทาง
คลินิก
• มีการดื้อยามากในหลายพื้นที่แต่ chloroquine ยังคงเป็น drug
of choice ในการรักษา P.falciparum รวมทั้ง P.vivax,
P.malariae และ P.ovale
17/11/57 76
อาการข้างเคียง
ตาพร่า เห็นภาพซ้อน ถ้าได้รับยานานๆ การเห็นภาพผิดปกติ อาการเหล่านี้มัก
เกิดในผู้ป่วยที่ได้รับยา 300 mg ทุกวันนานเกิน 1 ปี อาจตาบอด
อาการทางจิต ชัก มึนงง
ผลข้างเคียงที่นานๆพบได้แก่ ผมเปลี่ยนเป็นสีขาว เยื่อบุปากมีสี bluish black,
photosensitivity, tinnitus, thrombocytopenia, neutropenia
ถ้ากินยาเกินขนาด หรือให้ยาเข้าหลอดโลหิตอย่างรวดเร็ว เป็นพิษต่อระบบ
cardiovascular ทาให้เกิดหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ ความดันโลหิตต่า หยุด
หายใจและถึงแก่ความตายได้
17/11/57 77
Primaquine
อาการข้างเคียง : อาารคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร แน่นลิ้นปี่ ปวด
ท้อง
พิษของยาที่รุนแรง:
– การเกิด intravascular hemolysis อย่างเฉียบพลันใน
ผู้ป่วยG6PD deficiency
– อาการที่พบ: อ่อนเพลียมาก ปัสสาวะสีโคล่า ดีซ่าน และอาจถึง
แก่ความตายเนื่องจากไตล้มเหลว
17/11/57 78
Quinine
• เป็นยารักษามาลาเรียที่เก่าแก่ที่สุด เป็นสารสกัดที่ได้จากเปลือกต้น
cinchona Quinine
• เป็นยาสาคัญในการรักษามาลาเรียขั้นรุนแรง และมาลาเรียที่เกิดจากเชื้อที่ดื้อ
ต่อยา chloroquine
• ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อมาลาเรียในกระแสเลือด
17/11/57 79
อาการข้างเคียง
•cinchonism เป็นกลุ่มอาการที่ประกอบด้วย มีเสียงในหู
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เห็นภาพไม่ชัด การได้ยิน
ลดลงชั่วคราว มึนศีรษะ มือสั่น
• ฤทธิ์ข้างเคียงอื่นๆ ได้แก่ ไข้ อุจจาระร่วง ท้องผูก คัน และหงุดหงิด
• อาการร้ายแรงที่อาจเกิดได้แก่ ลมพิษ bronchospasm , หูหนวก
ตาบอด hemolytic anemia ภาวะน้าตาลต่าในเลือดเนื่องจากมีการ
เพิ่มอินซูลิน
17/11/57 80
Quinine
• การได้รับยาขนาดสูง โดยการฉีดอาจมีอาการชัก แรงดันโลหิตต่า
bradycardia, ventricular fibrillation และถึงแก่กรรม
• ควินินมีฤทธิ์เป็นสารที่ระคายเคืองเฉพาะที่
– ทาให้เกิดอาการ คลื่นไส้ อาเจียน และปวดท้องหลังรับประทาน
อาหารได้ไม่นาน
– หลอดเลือดดาอาจอักเสบและแข็งจากการให้ยาทางเส้นเลือด
– การฉีดยาเข้ากล้ามอาจทาเกิด tissue necrosis และฝีไร้เชื้อ
17/11/57 81
mefloquie
• ใช้สาหรับการติดเชื้อที่ดื้อต่อ chloroquine และรักษาการติดเชื้อ
P.falciparum ที่ดื้อต่อ chloroquine
• มีค่าครึ่งชีวิตที่ยาวจึงไม่ต้องรับประทานยาบ่อย พบว่ามีการดื้อยา
mefloquine บ้างแล้วในบางพื้นที่โดยเฉพาะเขตชายแดนประเทศไทย,
พม่า, กัมพูชา
• อาการข้างเคียง: มีคลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง มึนศีรษะ ปวดท้อง
bradycardia และ ผื่นคัน
•
17/11/57 82
สารอนุพันธุ์ Artemisinin
artesunate และ artemeter
• เป็นสารที่ได้มาจากสมุนไพรจีน ซึ่งเรียกว่าทั่วไปในภาษาจีนว่า ชิงเฮา
• ยังไม่พบว่ามีเชื้อมาลาเรียดื้อยาในกลุ่มนี้
• สามารถฆ่าเชื้อในระยะตัวอ่อน ได้อย่างรวดเร็ว ก่อนที่เชื้อเหล่านี้จะไปหลบในเส้นเลือดฝอยของ
อวัยวะภายใน แล้วก่อให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือด
• ยามีค่าครึ่งชีวิตที่สั้นจึงนิยมใช้ร่วมกับยาที่มีค่าครึ่งชีวิตยาว
• ปัจจุบันมีอนุพันธ์ของ artemisinin หลายชนิด : artesunate, artemether
17/11/57 83
ชิงเฮา
• กลไก: ทาให้เกิด free radical ที่ทาลายเยื่อบุเซลล์ของเชื้อมาลาเรีย
เป็นยาที่ทาลายเชื้อระยะที่อยู่ในกระแสเลือด ออกฤทธิ์แรง และเร็ว
• ผลข้างเคียง: มีรายงานการพบอาการข้างเคียงต่า และไม่มีรายงาน
พิษต่อผู้ใช้มากนัก ที่พบคือ หัวใจเต้นช้าลง เกิดฝีตรงตาแหน่งที่ฉีด
ปวดท้องท้องร่วง
17/11/57 84
Tetracycline : tetracycline และ doxycycline
• เป็นยาที่ทาลายเชื้อP. falciparum ที่อยู่ในกระแสเลือด
• ออกฤทธิ์ช้า
• อาการข้างเคียง: มีพิษต่อตับ อาจมีอาการดีซ่าน มีพิษต่อไต
– ยารับประทานจะระคายเคืองต่อทางเดินอาหาร ทาให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ปวดท้อง ท้องเดิน เบื่ออาหาร
• Tetracycline: ใช้รักษาร่วมกับ quinine และ mefloquie
• Doxycycline: ใช้ป้องกันการเกิดโรค โดยรับประทานขณะที่มีการระบาด
ของเชื้อ
(ดูรายละเอียดยาเพิ่มเติมได้ในหัวข้อยาปฏิชีวนะ)
17/11/57 85
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยารักษามาลาเรีย
• ประเมินลักษณะอาการ อาการแสดงของมาลาเรียแต่ละระยะ
• ตรวจหาเชื้อมาลาเรีย ในระยะแรก ๆ
– อาจตรวจเลือดไม่พบเชื้อ ต้องให้ผู้ป่วยตรวจเลือดซ้าอีกครั้ง ภายใน 12-24 ชั่วโมง
– ถ้าผู้ป่วยที่กินยาป้องกันมาลาเรียมาก่อน ก็จะทาให้การตรวจพบเชื้อมาลาเรียได้ยากขึ้น
– ควรเฝ้ าสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด และตรวจเลือดบ่อย ๆ เพื่อการตรวจวินิจฉัยที่ชัดเจน
• ตรวจการทางานของเลือด ทุกครั้งก่อนได้รับยา
• ให้ยาโดยคานึงถึงหลัก 6 right ทุกครั้งที่ให้ยา
17/11/57 87
• ถ้าได้รับยารักษามาลาเรียแล้วให้สังเกต และประเมินอาการข้างเคียงของยาแต่
ละชนิด (ดูรายละเอียดผลข้างเคียงของยาแต่ละชนิด ในเนื้อหาข้างต้น)
• ระหว่างได้รับยา ติดตามการทางานของเลือด ตรวจคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ ตรวจการได้
ยิน การมองเห็น
• เฝ้าดูการเปลี่ยนแปลงของโรค ผลการรักษา และอาการแทรกซ้อน
• ให้ผู้ป่วยกินยาครบตามแพทย์สั่ง ถ้าไม่ครบ จะมีโอกาสเป็นไข้มาลาเรียกาเริบได้
• ผู้ป่วยที่มีอาการไข้ หนาวสั่นมาก ถ้าไม่ได้ประวัติติดเชื้อมาลาเรีย (เช่น ไม่ได้เข้าป่า หรือรับ
เลือด) อาจมีสาเหตุจากโรคอื่นก็ได้ จึงควรตรวจดูอาการของโรคอื่นๆด้วย
17/11/57 88
ให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับการป้ องกัน และการดูแลตัวเอง
– การรับประทานยาก่อนเข้าป่า ปัจจุบันต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ ระหว่าง
โอกาสที่จะติดเชื้อ และความเสี่ยงต่อการรักษา
• ยาที่ใช้ป้องกันตามที่เคยแนะนาในอดีตพบว่า ไม่ได้ผลในการป้องกัน
มากนัก
• จึงไม่แนะนาให้กินยาป้องกันล่วงหน้า แต่ให้แนะนาเรื่องการป้องกัน
ยุงกัดแทน เพราะเชื้อดื้อยามาก และทาให้เข้าใจผิดว่ากินยาแล้วจะไม่ติด
เชื้อ
• หากรับประทานยาเพื่อป้องกันนั้น หากเป็นมาลาเรียขึ้นมาจริง ๆ อาจ
ตรวจเลือดไม่พบเชื้อเมื่อตรวจพบอีกทีก็มีอาการมากแล้ว
17/11/57 89
– เมื่อต้องเดินทางเข้าไปในเขตป่าเขา ควรป้องกันไม่ให้ยุงก้นปล่องกัด โดย
การนอนกางมุ้ง และใช้ยาทากันยุง
– ถ้าออกจากป่าแล้วมีอาการไข้ หรือมีอาการสงสัยเป็นมาลาเรีย ให้รีบทาการ
ตรวจรักษา
– ถ้าต้องเข้าไปอยู่ในป่าที่เป็นถิ่นที่มีเชื้อมาลาเรียดื้อต่อยาหลายชนิด เป็น
เวลานานเกิน 2 สัปดาห์ ก็ควรพกยารักษามาลาเรีย (ได้แก่ quinine และ
mefloquie หรือ artesunate) ใช้ในยามฉุกเฉิน เมื่อไม่สามารถตรวจ
เลือดได้ โดยใช้ในขนาดที่ใช้รักษามาลาเรีย
ให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับการป้ องกัน และการดูแลตัวเอง
17/11/57 90
การประเมินผล
• การดูประสิทธิภาพของการรักษา อาการแทรกซ้อนของโรค หลังจาก
การใช้ยา
• การสังเกตอาการข้างเคียง จากการใช้ยา
• ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ และการตรวจพิเศษ เช่น ระดับยาใน
เลือด CBC, plt, EKG
17/11/57 91
The end
17/11/57 92

More Related Content

What's hot

Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014 Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวดJumpon Utta
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาZiwapohn Peecharoensap
 

What's hot (20)

Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
 

Viewers also liked

1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationSirinoot Jantharangkul
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
การแบ งกล _มยา
การแบ งกล _มยาการแบ งกล _มยา
การแบ งกล _มยาPiyabhon Sris
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่duangkaew
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560tungmsu
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
Diuretic drugs
Diuretic drugsDiuretic drugs
Diuretic drugs
 
Essential book 56
Essential book 56Essential book 56
Essential book 56
 
การแบ งกล _มยา
การแบ งกล _มยาการแบ งกล _มยา
การแบ งกล _มยา
 
Hyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapyHyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapy
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 

Similar to Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Antimalarial Drugs

แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง Utai Sukviwatsirikul
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 

Similar to Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Antimalarial Drugs (6)

แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
AIHA
AIHAAIHA
AIHA
 

More from Sirinoot Jantharangkul

More from Sirinoot Jantharangkul (9)

Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)
 
Vildagliptin
Vildagliptin Vildagliptin
Vildagliptin
 
Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)
 
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride) Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
 
Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2
 
Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 

Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Antimalarial Drugs