SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
ร่วมด้วยช่วยกัน...ป้องกันความคลาด
เคลื่อนทางยาที่เข้าใหม่
ภญ.ดวงแก้ว อังกูรสิทธิ์
26 มิถุนายน 2556
Med. Error(ME)
Prescription error
(PE)
Transcription
error (TE)
Dispensing error
(DE)
NonAdherance
ความคลาดเคลื่อนทางยา : ผลลัพธ์ต่อผู้ป่วย
AA เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่อาจจะก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนเหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่อาจจะก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน
(Near miss)(Near miss)
BB เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น แต่ไม่ถึงผู้ป่วยเกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น แต่ไม่ถึงผู้ป่วย
CC เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย แต่ไม่ทำาให้ผู้ป่วยได้รับเกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย แต่ไม่ทำาให้ผู้ป่วยได้รับ
อันตรายอันตราย
DD เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ต้องการการเฝ้าระวังเพื่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ต้องการการเฝ้าระวังเพื่อให้
มั่นใจว่าไม่เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วยมั่นใจว่าไม่เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย
EE เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวเกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราว
และต้องมีการบำาบัดรักษาและต้องมีการบำาบัดรักษา
FF เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวเกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราว
และต้องนอนโรงพยาบาล หรืออยู่โรงพยาบาลนานขึ้นและต้องนอนโรงพยาบาล หรืออยู่โรงพยาบาลนานขึ้น
GG เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ส่งผลให้เกิดอันตรายถาวรแก่เกิดความคลาดเคลื่อนกับผู้ป่วย ส่งผลให้เกิดอันตรายถาวรแก่
ผู้ป่วยผู้ป่วย
ข้อมูลของยาใหม่ที่ควร
ทราบ ???
• ยานี้รักษาโรคอะไร
• ขนาดยาปกติเป็นเท่าไร
• มีผลข้างเคียงอย่างไร
• มีข้อห้ามใช้หรือไม่
• การเก็บรักษาที่เหมาะสม
• ใช้ในเด็ก สตรีมีครรภ์ได้
ไหม
• ผู้ป่วยโรคตับไต ต้อง
ปรับขนาดยาหรือเปล่า
• สามารถให้ร่วมกับยาอื่น
ณ สนามบินแห่งหนึ่ง
ท่านผู้โดยสารทุกท่านโปรด
ทราบขณะนี้เครื่องบินของเราที่
จะบินไปปารากวัย พร้อมที่จะ
ออกเดินทางแล้วคะและขอให้ผู้
โดยสารทุกท่านวางใจในสาย
การบินของเราได้ เพราะถึง
แม้ว่าเครื่องบินของเราจะเก่า
แต่นักบินของเราก็ยังใหม่
อยู่คะ !!!
เหตุผลที่นำายาใหม่เข้า ???
• เพิ่มความร่วมมือในการใช้ยา  HCTZ 25 mg
,actonel 150 mg , Betahistine 24 mg
• ลดผลข้างเคียงของยาเดิม  cyclosporin ,
hydroxychloroquine
• เป็นยากรณีพิเศษบ่อยๆ oxytetracycline , Joulie
solution
• ยาเดิมมีปัญหา Drug interaction  fenofibrate ,
keppra
• เป็นยาที่มีการออกฤทธิ์ใหม่ linagliptin ,
hydroxyurea
• ยาเดิมมีปัญหาแพ้ยา  keppra
•
สถานการณ์ hydralazine 10 mg 25
mg
• เป็นบทเรียนที่ได้เรียนรู้ เนื่องจากเห็นปัญหา
การเข้าถึงข้อมูลและการประสานงาน
ระหว่างหน่วยงาน
มองหาทางป้องกันความคลาดเคลื่อนที่อาจ
พัฒนาระบบการจัดการเตรียมความพร้อม
สำาหรับยาที่เปลี่ยนแปลง
• ตรวจสอบจำานวนยาความแรงเดิมที่เหลือ
• ประสานงานกับคลังเวชภัณฑ์เมื่อสั่งซื้อยา
• เตรียมความพร้อมใช้ยาความแรงใหม่
• Lock รายการยาเดิม
• แจ้งจุด key เริ่มจ่ายยาความแรงใหม่UPDAT
E
เมื่อยา
พร้อมใช้
ก็จะมี
การ
สื่อสาร
แจ้งให้
ทราบ
พร้อม
เงื่อนไข
การใช้
ยาบาง
รายการ
ADR ที่น่าสนใจในกลุ่มยาที่เข้าใหม่
• ยาที่ทำาให้ขนขึ้น = _ i _ _ x _ d _ l
• ยาที่ทำาให้ผายลม = _ c _ _ b _ _ _
• ยาที่ทำาให้อุจจาระลำาบาก = l _ _ t _ _ n_ _
ยาที่ไม่ควรใช้ในเด็กอายุน้อยกว่า 18 ปี =
betahistine
ยาที่ควรระวังในผู้ป่วย G6PD =
hydroxychloroquine
???
???
ปัญหาความสำาคัญของความปลอดภัยด้าน
ยา
• เมื่อเกิดความผิดพลาดมักมองที่ตัวบุคคล
มากกว่าที่ระบบ
• แนวคิดในการสร้างระบบการป้องกันความคลาด
เคลื่อน ตั้งแต่การสั่งใช้ยา การจัดจ่ายา และการ
บริหารยาแก่ผู้ป่วย
Prescriber’s Knowledge
Computer Screening
Pharmacist’s Knowledge
Latent
Failures
Patient Risk Factors
Patient Education
Monitoring
ME
Drug(s)
Medication error (ME)
“When the Holes Line Up”
Defenses
Hansten PD, Horn JR. Modified from: James Reason, Human Error, 1990
Drug Administration
Prescribtion error
Trancribtion error
Dispensing error
Administration error
ประเภทของความคลาดเคลื่อน
ทางยา
= การสั่งใช้ยาของ
แพทย์
= การคัดลอกคำาสั่ง
แพทย์ หรือการป้อน
ข้อมูลใบสั่งยา
= การจัด การตรวจ
สอบความถูกต้อง
และการจ่ายยา
= การใช้ยาของผู้
ป่วย หรือการให้ยา
ของพยาบาล
Pre-dispensing
Post-dispensing
การป้องกัน prescribtion error
• สั่งใช้ยาที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้
• ขนาดใช้ยามากเกิน น้อยเกินไป
• รูปแบบการใช้ยาไม่เหมาะสม
• มี Drug Interaction
• เขียนคำาสั่งใช้ยาไม่ครบถ้วน
• เขียนคำาสั่งใช้ยาอ่านไม่ออก
• ใช้คำาย่อที่ไม่เป็นสากล
16
ME จากการสื่อสารด้วยคำาย่อME จากการสื่อสารด้วยคำาย่อ
CDZ =
Chlordiazepoxide
CPZ =
Chlopromazine
CDZ =
Chlordiazepoxide
CPZ =
Chlopromazine
ความไม่ชัดเจนของ
เครื่องมือ
เอกสารสำาคัญทาง
ราชการ!!!
?
การป้องกัน transcribtion
error
• เฝ้าระวังยาที่มีชื่อคล้ายกัน มี
หลายความแรง หลายรูปแบบ
ต้องระบุความแรงที่ชัดเจน
• สังเกตชื่อยาสามัญและชื่อการค้า
ที่แพทย์สั่ง
• ข้อมูลครบถ้วนชัดเจน !!! ชื่อ
คนไข้ ชื่อยา ความแรง รูป
แบบวิธีใช้ จำานวนที่สั่ง
• ควรมีการตรวจสอบใบสั่ง
• อ่านไม่ออก / ชัดเจน
• ไม่มียาในโรง
พยาบาล
• ไม่ระบุความแรง
• ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา
• มีทั้งยาฉีดและยากิน
 สอบถามแพทย์ทุก
ครั้ง !!!
วิธีการป้องกัน Dispensing error
• เฝ้าระวังยาที่เป็น look alike sound alike
• หาข้อมูลลักษณะแผงยา หรือเม็ดยาว่าใกล้เคียง
กับยาที่มีอยู่เดิมหรือไม่
• ออกแบบชั้นวางยาเพื่อแยกยาที่มีลักษณะแผง
ยาหรือเม็ดยาที่ใกล้เคียงกัน
– การจัดวางยาเรียงตามตัวอักษร A-Z
• เช่น Glibenclamide –Glipizide
– การจัดเรียงยาตามกลุ่มแยกชั้นวางยา
• เช่น Bisolvon – CPM แก้อาการหวัด
• จัดอบรมความรู้เรื่องยาใหม่แก่เจ้าหน้าที่
Look alike - Sound alike
• นำาหลัก Tall man letter มาใช้ในยากลุ่ม
LASA
• เปลี่ยนขนาดตัวอักษรในฉลากยา
– propranolol 10 mg propranolol 40 mg
– Propranolol 10 mg PROPRANOLOL 40 mg
• สลับคำาขึ้นต้นชื่อยา เช่น
– GPO vir S30 กับ GPO vir Z250
– GPO vir S30 กับ Z250 GPO vir
วิธีการป้องกัน Administration error
• เป็นเรื่องที่ควรให้ความสำาคัญมากที่สุด
• ใช้หลักการบริหารยา 6 R ในการวิเคราะห์
หาโอกาสของความคลาดเคลื่อนทางยา
จากยาที่เข้าใหม่
• การส่งจ่าย การกระจาย การส่งมอบ และการ
บริหารยาให้ผู้ป่วยผิดคน
1R ความถูกต้องด้านผู้ป่วย (Right
patient)
• การให้ยาผิดชนิด
• การให้ยาที่แพทย์ไม่ได้สั่ง เช่น ยา ที่ผู้ป่วยนำา
ติดตัวมา
• การให้ยาที่ผู้ป่วยเคยมีประวัติการแพ้
• การให้ยาที่หมดอายุ
• การให้ยาเสื่อมคุณภาพ
2R ผู้ป่วยได้รับยาถูกต้องตามที่
แพทย์ต้องการ (Right drug)
ยาตัวเดียวกันแต่มีหลายชื่อ
• ชื่อสามัญ alprostadil
• ชื่อการค้า Prostin VR
• ชื่อย่อ PGEI
• กลุ่มยา prostaglandin E1
ระวังยาชื่อพ้อง !!! Sound alike
• Chloroquine - Hydroxychloroquine
• Hydroxyurea - Hydroxychloroquine
• Levofloxacin - _ _ _ _ _ floxacin
• Volulyte - Volu _ _ _
• Cyclosporin – Cycloserine
• Lanthanum carbonate – Lithium carbonate
27
ช่วยเสนอตัวอย่างช่วยเสนอตัวอย่าง
ชื่อพ้อง มองคล้ายชื่อพ้อง มองคล้าย
(LASA)(LASA)
ที่มีความเสี่ยงในหน่วยที่มีความเสี่ยงในหน่วย
งานของท่านงานของท่าน
ระวัง !!! ยามองคล้าย
ในสาย ATC
• ลักษณะเม็ดยา อยู่นอก
แผงยา
Itraconazole
Hydroxyurea
เดิมผู้ป่วยแพ้ยาที่ไม่มี
ในโรงพยาบาล แต่
เมื่อยาเข้าใหม่ผู้ป่วย
ก็มีโอกาสเสี่ยงที่จะ
แพ้ยาซำ้า
เดิมผู้ป่วยจำาเป็นต้องใช้
ยาที่มี drug interaction
แต่เมื่อมียาเข้าใหม่ผู้
ป่วยจะได้ใช้ยาใหม่ที่
ปลอดภัยมากขึ้น
่่• การให้ยาผิดขนาด การคำานวณขนาดยาผิด
• ไม่สามารถใช้ยาที่มี เทคนิคการ บริหารพิเศษ
เช่น ยาพ่น
• ผิดความแรง ผิดความเข้มข้น
• การเจือจางผิด
• การให้ยาซำ้า การให้ยาที่แพทย์สั่งหยุด
• การต่อยาโดยที่แพทย์ไม่ได้สั่ง
• การลืมให้ยา โดยข้ามไปให้ยาเวลาใหม่
3R ผู้ป่วยได้รับยาที่มี ความแรง
ความเข้มข้น ขนาดยาตามความ
เหมาะสม และเป็น ไปตามที่แพทย์
ต้องการ(Right dose)
ระวัง !!! ยาเปลี่ยนแปลงความแรง
ความแรง เพิ่มขึ้น (ถ้า error ทำาให้เกิดความเป็น
พิษ)
ความแรง ลดลง (ถ้า error ทำาให้รักษาไม่ได้
ประสิทธิภาพ)
ชื่อยา ยาเดิม ยาใหม่ ความต่าง
Hydralazine 10 mg 25 mg เพิ่มขึ้น 2.5 เท่า
Methyldopa 125 mg 250 mg เพิ่มขึ้น 2 เท่า
Atorvastatin 20 mg 40 mg เพิ่มขึ้น 2 เท่า
Nicergoline 30 mg 10 mg ลดลง 3 เท่า
Octreotide 0.2 mg/ml 0.1 mg/ml ลดลง 1 เท่า
Epoetin beta 2000 IU 5000 IU เพิ่มขึ้น 2.5 เท่า
ชื่อยา ยาเดิม ยาใหม่ ความต่าง เหตุผล
Betahistine 6 mg 24 mg 4 เท่า เพิ่มความสะดวกให้ผู้
ป่วย
Verapamil 40 mg 240 mg 6 เท่า ควบคุมอาการได้ดี
ขึ้น
Madopar 200/50 100/25 2 เท่า ควบคุมอาการได้ดี
ขึ้น
NEW
Serc
1x3 pc
Max dose 48
mg/day
24
6
???
Betahistine 6 mg
ปรึกษาแพทย์ปรับ
ขนาดยาที่เหมาะ
สมตามอาการของ
ผู้ป่วย
• การให้ยาผิดไปจากเวลาที่
กำาหนด
• การลืมให้ยาและมีการให้เมื่อ
นึกได้
• การหยดให้ยาเร็วกว่าที่
แพทย์กำาหนด
• การหยดให้ยานานกว่าที่
แพทย์กำาหนด
•การให้ยาคลาดเคลื่อน
4R ผู้ป่วยได้รับยาถูกต้องตาม
เวลาที่เหมาะสม (Right time)
ขอใบ DUE ด้วยนะคะ
เมื่อเตรียม
ยาแล้ว
ควรใช้
 Administered before
meal
 Avoid : iron, zinc,
aluminum, magnesium,
,calcium , zinc, sucralfate,
didanosine (ให้ยาห่างไป
2 ชั่วโมง)
• การให้ยาผิดช่องทาง เช่น
IV IM IT ID Sc Oral SL
Inhaler
• การใช้ ยาหยอดตา หยอด
หู ผิดข้าง หรือไม่เป็น ไป
ตามที่แพทย์สั่ง
5R ผู้ป่วยจะได้รับยาถูกวิธี
บริหารยาที่เหมาะสม (Right
route)
ระวัง !!! ยาหลายรูปแบบ
• เดิม Hypromellose eye gel (Genteal )
ใหม่ Hypromellose eye drop ( Natear)
• เดิม Desmopressin 10 mcg/dose nasal
spray
ใหม่ Desmopressin 4 mcg/ ml inj (Minirin)
• ใหม่ Levofloxacin inj และ tablet
NEW
ระวัง !!! ยาหลายรูปแบบ
• นอกจากนั้นยังต้องระวัง morphine
ทั้ง injection 10 mg/ml ,capsule 20 mg
และเพิ่มsyrup 2 mg/ml
เป็น High alert drug!!!
พยาบาลเป็นผู้บริหารยาให้ผู้ป่วย
ไม่เอาขวดยาไว้กับผู้ป่วย
ขอใบ
ยส.5
 • การผสมยาเข้าดัวยกันโดยไม่เหมาะสม
• การบริหารยาที่เข้ากันไม่ได้เข้าทาง Y
site
• การบริหารยาด้วยเทคนิคที่ไม่ เหมาะสมส่ง
ผลให้เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
• การเดินยาเร็วกว่าที่ควรเป็น เช่น IV push
นานกว่า 5นาที
• การบดยาที่ไม่ควรบด หรือยาที่เข้ากันไม่
ได้ทางกายภาพ
6R ผู้ป่วยจะได้รับการบริหารยา
ด้วยเทคนิคที่เหมาะสม (Right
technique)
Incompatibility :
Sodium bicarb
Y-site incompatible
: Acyclovir,
alprostadil,
Administration :
IV drip only no
IV bolus
hypotension
500 mg IV
drip in 60min
750 mg IV
drip in 90min
Levofloxacin injection 750 mg / 150 ml
NO FEED

การสื่อสารเป็นสิ่งสำาคัญ
มาก เน้นไปให้ถึง
ผู้ดูแล

ยาเดิมที่เหลืออยู่ ป้องกัน
การกินยาซำ้าซ้อน

เพื่อแน่ใจว่าผู้ป่วยจะได้ใช้
ยาที่ถูกต้องเหมาะสม
ประเด็นที่ต้องทำาความประเด็นที่ต้องทำาความ
เข้าใจกับคนไข้และญาติเข้าใจกับคนไข้และญาติ
HCTZ 50 mg 0.5 tab OD
HCTZ 25 mg 1 tab OD
ประโยชน์ คนไข้ไม่ต้อง
แบ่งเม็ดยา
ข้อควรระวัง หากผู้ป่วย
จดจำาวิธีการใช้เดิม ทำาให้
การรักษาไม่ได้
ประสิทธิภาพ
Medication ErrorReporting System
โรงพยาบาลสมุทรสาคร
ผู้พบเหตุ บันทึกเหตุการณ์ในสำาเนาใบสั่งยา ทำาสัญลักษณ์
E แยกตะกร้า
เจ้าหน้าที่ทำารายงาน ส่งใบสั่งยาให้กับเจ้าหน้าที่ลง
ข้อมูลในโปรแกรม
เภสัชกรตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลความคลาดเคลื่อน
ส่งรายงานแก่หัวหน้างานห้องจ่ายยาผู้ป่วย
เภสัชกรวิเคราะห์ข้อมูล ส่งรายงานความคลาดเคลื่อน
ประจำาเดือน
* * * หากมีรายงานที่มีความรุนแรง
ต่อคนไข้ > E
ความสำาคัญของข้อมูล post
dispensing error
มีประโยชน์ต่อการป้องกันแก้ไข
ความคลาดเคลื่อนทางยา
Sodium bicarbonate – Sodium chloride
Sodamint –
เกลือ
เกลือ – ผง
เกลือแร่
Sodamint – โซเดียมคลอ
ไรด์
ข้อมูลได้รับ
การสะท้อน
ไปถึงผู้
ปฎิบัติงาน
เพื่อเพิ่ม
ความ
ระมัดระวัง
ติดตามข้อมูลที่น่าสนใจได้ที่
http://pharmasakhon.org

More Related Content

What's hot

คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58Yupin Jitbumrung
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
นวัตกรรมทางการพยาบาลปี58
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 

Viewers also liked

โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัยสรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัยเชียร์ นะมาตย์
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนduangkaew
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebookบทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebookNarudol Pechsook
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสWitsanu Rungsichatchawal
 
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่duangkaew
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Lek Suthida
 
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก RiskSuradet Sriangkoon
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 

Viewers also liked (20)

โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Physical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for PhamacistPhysical Assessment for Phamacist
Physical Assessment for Phamacist
 
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัยสรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
สรุปบทความของบทที่ 2 งานวิจัย
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebookบทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
บทที่ 17 ตัวอย่างการเขียนบทความ ebook
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัส
 
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่
สอนการใช้ยาต้านไวรัสเอซไอวีสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาใหม่
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
เรื่องเล่า ชาวบาดาล
เรื่องเล่า ชาวบาดาลเรื่องเล่า ชาวบาดาล
เรื่องเล่า ชาวบาดาล
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 

Similar to ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่

วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxNareenatBoonchoo
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1THANAKORN
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์benze2542
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดVorramon1
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014 Utai Sukviwatsirikul
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 

Similar to ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ (20)

Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
cardiac drugs and tests
cardiac drugs and testscardiac drugs and tests
cardiac drugs and tests
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptxการใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
การใช้ยาอย่างไรให้ถูกต้องปลอดภัยเหมาะสม.pptx
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 

ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่