SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
สวัสดีคะ / ครับ
ใช้คำทักทำยที่เป็นกลำง จริงใจ ไม่เร่งรัด รีบร้อน
กำรทักทำย
ใครเป็นผู้มำรับบริกำรครั้งนี้
การสังเกตผู้มารับบริการ / ผู้ป่ วย
ข้อมูลจาเป็นของผู้ป่ วย / ผู้มารับบริการ
ชำย หญิง
 Risk factor
 Social & family history
 โรคที่จาเพาะกับเพศแม้ว่าจะมีการเจ็บป่ วยที่ตาแหน่งเดียวกัน
อายุ
ข้อมูลจาเป็นของผู้ป่ วย
/ ผู้มารับบริการ
การซักประวัติผู้ป่วยนั้นควรต้องถามให้ครอบคลุมถึง
เวลาที่เริ่มเป็นครั้งแรก (Onset)
ระยะเวลาที่เป็นจนถึงปัจจุบัน (Duration)
ความถี่บ่อยของอาการ (Frequency) ว่ามากน้อยแค่ไหน โรคบางโรคอาจต้อง
ถามถึงแบบแผนของอาการ (Time Pattern) (เช่นเวลาหรือเหตุการณ์ที่มักจะมี
อาการโรค) เช่น โรคไมเกรนในสตรี มักเป็นก่อนหรือระหว่างมีประจาเดือน
หรือเมื่อมีสิ่งกระตุ้นเช่นเสียงดัง แสงแดดจ้า เครียด อดนอน เป็นต้น การถาม
อาการปวด ยังต้องถามถึงตาแหน่งปวด (Location) และลักษณะอาการปวด
(Characteristics) ด้วย
การซักประวัติ
 Onset คือวันเวลาที่เริ่มต้นมีอาการโดยให้ผู้ป่วยอธิบายถึงอาการ
สาคัญที่เกิดขึ้นครั้งแรกว่าเกิดขึ้นเมื่อไร ขณะกาลังทากิจกรรมใดอยู่ และ
อาการหรืออาการแสดงเหล่านั้น เกิดขึ้นตามลาดับก่อนหลังอย่างไร
 Provocation คือปัจจัยกระตุ้นให้เจ็บป่วย โดยให้ผู้ป่วย
อธิบายว่ามีพฤติกรรมใดที่ทาให้อาการแย่ลงหรือดีขึ้น เช่น การเดินทาให้
อาการปวดมากขึ้น, การออกกาลังทาให้เจ็บหน้าอก, การนอนหลับทาให้
อาการปวดศีรษะทุเลาลง
การซักประวัติโดยหลัก OPQRST
 Quality เป็นลักษณะของอาการนั้นว่าเป็นอย่างไร เช่นอาการปวด
ศรีษะ ให้ผู้ป่วยอธิบายว่า อาการปวดนั้นเป็นอย่างไร เช่น ปวดเหมือนหัว
จะแตกหรือระเบิดออกจากกัน ปวดตื้อ ๆ ปวดตุ๊บๆ และเป็นข้างเดียว
หรือสลับข้าง หรือบางคนเป็นทั้งสองข้าง เป็นต้น
 Radiation หมายถึงอาการปวดร้าวหรือกระจายไปที่ใดหรือไม่
เช่น อาการ Acute Coronary Syndrome เป็น
อาการเจ็บแน่นหน้าอกที่เกิดจากมีการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจ
Coronary มีอาการร้าวจากหน้าอก ไปยังต้นแขน ไหล่ คอ หรือ
ขากรรไกรด้านซ้าย
การซักประวัติโดยหลัก OPQRST
 Severity หมายถึงความรุนแรง ในการประเมินความรุนแรง
โดยเฉพาะอาการปวดของผู้ป่วย ทาได้ยาก แต่ก็อาจทาได้ โดยใช้วิธีให้
คะแนนปวด เช่น วิธีให้คะแนนจาก ๑ – ๑๐ ( เรียก ๑๐ – point
scale) โดยจะต้องอธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่า กาหนดคะแนน ๑ ให้
หมายถึงอาการปวดเล็กน้อยสุด และคะแนน ๑๐ หมายถึงคะแนนปวดมาก
ที่สุด เป็นต้น
 Time คือระยะเวลาที่มีอาการ โดยให้ผู้ป่วยบอกระยะเวลาของอาการ
สาคัญ และอาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น “เจ็บหน้าอกมา ๑ ชม. และร้าวไปที่
กราม คอ และไหล่ซ้าย
การซักประวัติโดยหลัก OPQRST
แนวทำงกำรซักประวัติ
ลองสรุปดูว่า เมื่อเจอ ผู้มารับบริการ
เราจะต้องถาม สื่อสารอะไรกับเขาบ้าง
ทำงกำรแพทย์ได้แบ่งประวัติกำรเจ็บป่วยออกเป็น
1. อำกำรสำคัญ
2. ประวัติกำรเจ็บป่วยในปัจจุบัน
3. ประวัติกำรเจ็บป่วยในอดีต
4. ประวัติกำรเจ็บป่วยในครอบครัว
5. ประวัติกำรเจ็บป่วยในคนข้ำงเคียง
6. ประวัติส่วนตัว
7. ประวัติในเด็ก
8. ประวัติในผู้หญิง
9. ประวัติตำมระบบ
ผู้ทำกำรรักษำจะเลือกซักถำมประวัติต่ำง ๆ เหล่ำนี้ตำมควำม
เหมำะสม ไม่จำเป็นต้องซักให้ครบทุกข้อหรือไล่ตำมลำดับ
ตั้งแต่ข้อ 1 ถึง 9
 ประวัติส่วนที่ว่ำเป็นหัวใจส่วนสำคัญก็คือ อำกำรสำคัญ กับ
ประวัติกำรเจ็บป่วยในปัจจุบันประวัติข้ออื่น ๆ เพียงแต่เป็น
ส่วนประกอบเท่ำนั้น
อาการสาคัญ CC: จำต้องระบุอาการหลัก ๆ ที่ผู้ป่วย
รู้สึกเดือดร้อนจนต้องมำพบผู้ทำกำรรักษำและระบุ
ระยะเวลำของอำกำรที่เป็น
เช่น เป็นไข้ ๒ วันก่อนมำโรงพยำบำล มีน้ำมูกใสๆ ๑
วันก่อนมำโรงพยำบำล หรือท้องเดิน เป็นต้น
อาการสาคัญ ( Chief complaint )
PI: หมำยถึงประวัติกำรเจ็บป่วยอย่ำงละเอียดที่ผู้ป่วยเป็นครำวนี้
เช่น ผู้ป่วยเป็นเด็กชำยอำยุ ๙ ปี ๕ วัน วันก่อนมีอำกำรปวดท้อง
ปวดที่ข้อเข่ำข้ำงขวำมีลักษณะบวมแดง ปวดจนเดินไม่ค่อยได้
ร่วมกับมีอำกำรตัวร้อน อ่อนเพลีย เบื่ออำหำรมำ 2 วัน ก่อน
อำกำรปวดบวมที่ข้อนั้นค่อยทุเลำ แต่กลับมำปวดที่ข้อเท้ำข้ำงซ้ำย
ในลักษณะ เดียวกัน
(อำกำรเช่นนี้ก็ชวนให้สงสัยว่ำ เด็กอำจป่วยเป็นไข้รูห์มำติด )
ประวัติการเจ็บป่ วยในปัจจุบัน
(Present illness)
PH:กำรซักถำมถึงประวัติกำรเจ็บป่วยที่เคยเป็นมำในอดีต
นับตั้งแต่เกิดนั้นก็อำจมีส่วนช่วยในกำรตรวจรักษำโรค โรค
บำงอย่ำงที่เป็นในปัจจุบัน อำจมีผลสืบเนื่องมำแต่กำรเจ็บป่วย
ในอดีตก็ได้
*ประวัติกำรเจ็บป่วยในอดีต ควรระบุชื่อโรคที่เคยเป็น เป็น
เมื่อไร นำนเท่ำใด รักษำที่ไหน และอย่ำงไร เคยแพ้ยำอะไรเป็น
ต้น
ประวัติการเจ็บป่ วยในอดีต ( Past illness )
ประวัติการใช้ยาในอดีต (History of Drug Used)
ประวัติการแพ้ (History of Allergy)
แพ้ยา/แพ้อาหาร
ประวัติการเจ็บป่ วยครอบครัว ( Family history )
ประวัติอดีต (Past History)
มีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรเจ็บป่ วยของผู้ป่วย โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในเรื่อง
ของโรคติดต่อเชื้อและโรคทำงกรรมพันธุ์
โรคติดต่อ เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ วัณโรคปอด ตับอักเสบ
ฯลฯ อำจพบเป็นติดต่อกันภำยในครอบครัวได้
โรคทำงกรรมพันธุ์ เช่น เบำหวำน ควำมดันโลหิตสูง มะเร็ง โรค
หืดหอบ ธำลัสซีเมีย ฯลฯ ถ้ำมีประวัติว่ำ พ่อแม่ ปู่ ย่ำ ตำ ยำย ลุง ป้ ำ
น้ำ อำ และพี่น้อง คนหนึ่งคนใดเป็นอยู่ก็อำจช่วยยืนยันว่ำผู้ป่วยก็อำจ
เป็นโรคเดียวกันก็ได้
ประวัติการเจ็บป่ วยครอบครัว ( Family
history )
โรคติดเชื้อ นอกจำกจะติดต่อมำจำกในครอบครัวแล้ว คน
ข้ำงเคียงอื่น ๆ เช่นเพื่อนบ้ำน เพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนร่วมงำน
ก็อำจเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรคได้เช่นกัน หำกสงสัยผู้ป่วยโรคติดต่อ
เชื้อก็ถำมว่ำมีคนข้ำงเคียงเคยเป็นหรือกำลังเป็นเช่นเดียวกับ
ผู้ป่วยหรือไม่
ประวัติกำรเจ็บป่วยในคนข้ำงเคียง
เช่น อำยุ เพศ อำชีพ ควำมเชื่อ ทัศนคติ ชีวิตควำมเป็นอยู่
พฤติกรรมกำรรับประทำนอำหำร กำรดื่ม กำรเสพติด (เช่น
เหล้ำ บุหรี่) สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ก็อำจช่วยเสริมกำรวินิจฉัยและ
กำรรักษำโรคของผู้ป่วย ตัวอย่ำงเช่น
 คนที่ดื่มเหล้ำเป็นประจำ ก็อำจเป็นโรคกระเพำะ หรือตับแข็ง
ประวัติส่วนตัว (Personal and social history)
เด็กที่เจ็บป่วยโดยเฉพำะเด็กที่อำยุต่ำกว่ำ 6 ขวบ อำจซักถำม
ประวัติ กำรคลอด กำรเลี้ยงดู กำรฉีดวัคซีน ฯลฯ เพื่อ
นำมำประกอบกำรวินิจฉัย
เช่น เด็กที่มีอำกำรหำยใจลำบำก ถ้ำมีประวัติว่ำไม่เคยฉีดวัคซีน
ป้ องกันโรคคอตีบมำก่อนอำกำรป่วยเป็นโรคคอตีบ เป็นต้น
ประวัติในเด็ก
หมำยถึงสตรีที่มีประจำเดือนแล้ว ควรถำมเรื่องประจำเดือน เช่น มำ
ตรงทุกเดือนไหม ? ออกมำกหรือน้อย ? มำครั้งละกี่วัน ? ประจำเดือน
ขำดไปหรือเปล่ำ ? เป็นต้น นอกจำกนี้ควรถำมประวัติกำรตกขำว ถ้ำ
สงสัยเกี่ยวกับโรคของมดลูก และช่องคลอด ถ้ำมีประวัติประจำเดือน
ขำด (ตั้งครรภ์) ร่วมกับปวดท้องมีเลือดออกทำงช่องคลอด ก็อำจป่วย
ด้วยอำกำรแท้งบุตรหรือตั้งครรภ์นอกมดลูก ก็ได้
ประวัติในสตรี
เมื่อซักประวัติจนได้ข้อมูลครบเพียงพอต่อการตัดสินใจแล้ว
โรคทั้งหมดที่มีอาการใกล้เคียงกับที่ผู้ป่ วยเล่า
โรคดังกล่าวมีปัจจัยเสี่ยงอะไรของผู้ป่ วยที่ทาให้เกิดโรคได้
การวินิจฉัยแยกโรค
ใน Daily log นศ.ต้องสรุปโรคทั้งหมด และสรุปมำด้วยว่ำ เข้ำกันได้ หรือไม่ได้ เพรำะ
Headache
ใช้แผนการรักษาที่เชื่อถือได้
Guideline ต่างๆ
สมาคมเวชปฏิบัติต่างๆ
การวางแผนการรักษา
สรุปอำกำร และโรคให้ผู้ป่วยฟัง
เล่ำถึงยำ แผนกำรรักษำวันนี้ที่จะให้ผู้ป่ วยรับทรำบ
พิจำรณำจ่ำยยำ
สรุปอาการ
ยาที่ใช้รักษา
พิจารณาตาม IEASC
พิจารณาการจ่ายยา
การเขียนซองยา
ใช้หลักการ GPP
สมชำย ยำดี 21/05/59
Fenac 10t.
เม็ดร่วง :6 เดือนหลังจ่ำย
แผง:ตำมปรำกฎที่แผง
ปวด อักเสบ
1 3
ฉลากอื่นๆ ในร้าน
ฉลำกยำน้ำ /เม็ดแผงใหญ่ ฉลำกช่วย เพื่อทำให้กำรใช้ยำปลอดภัยขึ้น
เน้นย้าประเด็นสาคัญว่า เขามีอาการอะไร ถึงได้ทานยาตัวนี้
วิธีการกิน ถ้ามีวิธีการกินที่พิเศษต้องย้ากับผู้ป่ วย
ข้อควรระวังพิเศษ
อาการข้างเคียงสาคัญที่ทาให้คิดได้ว่า ผู้ป่ วยอาจจะใช้ยาผิด
หรือ เกิดผลข้างเคียงแล้ว
การจ่ายยา (Dispensing)
กล่าวขอบคุณ หากมีประเด็นที่
ต้องการติดตาม อาการ โรค
หรือการใช้ยา กล่าวย้าก่อนจาก
กัน
ปิดการขาย /การจ่ายยา
ด้วยความเป็นกันเองกับผู้
มารับบริการ
คาถาม

More Related Content

What's hot

คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 

Similar to การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา

Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Angkana Chongjarearn
 
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016sakarinkhul
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดVorramon1
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Watcharapong Rintara
 

Similar to การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา (20)

Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
 
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54Topic palliative care  ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
Topic palliative care ณัฐวุธ 13 ก.ค. 54
 
Ummoua2
Ummoua2Ummoua2
Ummoua2
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
Sars
Sars Sars
Sars
 

More from Ziwapohn Peecharoensap

การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาZiwapohn Peecharoensap
 
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักZiwapohn Peecharoensap
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านZiwapohn Peecharoensap
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชZiwapohn Peecharoensap
 
การสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้า
การสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้าการสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้า
การสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้าZiwapohn Peecharoensap
 
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรZiwapohn Peecharoensap
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาZiwapohn Peecharoensap
 
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาZiwapohn Peecharoensap
 
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาโครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาZiwapohn Peecharoensap
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
ตอบคำถามจาก Soap note พรศิริ
ตอบคำถามจาก Soap note พรศิริตอบคำถามจาก Soap note พรศิริ
ตอบคำถามจาก Soap note พรศิริZiwapohn Peecharoensap
 
แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)
แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)
แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)Ziwapohn Peecharoensap
 
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 Ziwapohn Peecharoensap
 
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4Ziwapohn Peecharoensap
 

More from Ziwapohn Peecharoensap (16)

การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
 
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
The pharmacy-guild-of-australia
The pharmacy-guild-of-australiaThe pharmacy-guild-of-australia
The pharmacy-guild-of-australia
 
การสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้า
การสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้าการสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้า
การสร้างความจงรักภักดีต่อแบรนด์สินค้า
 
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
 
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
 
ยาคุมกำเนิด
ยาคุมกำเนิดยาคุมกำเนิด
ยาคุมกำเนิด
 
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาโครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
โครงการบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยา
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
ตอบคำถามจาก Soap note พรศิริ
ตอบคำถามจาก Soap note พรศิริตอบคำถามจาก Soap note พรศิริ
ตอบคำถามจาก Soap note พรศิริ
 
แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)
แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)
แนะนำหัวข้อในการฝึกงาน ผลัด 2 (1)
 
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6 ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 6
 
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4
ปฐมนิเทศนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 4
 

การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา