SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
แนวทางการรักษาไวรัสตับอักเสบบี ในผู้ใหญ่

รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
สาขาโรคทางเดินอาหารและตับ ภาควิชาอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น




	          ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบี อาจมาพบแพทย์                   ยาที่ใช้ในการรักษาผูปวยไวรัสตับอักเสบบี
                                                                                      ้ ่
ด้วยรูปแบบต่างๆ ดังต่อไปนี้                                       	          1.	 Immunomodulators  เพื่อกระตุ้นภูมิ
	          1.	 ตรวจพบเชื้อไวรัสบี (HBsAg posi-                    ต้านทานของร่างกายให้กำ�จัดเชื้อไวรัสบี ยาในกลุ่ม
tive) โดยที่ไม่มีการอักเสบของตับ เรียกว่า inactive                นี้ประกอบด้วย
chronic hepatitis B infection (HBV carrier)                       	          	 -	 Conventional interferon (intron A)
	          2.	 ตรวจพบมี ก ารอั ก เสบของตั บ โดย                   โดยให้ 5-10 IU 3 ครังต่อสัปดาห์ ฉีดใต้ผวหนัง นาน
                                                                                        ้                    ิ
อาจมีหรือไม่มีอาการก็ได้ โดยค่า serum ALT จะอยู่                  24 สัปดาห์
ระหว่าง 1.5 – 5 เท่าของค่าปกติ และมักจะไม่เกิน                    	          	 -	 Pegylated interferon a -2a (pe-
500 IU/L และตรวจ ติดตามการรักษาอย่างน้อย 2                        gasys) 180 microgram หรือ pegylated interferon  
ครั้ง ระยะเวลาห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เดือน ยังพบ                    a -2b (peg-intron) 1.5 microgram ต่อนํ้าหนักตัว
ALT สูงอยู่ เรียกว่า chronic hepatitis B                          1 กิโลกรัม ฉีดใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละครั้ง นาน 48
	          3.	 ผูปวยมาพบแพทย์ดวยอาการตาเหลือง
                  ้ ่                ้                            สัปดาห์




                                                                                                                                IJM
ตัวเหลืองอย่างเฉียบพลัน มีอาการอ่อนเพลีย ตรวจ                     	          	 -	 Thymosis – a 1.6 mg ฉีดใต้ผวหนังิ



                                                                                                                                Vol. 10 No.3
พบ serum ALT สูง ซึ่งปกติมักจะสูง 500 – 2,000                     2 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 48 สัปดาห์
IU/L จะพบในผู้ป่วยที่เป็น acute viral hepatitis                   	          2.	 ยากลุ่ม nucleoside ได้แก่ lamivudine
หรือ chronic hepatitis B ซึ่งมี acute flare จาก viral             (zeffix),  entecavir (baraclude), telbivudine (sebivo)
reactivation                                                      	          3.	 ยากลุ่ม nucleotide ได้แก่ adefovir
	          4.	 ผู้ป่วยที่มีอาการและอาการแสดงของ                   (Hepsera), tenofovir (Viread)
โรคตับ จนมีการทำ�ลายเนื้อตับมาก มี decompensa-                    	          ยาที่ใช้รับประทานทั้งกลุ่ม nucleoside
tion ของตับ เป็นกลุ่ม liver cirrhosis จาก hepatitis B             หรือ nucleotide นี้ จะให้เป็นระยะยาวไม่น้อยกว่า
	          5.	 ผูปวยกลุมพิเศษทีมโรคหรือภาวะอืนๆ
                   ้ ่ ่         ่ ี              ่               1 ปี ผู้ป่วยที่มี HBeAg เป็นบวก จะต้องให้ยาไปจน
อยูดวย และตรวจพบมีไวรัสตับอักเสบบีดวยซึงต้อง
   ่้                                       ้ ่                   HBeAg เป็นลบ ร่วมกับตรวจ HBV DNA น้อยกว่า
คำ�นึงเมื่อรักษาโรคนั้นๆ เช่น ผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับ             60 IU/ml อย่างน้อย 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 6 เดือน
อักเสบซี หรือ HIV ผูปวยทีตองให้ chemotherapy  ผู้
                       ้ ่ ่้                                     ในกรณีที่ผู้ป่วย HBeAg เป็นลบ จะต้องให้ยาไป
ป่วยตังครรภ์ เป็นต้น ยาทีใช้ในการรักษาผูปวยไวรัส
       ้                     ่               ้ ่                  จนกว่าตรวจไม่พบ HBsAg และตรวจไม่พบ HBV
ตับอักเสบบี                                                       DNA 3 ครั้ง แต่ละครั้งห่างกันไม่น้อยกว่า 6 เดือน


                                                                               ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น    99
                                                                               ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
ตารางที่ 1 การตอบสนองของยาชนิดต่างๆ ในกลุ่ม HBeAg Positive chronic HBV
                     ชนิดของการรักษา               Loss of HBV DNA Loss of HBeAg HBeAb + Loss of HBsAg
                No treatment                            0 – 17%       6 – 12%     4 – 6%    0 – 1%
                Interferon (IFN)                          37%           33%        18%      7 – 8%
                Pegylated IFN                             25%         30 – 34%   21 – 32%      3%
                Lamivudine (100 mg)                     40 – 44%      17 – 32%   16 – 21%      1%
                Adefovir (10 mg)                          21%           24%        12%         0%
                Tenofovir (300 mg)                        76%        ไม่มีข้อมูล   21%        3.2%
                Telbivudine (600 mg)                      60%           26%        22%         0%
                Entecavir (0.5 mg)                        67%           22%        21%         2%

               	          ปัญหาของยารับประทานทัง 2 กลุม เมือใช้
                                                      ้     ่ ่        ทุก 6-12 เดือน หากมีระดับสูงขึ้นมากกว่า 1.5 เท่า
               ไปนานๆ จะมีโอกาสเกิดการดื้อยาจาก viral muta-            ให้พิจารณารักษาตามกลุ่ม ข.
               tion ได้ โอกาสที่จะเกิดภาวะดื้อยาจะไม่เท่ากันใน         	         	 ผูปวยกลุมนีจะทำ�การรักษาเมือผูปวย
                                                                                       ้ ่ ่ ้                     ่ ้ ่
               แต่ละตัว ยาใดทีมโอกาสทีไวรัสดือยาน้อย เรียกว่ามี
                                ่ ี       ่       ้                    ต้องได้รับการรักษาด้วยยาที่มีผลต่อภูมิต้านทาน
               genetic resistance barrier สูง ได้แก่ยากลุม tenofovir
                                                         ่             เช่น steroid, chemotherapy, rituximab ควรได้รับยา
               และ entecavir  ยาที่มีโอกาสที่ไวรัสดื้อยาได้ง่าย คือ    lamivudine เพื่อป้องกันการ reactivation ของ viral
               lamivudine และ telbivudine ส่วน adefovir มีโอกาส        hepatitis B เกิด hepatitis flare ได้ และควรให้ยาต่อ
Vol. 10 No.3




               ที่ไวรัสดื้อยาได้ปานกลาง                                เนืองไปอีกอย่างน้อย 12 สัปดาห์หลังหยุดยากลุมดัง
                                                                          ่                                           ่
                                                                       กล่าว ยกเว้นยา rituximab ควรให้ lamivudine ต่อ
               แนวทางการรักษาผู้ป่วยกลุ่มต่างๆ                         เนื่องไปอีกไม่น้อยกว่า 1 ปี รายละเอียดให้ดูในการ
IJM




               ก. Inactive chronic hepatitis B infection (HBV          รักษากลุ่ม ค.
               carrier) โดย serum ALT ปกติ (ชาย < 30 IU/L และ          ข. Chronic hepatitis B แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
               หญิง < 19 IU/L) ไม่ตองรักษา ทังนีผปวยทีมี HBeAg
                                   ้         ้ ้ ู้ ่ ่                กลุ่มที่ HBeAg positive และ HBeAg negative ซึ่ง
               positive ให้ติดตามดู serum ALT ทุก 3-6 เดือน  ใน        ผลการรักษาและเป้าหมายในการรักษาแตกต่างกัน
               ผูปวยทีมี HBeAg negative ให้ตดตามดู serum ALT
                 ้ ่ ่                        ิ




               100       ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น
                       ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
รูปที่ 1  แนวทางการรักษาผู้ป่วยตับอักเสบบีเรื้อรังที่มี HBeAg +
       รูปที่ 1. แนวทางการรักษาผูปวยตับอักเสบบีเรื้อรังที่มี HBeAg +

                                                         HBeAg Positive


                                                Advanced liver fibrosis
                                                  or liver cirrhosis *

                                   No                                             Yes

                   DNA > 20,000 IU/ml                                             Detectable HBV DNA (PCR)
                  No              Yes                                                Yes            No
       No treatment                      ALT elevated                    Consider treatment            Test for HBV DNA
Monitor DNA ทุก 6-12 เดือน                                                                             ALT ทุก 3-6 เดือน


                              No                            >2 เทา ULN

                                      1.5 – 2 เทา ULN
                                                                                   Yes
No treatment




                                                                                                                                 IJM
Monitor ALT, HBeAg,                     Liver biopsy
DNA ทุก 3-6 เดือน




                                                                                                                                 Vol. 10 No.3
          No                        Significant pathology **

   * ตรวจหา sign of chronic liver disease เชน spider naevi, palmar
   erythema, Gynecomastia, decompensate liver function เชน hypoalbumin
   และ hyperglobulin เปนตน
   ** HAI score > 3, หรือ metavir scdre > 2 ULN = upper limit normal
                     ULN = upper limit normal




                                                                               ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น    101
                                                                               ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
รูปที่ 2. รูแนวทางการรักษาผูปวยตับอักเสบบีเรืบรังกชนิด HBeAgงnegative
                                    ปที่ 2 แนวทางการรักษาผู้ป่วยตั้อ อั เสบบีเรื้อรั ชนิด HBeAg negative

                                                                            HBeAg Negative


                                           DNA > 2,000 IU/ml                                                DNA < 2,000 IU/ml


                      ALT Normal                     ALT 1.5 – 2 ULN                 ALT > 2 ULN                  No treatment
                                                                                                              ติดตามทุก 6-12 เดือน
                 No treatment                                Liver biopsy                  Consider
                 ติดตาม ALT , HBeAg,                                                       treatment
                 HBV-DNA ทุก 6-12 เดือน                  Significant pathology


                                                No                                   Yes


                                       รูปที่ 3  แนวทางการเลือกยาที่ใช้ในการรักษาตับอักเสบบีเรื้อรัง
                       รูปที่ 3. แนวทางการเลือกยาที่ใชในการรักษาตับอักเสบบีเรื้อรัง
Vol. 10 No.3




                                                                      Liver status
IJM




                              Decompensate / cirrhosis                                             No cirrhosis

                     Nucleoside or Nucleotide analogues ที่มี        Any of these conditions
                     high genetic resistance barrier เชน                - Elderly
                     Entecavir หรือ Tenofovir หรือใหยา                  - Pregnancy
                     combination เชน Lamivudine + Adefovir              - Renal insufficiency
                     เปนตน ผูหญิงที่วางแผนจะมีบุตรในอนาคตอันใกลไม-ควรใหยา nucleotide หรือ nucleoside เพราะตองใหเปน
                                                                              Severe depression
                        เวลานาน ควรเลือก IFN หรือ Peg IFN ซึ่งรักษานาน 6--12 เดือน เมื่อthrombocytopeniaบุตรไดถายังตองการ
                                                                              Anemia, หยุดยาก็สามารถมี และ Neutropenia
                                                                                           Yes                        No
                                                                  Consider Nucleotide หรือ Nucleoside             Consider IFN หรือ Peg IFN




               102     ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น
                     ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
ผู้หญิงที่วางแผนจะมีบุตรในอนาคตอัน มี HbeAg positive ควรได้รับยา 6-12 เดือน ผู้ป่วยที่
ใกล้ไม่ควรให้ยา nucleotide หรือ nucleoside เพราะ มี HBeAg negative ควรได้รับยา 12 เดือน
ต้องให้เป็นเวลานานยไดรบการรักษาดหรือ Peg IFN 	IFN ควรได้ป่วยที่ได้รับยา adefovir และทุก 2 สัปดาห
               หากผูปว ควรเลือก IFN วย IFN หรือ Peg
                               ั                                      ผู รับการตรวจ ALT และ CBC tenofovir
ซึงรักในชวง 1-2 เดือเดือน เมืองหยุดยาก็สตรวจทุก 4-6 ร ปดาห และควรไดดภาวะไตทำ�thyroid ดปกติ จำ�เป็นต้HBV
  ่ ษานาน 6-12 นแรก หลั จากนั้นให ามารถมีบตสั อาจทำ�ให้เกิ รับการตรวจ งานผิ function test และ อง
                                 ่                    ุ
ได้ถ้าDNAอทุก 6 เดือน ผูปวยทีมี HbeAg positive ควรไดรบตรวจการทำ�น ผูปวยที่มี HBeAg อนร่วมด้ควรไดรับยา 12
      ยังต้ งการ                   ่                       ั ยา 6-12 เดือ งานของไตทุก 3 เดื negative วย นอกจาก
	 เดือนหากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วย IFN หรือ การตรวจ ALT และ HBV DNA
Peg IFN ควรได้วรยทีการตรวจ ALT และ CBC ทุก 2 	าใหเกิดภาวะไตทํางานผิดปกติพันเปทกองตรวจการทํายงาน
               ผูป ับ ่ไดรับยา adefovir และ tenofovir อาจทํ         ผูปวยหญิงวัยเจริญ จํา ธุ์ นุตคนทีก�ลังได้ า
                                                                        ้ ่                             ่ำ
สัปดาห์ในช่วง31-2อนรอนแรกนอกจากการตรวจตรวจและรัHBV ไม่ว่าจะเป็น nucleoside และ nucleotide หรือ
      ของไตทุก เดื เดื วมดวย หลังจากนั้นให้ ALT กษา DNA
ทุก 4-6 สัปดาห์ยหญิงวัยเจริญพัับธุทุกคนที่กําthyroid กษา ไมต้อจะเปน nucleoside�และ เพราะยาทุกตัวมีIFN ตอง
               ผูปว และควรได้ร นการตรวจ ลังไดยารั IFN วา งแนะนำ�ให้คมกำ เนิด nucleotide หรือ ผลต่อ
                                                                                 ุ
function test และ าHBV DNA ทุก วมีเดืลตนเด็กในครรภ เด็กในครรภ์
      แนะนําใหคุมกํ เนิดเพราะยาทุกตั 6 ผ อ อ ผู้ป่วยที่

รูปที่ รู4ปแนวทางการติดตามการรักกษาผู้ป่วยไวรัสตับอัอักเสบบีวด้วnucleotide หรือหรือ nucleoside analogues
           ที่ 4. แนวทางการติดตามการรั ษาผู ปว สตับ กเสบบี ด ย ย nucleotide nucleoside analogues


                         Liver cirrhosis                                     No liver cirrhosis
         Nucleoside or Nucleotide with high genetic             Any approved Nucleoside or Nucleotide
              barrier or combination treatment                 depending on HBV DNA และ Co-morbid


                                      Biochemical and virological response
                                                 หลัง 6 เดือน




                                                                                                                            IJM
                                                                                                                            Vol. 10 No.3
         DNA < 60 IU/ml                          Partial response                         DNA >2,000 IU/ml
        Complete response                      DNA 60-2,000 IU/ml                        In adequate response


        Continue treatment                   เพิ่มยาตัวอื่นหรือติดตาม                 เพิ่มยาตัวอื่นทีไมมี cross
                                                                                                      ่
        ติดตามทุก 6 เดือน                     อยางใกลชิดทุก 3 เดือน              resistance* ติดตามทุก 3 เดือน

   * - ถาให lamivudine ใหเพิ่มยา adefovir หรือ tenofovir
     - ถาให telbivudine ใหเพิ่ม adefovir หรือ tenofovir
     - ถาให entecavir ใหเพิ่ม adefovir หรือ tenofovir
     - ถาให adefovir (LAM naïve) ใหเพิ่ม entecavir หรือ lamivudine หรือ telbivudine
     - ถาให adefovir (LAM – resistance) ใหเพิ่ม entecavir + tenofovir




                                                                          ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น    103
                                                                          ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
ค. ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบี ที่มีอาการและผลการ         fulminate liver failure โดยดูจากมี prothombin time
               ตรวจเลือดเหมือนตับอักเสบเฉียบพลัน ซึงมีสาเหตุ
                                                          ่          prolong
               ได้ 2 ประการคือ                                       	         2.	 Chronic hepatitis B และมี reactivation
               	             1.	 Acute hepatitis B ซึ่งพบได้น้อยใน   ทำ�ให้เกิด flare ของ hepatitis ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นเอง
               ผูใหญ่ จะเกิดในกรณีมการติดเชือจากการได้รบเลือด
                 ้                      ี         ้           ั      แต่ส่วนใหญ่จะเกิดหลังได้ chemotherapy, steroid,
               หรือสารนําจากเลือด หรือกรณีทใช้ของมีคมร่วมกับ
                              ้                     ี่               immunosuppressive drugs, Rituximab, anti TNFa
               ผูทเี่ ป็นไวรัสตับอักเสบบี โดยผูปวยจะมีอาการหลัง
                   ้                             ้ ่                 (รักษา rheumatoid arthritis และ inflammatory
               จากติดเชือประมาณ 1-3 เดือน มีอาการไข้ ปวดเมือย
                           ้                                    ่    bowel diseases) และหลัง organ transplantation
               ตามตัว เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ภาวะ jaundice      (Bone marrow, solid organs) การวินิจฉัยอาศัยการ
               จะเกิดหลังมีอาการประมาณ 1-2 สัปดาห์ โดยปกติ           เพิ่มขึ้นของ ALT มากกว่า 3 เท่า ULN และอาจมี
               95-99% ของผู้ป่วยจะหายได้เอง ร่างกายสามารถ            อาการ jaundice ร่วมด้วยการตรวจทางห้องปฏิบัติ
               กำ�จัดเชื้อไวรัสได้ ตามด้วยมีภูมิต้านทานโดยมี se-     การพบ HBV DNA สูงขึ้นมากกว่า 1 log มี anti
               roconversion จาก HBsAg + เป็น HBsAb + และ             HBc IgM ให้ผลบวก ส่วนใหญ่ของผู้ป่วยกลุ่มนี้จะ
               HBsAg – การรักษาโดยใช้ lamivudine 100 mg/วัน          มี HBsAg positive อยูแล้ว แต่จะมีผปวยกลุมหนึงมี
                                                                                            ่            ู้ ่ ่ ่
               ทำ�ให้ HBV DNA และค่า bilirubin ลดลงเร็วขึ้น แต่      HBsAg negative ในกระแสเลือดแต่มีเชื้อ HBV อยู่
               ค่า ALT จะไม่แตกต่างจากกลุมไม่รกษา ดังนันจึงยัง
                                               ่ ั          ้        ภายในร่างกาย ก็อาจเกิด HBV reactivation ได้ ดัง
               ไม่มีข้อแนะนำ�ในการรักษา Acute hepatitis B ด้วย       นั้นในผู้ป่วยที่จะได้รับการรักษาใดๆ ที่มีผลนำ�ไปสู่
               ยากำ�จัดไวรัส ยกเว้นในกรณีที่มีความเสี่ยงที่จะเกิด    HBV reactivation จึงมีข้อเสนอแนะดังนี้ (รูปที่ 5)
Vol. 10 No.3
IJM




               104     ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น
                     ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
HBsAg +                       HBsAg –                      HBsAg –                    HBsAg –
                                         Anti HBc +                   Anti HBc +                 Anti HBc -
                                         Anti HBs -                   Anti HBs +                 Anti HBs -
         Check DNA
                                     HBV vaccination 1dose            Normal ALT                   HBV vaccination

   Start antiviral                                                                                    Elevate ALT
   - Lamivudine ถา DNA < 200
   IU/ml                              Anti HBs +      Anti HBs -       No treatment
   - Entecavir หรือ tenofovir ถา
                                                                                      HBV DNA +          HBV DNA -
   DNA > 2,000 IU/ml
                                      No treatment      HBV DNA
                                                                                   Start Anti-viral
        Follow ALT, DNA
                                            HBV DNA +              HBV DNA -

       ใหยาตอ 6-12 เดือน
      หลังหยุด chemotherapy                                         Complete HBV             Evaluate non HBV cause
                                                                     vaccination                    of ALT

รูปที่ 5 	 แนวทางการป้องกันผู้ป่วย HBV ที่จะได้ chemotherapy หรือ immunosuppressive treatment ไม่
          รูปที่ 5. แนวทางการปองกันผูปวย HBV ที่จะได chemotherapy หรือ immunosuppressive treatment ไมใหเกิด viral
	           ให้เกิด viral reactivation
          reactivation




                                                                                                                              IJM
การรักษาผู้ปก่วษาผูปวี HBV reactivation
         การรั ยที่ม ยที่มี HBV reactivation                พิจารณาให้ยา lamivudine หรือ telbivudine หรือ


                                                                                                                              Vol. 10 No.3
	         ผู้ป่วยจะมีอาการแตกต่าางกันน้งตั้งแต่มไีอม่มี tenofovir หรือางรุนแรง นําไปสู Fulminant liver failureาณ
                 ผูปวยจะมีอาการแตกต งกั ตั แตไม าการจนถึงตับอักเสบอย entecavir เพราะสามารถลดปริม
อาการจนถึงตัยบอัิตได างรุนแรง นำ�ไปสู่ Fulmi- ไวรัสได้เร็วและมีความปลอดภัย
         และเสี ชีว กเสบอย่
nant liver failure และเสีีอาการรุได้แรง ตองรักษาดังนี้
                 ในกรณีที่ม ยชีวิต น                        จ. ผู้ป่วยกลุ่มเฉพาะ ได้แก่
	                1.ด หยุด chemotherapy และ immunosu- 	 agents 1.	 ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย หากไม่
          1.	 หยุ chemotherapy และ           immunosupressive
pressive agents2. ใหการรักษาผูปวยดวย lamivudine ทันที ได้รบการรักษา HIV ด้วย antiretroviral agent (CD4
                                                                ั
	         2.	 ให้การรักษาผู้ป่วยด้วย lamivudine ยังสูง) แต่จำ�เป็นต้องใช้ยารักษา HBV ให้เลือก ad-
ทันที                                                       efovir หรือ telbivudine เพื่อป้องกันการเกิด cross
	         3.	 ในกรณีที่มี acute liver failure ให้พิ resistance ถ้าใช้ lamivudine หรือ tenofovir ในการ
จาณา liver transplantation ยกเว้นโรคทีผปวยเป็นอยู่ รักษา HIV อนาคตในกรณีที่ผู้ป่วยมี CD4ตํ่ากว่า
                                           ่ ู้ ่
เช่น มะเร็ง มีการพยากรณ์โรคไม่ดี พิจารณาให้การ 200 cells/ml และมี significant liver fibrosis หรือ
รักษาแบบประคับประคอง                                        cirrhosis ให้ใช้ยา 2 ขนานก่อน คือ lamivudine ร่วม
ง. ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบี ที่มี decompensated กับ tenofovir พิจารณาเพิม anti-retroviral  agents ตัว
                                                                                     ่
cirrhosis ไม่สามารถให้ IFN หรือ Peg-IFN ต้อง ที่ 3 เมื่อ HBV DNA น้อยกว่า 400 copies/ml เพื่อ

                                                                            ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น    105
                                                                            ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
ป้องกันการเกิด immune reconstitution syndrome                    ระหว่างรักษาด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจมี
               ตามมาด้วย severe hepatitis และ liver failure                     reactivation ของ HBV ในระหว่างการรักษา
               ผูปวย HBV + HIV ทีมี CD4 > 500 cells/ml สามารถ
                 ้ ่              ่                                             	         3.	 ผู้ป่วยโรคไตวาย ควรหลีกเลี่ยงการใช้
               ให้การรักษาด้วย peg-IFN a ได้                                    IFN หรือ peg-IFN ควรพิจารณาให้ยากลุ่ม lami-
               	        2.	 ผูปวยทีมี HBV ร่วมกับ HCV สามารถ
                              ้ ่ ่                                             vudine หรือ telbivudine โดยลดขนาดยาตามการ
               ใช้ยา peg-IFNa ได้ แต่ต้องติดตามดู HBV DNA                       ทำ�งานของไต (ตารางที่ 2)
               ตารางที่ 2 การปรับยา anti-HBV ในกรณีที่มีภาวะไตวาย
                      ชนิดของยา                       CCr (ml/min)                 First dose (mg)            Maintenance (mg)
                Lamivudine                                 30 – 50                        100                             50
                                                           15 – 30                        100                             25
                                                           5 – 15                         35                              15
                                                             <5                           35                              10
                Telbivudine                                >50                             600                            600
                                                         30 – 49                           600                       600 ทุก 2 วัน
                                  จ.   หญิงตั้งครรภและมีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะถายทอดเชื้อไปใหลูกและเกิดการ
                                                           <30                             600                       600 ทุก 3 วัน
                                       กําเริบของตับอักเสบระหวางตั้งครรภ มีแนวทางการดูแลดังรูปที่ 6
                                                            <5                             600                       600 ทุก 4 วัน
                        รูปที่ 6. แนวทางการดูแลผูปวย HBV ที่ตั้งครรภ
                                                   
               	       4.	 หญิงตั้งครรภ์และมีการติดเชื้อไวรัส ให้ลูกและเกิดการกำ�เริบของตับอักเสบระหว่างตั้ง
               ตับอักเสบบี   ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะถ่ายทอดเชื้อไป ครรภ์ มีแนวทางการดูแลดังรูปที่ 6
Vol. 10 No.3




                                                                       First trimester
IJM




                                                             Check HBsAg, anti-HBc, Anti-HBs


                                                                                                       HBsAg +
                            Negative for HBsAg, Anti HBs

                                                                                           HBV DNA at baseline และ wk. 28
                                       Vaccination


                           Infant receive vaccination at birth               HBV DNA < 106 copies

                        สงตอใหผูเชี่ยวชาญโรคตับ เพื่อพิจารณาการรักษาดวย                          HBV DNA > 106 copies
                        lamivudine, tenofovir, telbivudine เมื่อตั้งครรภได 32 สัปดาห
                                                  รูปที่ 6 แนวทางการดูแลผู้ป่วย HBV ที่ตั้งครรภ์

               106     ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น
                     ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
บรรณานุกรม                                              7.	 Chan LYH, Jia J. Chronic hepatitis B in Asia
1.	 แนวทางการรั ก ษาผู้ ป่ ว ยไวรั ส ตั บ อั ก เสบบี         – new insights from the past decade. Journal of
    เรื้อรังในประเทศไทย ปี 2552 : สมาคมโรคตับ                Gastroenterol and Hepatol 2010;suppl1:131-7.
    ประเทศไทย.  http://www.liversocietythailand.        8.	 Dusheiko GM. Cost-effectiveness of oral
    org                                                      treatments for chronic hepatitis B. Journal of
2.	 APASL Guidelines for HBV management                      Hepatology 2009;51:623-5.
    2008. www.apasl.info/guidelinesHBVhtml.             9.	 Vanagas G, Padaiga Z, Mickeviciene A. Cost-
3.	 AASLD Practical Guideline : Chronic hepatitis            effectiveness and cost-utility of the treatment
    B update 2009. Hepatology 2009;50(3):1-35.               of chronic hepatitis B with peginterferon alfa-
4.	 Adhish S, Rajesh K, Sajid J, Wright VK.                  2a, interferon alfa, and lamivudine in Lithu-
    Chronic HBV with pregnancy : Reactivation                ania. Medicina (Kuanas)2010;46(12):835-42.
    flare causing fulminant hepatic failure. Ann        10.	 Wiens A, Venson R, Januario C, Pontarolo R.
    Hepatol 2011;10(2):233-6.                                Cost-effecitveness of telbivudine vs lamivu-
5.	 Buti M, Brosa M, Casado MA, Rueda M,                     dine for chronic hepatitis B. Braz J Infect Dis
    Esteban R. Modeling the cost-effectiveness               2011;15(3):225-30.
    of different oral antiviral therapies in patients   11.	 Wu B, Li T, Chen H, Shen J. Cost-effectiveness
    with chronic hepatitis B. Journal of Hepatology          of Nucleoside analog therapy for Hepatitis B in
    2009;51:640-6.                                           China : A Markov Analysis. Value in Health
6.	 Bruno R, Dider S. The difficulties of manag-             2010;13(5):592-60.




                                                                                                                       IJM
    ing severe hepatitis B virus reactivation. Liver
    international 2011:104-10.



                                                                                                                       Vol. 10 No.3




                                                                     ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น    107
                                                                     ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554

More Related Content

What's hot

การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
techno UCH
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Aiman Sadeeyamu
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
 

What's hot (20)

ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 

Similar to แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง

24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
Aimmary
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
Adisorn Tanprasert
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
Wan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
Wan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
Wan Ngamwongwan
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
Pawat Logessathien
 

Similar to แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง (20)

24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
Thailand guideline for management of chb  and chc 2015Thailand guideline for management of chb  and chc 2015
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
Pediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine programPediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine program
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst
 
Present blood program
Present blood programPresent blood program
Present blood program
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
 
Dl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายกDl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายก
 
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายกการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 

More from Utai Sukviwatsirikul

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง

  • 1. แนวทางการรักษาไวรัสตับอักเสบบี ในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง สาขาโรคทางเดินอาหารและตับ ภาควิชาอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบี อาจมาพบแพทย์ ยาที่ใช้ในการรักษาผูปวยไวรัสตับอักเสบบี ้ ่ ด้วยรูปแบบต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. Immunomodulators เพื่อกระตุ้นภูมิ 1. ตรวจพบเชื้อไวรัสบี (HBsAg posi- ต้านทานของร่างกายให้กำ�จัดเชื้อไวรัสบี ยาในกลุ่ม tive) โดยที่ไม่มีการอักเสบของตับ เรียกว่า inactive นี้ประกอบด้วย chronic hepatitis B infection (HBV carrier) - Conventional interferon (intron A) 2. ตรวจพบมี ก ารอั ก เสบของตั บ โดย โดยให้ 5-10 IU 3 ครังต่อสัปดาห์ ฉีดใต้ผวหนัง นาน ้ ิ อาจมีหรือไม่มีอาการก็ได้ โดยค่า serum ALT จะอยู่ 24 สัปดาห์ ระหว่าง 1.5 – 5 เท่าของค่าปกติ และมักจะไม่เกิน - Pegylated interferon a -2a (pe- 500 IU/L และตรวจ ติดตามการรักษาอย่างน้อย 2 gasys) 180 microgram หรือ pegylated interferon ครั้ง ระยะเวลาห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เดือน ยังพบ a -2b (peg-intron) 1.5 microgram ต่อนํ้าหนักตัว ALT สูงอยู่ เรียกว่า chronic hepatitis B 1 กิโลกรัม ฉีดใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละครั้ง นาน 48 3. ผูปวยมาพบแพทย์ดวยอาการตาเหลือง ้ ่ ้ สัปดาห์ IJM ตัวเหลืองอย่างเฉียบพลัน มีอาการอ่อนเพลีย ตรวจ - Thymosis – a 1.6 mg ฉีดใต้ผวหนังิ Vol. 10 No.3 พบ serum ALT สูง ซึ่งปกติมักจะสูง 500 – 2,000 2 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 48 สัปดาห์ IU/L จะพบในผู้ป่วยที่เป็น acute viral hepatitis 2. ยากลุ่ม nucleoside ได้แก่ lamivudine หรือ chronic hepatitis B ซึ่งมี acute flare จาก viral (zeffix), entecavir (baraclude), telbivudine (sebivo) reactivation 3. ยากลุ่ม nucleotide ได้แก่ adefovir 4. ผู้ป่วยที่มีอาการและอาการแสดงของ (Hepsera), tenofovir (Viread) โรคตับ จนมีการทำ�ลายเนื้อตับมาก มี decompensa- ยาที่ใช้รับประทานทั้งกลุ่ม nucleoside tion ของตับ เป็นกลุ่ม liver cirrhosis จาก hepatitis B หรือ nucleotide นี้ จะให้เป็นระยะยาวไม่น้อยกว่า 5. ผูปวยกลุมพิเศษทีมโรคหรือภาวะอืนๆ ้ ่ ่ ่ ี ่ 1 ปี ผู้ป่วยที่มี HBeAg เป็นบวก จะต้องให้ยาไปจน อยูดวย และตรวจพบมีไวรัสตับอักเสบบีดวยซึงต้อง ่้ ้ ่ HBeAg เป็นลบ ร่วมกับตรวจ HBV DNA น้อยกว่า คำ�นึงเมื่อรักษาโรคนั้นๆ เช่น ผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับ 60 IU/ml อย่างน้อย 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 6 เดือน อักเสบซี หรือ HIV ผูปวยทีตองให้ chemotherapy ผู้ ้ ่ ่้ ในกรณีที่ผู้ป่วย HBeAg เป็นลบ จะต้องให้ยาไป ป่วยตังครรภ์ เป็นต้น ยาทีใช้ในการรักษาผูปวยไวรัส ้ ่ ้ ่ จนกว่าตรวจไม่พบ HBsAg และตรวจไม่พบ HBV ตับอักเสบบี DNA 3 ครั้ง แต่ละครั้งห่างกันไม่น้อยกว่า 6 เดือน ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 99 ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
  • 2. ตารางที่ 1 การตอบสนองของยาชนิดต่างๆ ในกลุ่ม HBeAg Positive chronic HBV ชนิดของการรักษา Loss of HBV DNA Loss of HBeAg HBeAb + Loss of HBsAg No treatment 0 – 17% 6 – 12% 4 – 6% 0 – 1% Interferon (IFN) 37% 33% 18% 7 – 8% Pegylated IFN 25% 30 – 34% 21 – 32% 3% Lamivudine (100 mg) 40 – 44% 17 – 32% 16 – 21% 1% Adefovir (10 mg) 21% 24% 12% 0% Tenofovir (300 mg) 76% ไม่มีข้อมูล 21% 3.2% Telbivudine (600 mg) 60% 26% 22% 0% Entecavir (0.5 mg) 67% 22% 21% 2% ปัญหาของยารับประทานทัง 2 กลุม เมือใช้ ้ ่ ่ ทุก 6-12 เดือน หากมีระดับสูงขึ้นมากกว่า 1.5 เท่า ไปนานๆ จะมีโอกาสเกิดการดื้อยาจาก viral muta- ให้พิจารณารักษาตามกลุ่ม ข. tion ได้ โอกาสที่จะเกิดภาวะดื้อยาจะไม่เท่ากันใน ผูปวยกลุมนีจะทำ�การรักษาเมือผูปวย ้ ่ ่ ้ ่ ้ ่ แต่ละตัว ยาใดทีมโอกาสทีไวรัสดือยาน้อย เรียกว่ามี ่ ี ่ ้ ต้องได้รับการรักษาด้วยยาที่มีผลต่อภูมิต้านทาน genetic resistance barrier สูง ได้แก่ยากลุม tenofovir ่ เช่น steroid, chemotherapy, rituximab ควรได้รับยา และ entecavir ยาที่มีโอกาสที่ไวรัสดื้อยาได้ง่าย คือ lamivudine เพื่อป้องกันการ reactivation ของ viral lamivudine และ telbivudine ส่วน adefovir มีโอกาส hepatitis B เกิด hepatitis flare ได้ และควรให้ยาต่อ Vol. 10 No.3 ที่ไวรัสดื้อยาได้ปานกลาง เนืองไปอีกอย่างน้อย 12 สัปดาห์หลังหยุดยากลุมดัง ่ ่ กล่าว ยกเว้นยา rituximab ควรให้ lamivudine ต่อ แนวทางการรักษาผู้ป่วยกลุ่มต่างๆ เนื่องไปอีกไม่น้อยกว่า 1 ปี รายละเอียดให้ดูในการ IJM ก. Inactive chronic hepatitis B infection (HBV รักษากลุ่ม ค. carrier) โดย serum ALT ปกติ (ชาย < 30 IU/L และ ข. Chronic hepatitis B แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ หญิง < 19 IU/L) ไม่ตองรักษา ทังนีผปวยทีมี HBeAg ้ ้ ้ ู้ ่ ่ กลุ่มที่ HBeAg positive และ HBeAg negative ซึ่ง positive ให้ติดตามดู serum ALT ทุก 3-6 เดือน ใน ผลการรักษาและเป้าหมายในการรักษาแตกต่างกัน ผูปวยทีมี HBeAg negative ให้ตดตามดู serum ALT ้ ่ ่ ิ 100 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
  • 3. รูปที่ 1 แนวทางการรักษาผู้ป่วยตับอักเสบบีเรื้อรังที่มี HBeAg + รูปที่ 1. แนวทางการรักษาผูปวยตับอักเสบบีเรื้อรังที่มี HBeAg + HBeAg Positive Advanced liver fibrosis or liver cirrhosis * No Yes DNA > 20,000 IU/ml Detectable HBV DNA (PCR) No Yes Yes No No treatment ALT elevated Consider treatment Test for HBV DNA Monitor DNA ทุก 6-12 เดือน ALT ทุก 3-6 เดือน No >2 เทา ULN 1.5 – 2 เทา ULN Yes No treatment IJM Monitor ALT, HBeAg, Liver biopsy DNA ทุก 3-6 เดือน Vol. 10 No.3 No Significant pathology ** * ตรวจหา sign of chronic liver disease เชน spider naevi, palmar erythema, Gynecomastia, decompensate liver function เชน hypoalbumin และ hyperglobulin เปนตน ** HAI score > 3, หรือ metavir scdre > 2 ULN = upper limit normal ULN = upper limit normal ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 101 ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
  • 4. รูปที่ 2. รูแนวทางการรักษาผูปวยตับอักเสบบีเรืบรังกชนิด HBeAgงnegative ปที่ 2 แนวทางการรักษาผู้ป่วยตั้อ อั เสบบีเรื้อรั ชนิด HBeAg negative HBeAg Negative DNA > 2,000 IU/ml DNA < 2,000 IU/ml ALT Normal ALT 1.5 – 2 ULN ALT > 2 ULN No treatment ติดตามทุก 6-12 เดือน No treatment Liver biopsy Consider ติดตาม ALT , HBeAg, treatment HBV-DNA ทุก 6-12 เดือน Significant pathology No Yes รูปที่ 3 แนวทางการเลือกยาที่ใช้ในการรักษาตับอักเสบบีเรื้อรัง รูปที่ 3. แนวทางการเลือกยาที่ใชในการรักษาตับอักเสบบีเรื้อรัง Vol. 10 No.3 Liver status IJM Decompensate / cirrhosis No cirrhosis Nucleoside or Nucleotide analogues ที่มี Any of these conditions high genetic resistance barrier เชน - Elderly Entecavir หรือ Tenofovir หรือใหยา - Pregnancy combination เชน Lamivudine + Adefovir - Renal insufficiency เปนตน ผูหญิงที่วางแผนจะมีบุตรในอนาคตอันใกลไม-ควรใหยา nucleotide หรือ nucleoside เพราะตองใหเปน Severe depression เวลานาน ควรเลือก IFN หรือ Peg IFN ซึ่งรักษานาน 6--12 เดือน เมื่อthrombocytopeniaบุตรไดถายังตองการ Anemia, หยุดยาก็สามารถมี และ Neutropenia Yes No Consider Nucleotide หรือ Nucleoside Consider IFN หรือ Peg IFN 102 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
  • 5. ผู้หญิงที่วางแผนจะมีบุตรในอนาคตอัน มี HbeAg positive ควรได้รับยา 6-12 เดือน ผู้ป่วยที่ ใกล้ไม่ควรให้ยา nucleotide หรือ nucleoside เพราะ มี HBeAg negative ควรได้รับยา 12 เดือน ต้องให้เป็นเวลานานยไดรบการรักษาดหรือ Peg IFN IFN ควรได้ป่วยที่ได้รับยา adefovir และทุก 2 สัปดาห หากผูปว ควรเลือก IFN วย IFN หรือ Peg ั ผู รับการตรวจ ALT และ CBC tenofovir ซึงรักในชวง 1-2 เดือเดือน เมืองหยุดยาก็สตรวจทุก 4-6 ร ปดาห และควรไดดภาวะไตทำ�thyroid ดปกติ จำ�เป็นต้HBV ่ ษานาน 6-12 นแรก หลั จากนั้นให ามารถมีบตสั อาจทำ�ให้เกิ รับการตรวจ งานผิ function test และ อง ่ ุ ได้ถ้าDNAอทุก 6 เดือน ผูปวยทีมี HbeAg positive ควรไดรบตรวจการทำ�น ผูปวยที่มี HBeAg อนร่วมด้ควรไดรับยา 12 ยังต้ งการ ่ ั ยา 6-12 เดือ งานของไตทุก 3 เดื negative วย นอกจาก เดือนหากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วย IFN หรือ การตรวจ ALT และ HBV DNA Peg IFN ควรได้วรยทีการตรวจ ALT และ CBC ทุก 2 าใหเกิดภาวะไตทํางานผิดปกติพันเปทกองตรวจการทํายงาน ผูป ับ ่ไดรับยา adefovir และ tenofovir อาจทํ ผูปวยหญิงวัยเจริญ จํา ธุ์ นุตคนทีก�ลังได้ า ้ ่ ่ำ สัปดาห์ในช่วง31-2อนรอนแรกนอกจากการตรวจตรวจและรัHBV ไม่ว่าจะเป็น nucleoside และ nucleotide หรือ ของไตทุก เดื เดื วมดวย หลังจากนั้นให้ ALT กษา DNA ทุก 4-6 สัปดาห์ยหญิงวัยเจริญพัับธุทุกคนที่กําthyroid กษา ไมต้อจะเปน nucleoside�และ เพราะยาทุกตัวมีIFN ตอง ผูปว และควรได้ร นการตรวจ ลังไดยารั IFN วา งแนะนำ�ให้คมกำ เนิด nucleotide หรือ ผลต่อ ุ function test และ าHBV DNA ทุก วมีเดืลตนเด็กในครรภ เด็กในครรภ์ แนะนําใหคุมกํ เนิดเพราะยาทุกตั 6 ผ อ อ ผู้ป่วยที่ รูปที่ รู4ปแนวทางการติดตามการรักกษาผู้ป่วยไวรัสตับอัอักเสบบีวด้วnucleotide หรือหรือ nucleoside analogues ที่ 4. แนวทางการติดตามการรั ษาผู ปว สตับ กเสบบี ด ย ย nucleotide nucleoside analogues Liver cirrhosis No liver cirrhosis Nucleoside or Nucleotide with high genetic Any approved Nucleoside or Nucleotide barrier or combination treatment depending on HBV DNA และ Co-morbid Biochemical and virological response หลัง 6 เดือน IJM Vol. 10 No.3 DNA < 60 IU/ml Partial response DNA >2,000 IU/ml Complete response DNA 60-2,000 IU/ml In adequate response Continue treatment เพิ่มยาตัวอื่นหรือติดตาม เพิ่มยาตัวอื่นทีไมมี cross ่ ติดตามทุก 6 เดือน อยางใกลชิดทุก 3 เดือน resistance* ติดตามทุก 3 เดือน * - ถาให lamivudine ใหเพิ่มยา adefovir หรือ tenofovir - ถาให telbivudine ใหเพิ่ม adefovir หรือ tenofovir - ถาให entecavir ใหเพิ่ม adefovir หรือ tenofovir - ถาให adefovir (LAM naïve) ใหเพิ่ม entecavir หรือ lamivudine หรือ telbivudine - ถาให adefovir (LAM – resistance) ใหเพิ่ม entecavir + tenofovir ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 103 ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
  • 6. ค. ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบี ที่มีอาการและผลการ fulminate liver failure โดยดูจากมี prothombin time ตรวจเลือดเหมือนตับอักเสบเฉียบพลัน ซึงมีสาเหตุ ่ prolong ได้ 2 ประการคือ 2. Chronic hepatitis B และมี reactivation 1. Acute hepatitis B ซึ่งพบได้น้อยใน ทำ�ให้เกิด flare ของ hepatitis ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นเอง ผูใหญ่ จะเกิดในกรณีมการติดเชือจากการได้รบเลือด ้ ี ้ ั แต่ส่วนใหญ่จะเกิดหลังได้ chemotherapy, steroid, หรือสารนําจากเลือด หรือกรณีทใช้ของมีคมร่วมกับ ้ ี่ immunosuppressive drugs, Rituximab, anti TNFa ผูทเี่ ป็นไวรัสตับอักเสบบี โดยผูปวยจะมีอาการหลัง ้ ้ ่ (รักษา rheumatoid arthritis และ inflammatory จากติดเชือประมาณ 1-3 เดือน มีอาการไข้ ปวดเมือย ้ ่ bowel diseases) และหลัง organ transplantation ตามตัว เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ภาวะ jaundice (Bone marrow, solid organs) การวินิจฉัยอาศัยการ จะเกิดหลังมีอาการประมาณ 1-2 สัปดาห์ โดยปกติ เพิ่มขึ้นของ ALT มากกว่า 3 เท่า ULN และอาจมี 95-99% ของผู้ป่วยจะหายได้เอง ร่างกายสามารถ อาการ jaundice ร่วมด้วยการตรวจทางห้องปฏิบัติ กำ�จัดเชื้อไวรัสได้ ตามด้วยมีภูมิต้านทานโดยมี se- การพบ HBV DNA สูงขึ้นมากกว่า 1 log มี anti roconversion จาก HBsAg + เป็น HBsAb + และ HBc IgM ให้ผลบวก ส่วนใหญ่ของผู้ป่วยกลุ่มนี้จะ HBsAg – การรักษาโดยใช้ lamivudine 100 mg/วัน มี HBsAg positive อยูแล้ว แต่จะมีผปวยกลุมหนึงมี ่ ู้ ่ ่ ่ ทำ�ให้ HBV DNA และค่า bilirubin ลดลงเร็วขึ้น แต่ HBsAg negative ในกระแสเลือดแต่มีเชื้อ HBV อยู่ ค่า ALT จะไม่แตกต่างจากกลุมไม่รกษา ดังนันจึงยัง ่ ั ้ ภายในร่างกาย ก็อาจเกิด HBV reactivation ได้ ดัง ไม่มีข้อแนะนำ�ในการรักษา Acute hepatitis B ด้วย นั้นในผู้ป่วยที่จะได้รับการรักษาใดๆ ที่มีผลนำ�ไปสู่ ยากำ�จัดไวรัส ยกเว้นในกรณีที่มีความเสี่ยงที่จะเกิด HBV reactivation จึงมีข้อเสนอแนะดังนี้ (รูปที่ 5) Vol. 10 No.3 IJM 104 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
  • 7. HBsAg + HBsAg – HBsAg – HBsAg – Anti HBc + Anti HBc + Anti HBc - Anti HBs - Anti HBs + Anti HBs - Check DNA HBV vaccination 1dose Normal ALT HBV vaccination Start antiviral Elevate ALT - Lamivudine ถา DNA < 200 IU/ml Anti HBs + Anti HBs - No treatment - Entecavir หรือ tenofovir ถา HBV DNA + HBV DNA - DNA > 2,000 IU/ml No treatment HBV DNA Start Anti-viral Follow ALT, DNA HBV DNA + HBV DNA - ใหยาตอ 6-12 เดือน หลังหยุด chemotherapy Complete HBV Evaluate non HBV cause vaccination of ALT รูปที่ 5 แนวทางการป้องกันผู้ป่วย HBV ที่จะได้ chemotherapy หรือ immunosuppressive treatment ไม่ รูปที่ 5. แนวทางการปองกันผูปวย HBV ที่จะได chemotherapy หรือ immunosuppressive treatment ไมใหเกิด viral ให้เกิด viral reactivation reactivation IJM การรักษาผู้ปก่วษาผูปวี HBV reactivation การรั ยที่ม ยที่มี HBV reactivation พิจารณาให้ยา lamivudine หรือ telbivudine หรือ Vol. 10 No.3 ผู้ป่วยจะมีอาการแตกต่าางกันน้งตั้งแต่มไีอม่มี tenofovir หรือางรุนแรง นําไปสู Fulminant liver failureาณ ผูปวยจะมีอาการแตกต งกั ตั แตไม าการจนถึงตับอักเสบอย entecavir เพราะสามารถลดปริม อาการจนถึงตัยบอัิตได างรุนแรง นำ�ไปสู่ Fulmi- ไวรัสได้เร็วและมีความปลอดภัย และเสี ชีว กเสบอย่ nant liver failure และเสีีอาการรุได้แรง ตองรักษาดังนี้ ในกรณีที่ม ยชีวิต น จ. ผู้ป่วยกลุ่มเฉพาะ ได้แก่ 1.ด หยุด chemotherapy และ immunosu- agents 1. ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย หากไม่ 1. หยุ chemotherapy และ immunosupressive pressive agents2. ใหการรักษาผูปวยดวย lamivudine ทันที ได้รบการรักษา HIV ด้วย antiretroviral agent (CD4 ั 2. ให้การรักษาผู้ป่วยด้วย lamivudine ยังสูง) แต่จำ�เป็นต้องใช้ยารักษา HBV ให้เลือก ad- ทันที efovir หรือ telbivudine เพื่อป้องกันการเกิด cross 3. ในกรณีที่มี acute liver failure ให้พิ resistance ถ้าใช้ lamivudine หรือ tenofovir ในการ จาณา liver transplantation ยกเว้นโรคทีผปวยเป็นอยู่ รักษา HIV อนาคตในกรณีที่ผู้ป่วยมี CD4ตํ่ากว่า ่ ู้ ่ เช่น มะเร็ง มีการพยากรณ์โรคไม่ดี พิจารณาให้การ 200 cells/ml และมี significant liver fibrosis หรือ รักษาแบบประคับประคอง cirrhosis ให้ใช้ยา 2 ขนานก่อน คือ lamivudine ร่วม ง. ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบี ที่มี decompensated กับ tenofovir พิจารณาเพิม anti-retroviral agents ตัว ่ cirrhosis ไม่สามารถให้ IFN หรือ Peg-IFN ต้อง ที่ 3 เมื่อ HBV DNA น้อยกว่า 400 copies/ml เพื่อ ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 105 ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
  • 8. ป้องกันการเกิด immune reconstitution syndrome ระหว่างรักษาด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจมี ตามมาด้วย severe hepatitis และ liver failure reactivation ของ HBV ในระหว่างการรักษา ผูปวย HBV + HIV ทีมี CD4 > 500 cells/ml สามารถ ้ ่ ่ 3. ผู้ป่วยโรคไตวาย ควรหลีกเลี่ยงการใช้ ให้การรักษาด้วย peg-IFN a ได้ IFN หรือ peg-IFN ควรพิจารณาให้ยากลุ่ม lami- 2. ผูปวยทีมี HBV ร่วมกับ HCV สามารถ ้ ่ ่ vudine หรือ telbivudine โดยลดขนาดยาตามการ ใช้ยา peg-IFNa ได้ แต่ต้องติดตามดู HBV DNA ทำ�งานของไต (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 การปรับยา anti-HBV ในกรณีที่มีภาวะไตวาย ชนิดของยา CCr (ml/min) First dose (mg) Maintenance (mg) Lamivudine 30 – 50 100 50 15 – 30 100 25 5 – 15 35 15 <5 35 10 Telbivudine >50 600 600 30 – 49 600 600 ทุก 2 วัน จ. หญิงตั้งครรภและมีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะถายทอดเชื้อไปใหลูกและเกิดการ <30 600 600 ทุก 3 วัน กําเริบของตับอักเสบระหวางตั้งครรภ มีแนวทางการดูแลดังรูปที่ 6 <5 600 600 ทุก 4 วัน รูปที่ 6. แนวทางการดูแลผูปวย HBV ที่ตั้งครรภ  4. หญิงตั้งครรภ์และมีการติดเชื้อไวรัส ให้ลูกและเกิดการกำ�เริบของตับอักเสบระหว่างตั้ง ตับอักเสบบี ซึ่งมีความเสี่ยงที่จะถ่ายทอดเชื้อไป ครรภ์ มีแนวทางการดูแลดังรูปที่ 6 Vol. 10 No.3 First trimester IJM Check HBsAg, anti-HBc, Anti-HBs HBsAg + Negative for HBsAg, Anti HBs HBV DNA at baseline และ wk. 28 Vaccination Infant receive vaccination at birth HBV DNA < 106 copies สงตอใหผูเชี่ยวชาญโรคตับ เพื่อพิจารณาการรักษาดวย HBV DNA > 106 copies lamivudine, tenofovir, telbivudine เมื่อตั้งครรภได 32 สัปดาห รูปที่ 6 แนวทางการดูแลผู้ป่วย HBV ที่ตั้งครรภ์ 106 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554
  • 9. บรรณานุกรม 7. Chan LYH, Jia J. Chronic hepatitis B in Asia 1. แนวทางการรั ก ษาผู้ ป่ ว ยไวรั ส ตั บ อั ก เสบบี – new insights from the past decade. Journal of เรื้อรังในประเทศไทย ปี 2552 : สมาคมโรคตับ Gastroenterol and Hepatol 2010;suppl1:131-7. ประเทศไทย. http://www.liversocietythailand. 8. Dusheiko GM. Cost-effectiveness of oral org treatments for chronic hepatitis B. Journal of 2. APASL Guidelines for HBV management Hepatology 2009;51:623-5. 2008. www.apasl.info/guidelinesHBVhtml. 9. Vanagas G, Padaiga Z, Mickeviciene A. Cost- 3. AASLD Practical Guideline : Chronic hepatitis effectiveness and cost-utility of the treatment B update 2009. Hepatology 2009;50(3):1-35. of chronic hepatitis B with peginterferon alfa- 4. Adhish S, Rajesh K, Sajid J, Wright VK. 2a, interferon alfa, and lamivudine in Lithu- Chronic HBV with pregnancy : Reactivation ania. Medicina (Kuanas)2010;46(12):835-42. flare causing fulminant hepatic failure. Ann 10. Wiens A, Venson R, Januario C, Pontarolo R. Hepatol 2011;10(2):233-6. Cost-effecitveness of telbivudine vs lamivu- 5. Buti M, Brosa M, Casado MA, Rueda M, dine for chronic hepatitis B. Braz J Infect Dis Esteban R. Modeling the cost-effectiveness 2011;15(3):225-30. of different oral antiviral therapies in patients 11. Wu B, Li T, Chen H, Shen J. Cost-effectiveness with chronic hepatitis B. Journal of Hepatology of Nucleoside analog therapy for Hepatitis B in 2009;51:640-6. China : A Markov Analysis. Value in Health 6. Bruno R, Dider S. The difficulties of manag- 2010;13(5):592-60. IJM ing severe hepatitis B virus reactivation. Liver international 2011:104-10. Vol. 10 No.3 ว า ร ส า ร อ า ยุ ร ศ า ส ต ร์ อี ส า น 107 ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2554