SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1
โครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
เรื่อง แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาว มนัชญา วิภูสันติ เลขที่ 13 ชั้น 6 ห้อง 7
2.นางสาว เกศกนก ปิ่นผักแว่น เลขที่ 18 ชั้น 6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
โรงเรียนยุราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ชื่อโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ
( Autoimmune dark enemies in your body )
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวมนัชญา วิภูสันติ
นางสาวเกศกนก ปิ่นผักแว่น
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่องแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your body ) จัดทา
ขึ้นโดยมีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาและให้ความรู้เกี่ยวกับโรคแพ้ภูมิตัวเองที่เป็นภัยมืดที่อันตราย
และมีอาการรุนแรงมาก แฝงตัวอยู่ในมนุษย์โดยผู้ป่วยจะไม่รู้ตัวก่อนเลย คอยคลาดชีวิตมนุษย์ไปทาให้
เสียชีวิตหรือทุกข์ทรมาณอย่างมาก 2) เพื่อให้รู้จักสังเกตุอาการของโรคนี้เพื่อเฝ้าระวังตัวเองและเข้ารับ
การรักษาอย่างทันท่วงที 3) เพื่อให้วิธีการดูแลรักษารวมถึงวิธีดูแลตนเองเมื่อคุณป่วยเป็นโรคนี้ 4) เพื่อ
เผยแพร่ความรู้จากการศึกษาแก่ผู้ที่สนใจโดยมีเครื่องมีและอุปกรณ์คือ เว็บไซต์สาหรับการเผยแพร่
ข้อมูลในการศึกษา Microsoft word เพื่อนาเสนอข้อมูล และรูปเล่มโครงงาน ส่วนแนวทางในการ
ดาเนินงานจะเริ่มตั้งแต่กาหนดหัวข้อที่กาศึกษา รวบรวมที่ต้องการศึกษา ทาโครงร่างโครงงาน เริ่ม
ทาการศึกษาตามหัวข้อที่กาหนดรวบรวมข้อมูลต่างๆแล้วสุดท้ายเรียบเรียงเป็นโครงงานให้สมบูรณ์
ที่สุด หลังจากการศึกษาได้สรุปการดาเนินงานดังนี้ ทาให้ผู้จัดทาผู้สนใจได้รับความรู้ในเรื่องโรค
ภูมิแพ้ตัวเองและการดูแลรักษารวมถึงการดูแลตัวเองหลังจากป่วยเป็นโรคนี้
3
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเรื่องแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies
in your body )สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจาก ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่
ได้ให้คาแนะนา คาเสนอแนะ ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆโดยตลอดจนโครงงานเล่มนี้เสร็จ
สมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้คาปรึกษา และการสนับสนุนในเรื่องต่างๆ รวมทั้งเป็นกาลังใจที่ดีเสมอ
สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยให้คาแนะนาดีๆเกี่ยวกับการทาโครงงาน
มนัชญา วิภูสันติ
เกศกนก ปิ่นผักแว่น
4
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 1-2
บทที่ 2 3-9
บทที่ 3 10-11
บทที่ 4 12
บทที่ 5 13
5
บทที่ 1
บทนา
ชื่อโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ
ชื่อโครงงาน ( Autoimmune dark enemies in your body )
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน มนัชญา วิภูสันติ
เกศกนก ปิ่นผักแว่น
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากโรคภูมิแพ้ตัวเองเป็นโรคที่อันตรายมาก มีอาการร้ายแรง และเป็นโรคที่มาโดยที่ผู้ป่วยไม่
รู้ตัว แฟงตัวอยู่ในมนุษย์ค่อยคลาดชีวิตของมนุษย์ทาให้เสียชีวิตหรือได้รับความทุกข์ทรมานเป็นอย่าง
มาก ถ้าหากไม่ศึกษาทาความเข้าใจและทาความรู้จักถี่ถ้วนเพราะโดยธรรมชาติแล้วร่างกายเราถูกสร้าง
ขึ้นมาพร้อมกับกลไกในการต่อต้านสิ่งแปลปลอมนั้นๆไม่ให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้กลไกนี้เรียกว่า
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system)
แต่เมื่อไรก็ตามที่ระบบภูมิคุ้มกัน ไม่สามารถแยกแยะระหว่างเซลล์ของร่างกายกับเซลล์ของสิ่ง
แปลกปลอมได้ภูมิคุ้มกันจึงหันมาทาร้ายร่างกายของเราเสียเองทาให้เกิดการอักเสบและความเสียหาย
ต่ออวัยวะร่ายกาย จนอาจเสียชีวิตได้โรคเอสแอลอีเป็นโรคที่มีลักษณะการแสดงออกได้หลากหลาย
อาจมีอาการเฉียบพลันและรุนแรงหรือมีอาการค่อยเป็นค่อยไปเป้นช่วยระยะเวลานานหลายปี
หรืออาจมีอาการแสดงออกของหลายอวัยวะพร้อมกัน หรือมีการแสดงออกเพียงอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง
ที่ละอย่างก็ได้โดยอาการที่พบบ่อยนั้นได้แก่มีไข้พื่นขึ้นที่ใบหน้า เกิดแผลในปาก ผมร่วง มีอารการ
ปวดข้อ พอรักษาก็หาไปแต่ก็กลับเป็นขึ้นมาอีกได้และอาการอื่นๆเพิ่มเข้ามาเมื่อมีการติดเชื่อจะยิ่ง
พิ่มความเสี่ยงในการเสียชีวิตมากยิ่งขึ้น
6
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคแพ้ภูมิตนเอง
2.เพื่อให้รู้จักวิธีสังเกตเพื่อระวังตนและได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
3.เพื่อให้รู้จักวิธีการรักษารวมถึงวิธีการดูแลตนเองเมื่อเป็นโรคภูมิแพ้ตนเอง
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาความรู้ต่างๆเรื่องโรภูมิแพ้ตัวเอง และผู้ที่สนใจบทความเกี่ยวกับโรคแพ้ภูมิตนเอง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องของโรคภูมิแพ้ตนเอง
2.ได้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุรวมไปถึงอาการของโรค
3.ได้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการรักษาและวิธีการดูแลตนเองเมื่อป่วยเป็นโรคแพ้ภูมิตนเอง
7
บทที่ 2
หลักการและทฤษฎี
ในการจัดทาโครงงานแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your
body ) จาเป็นต้องใช้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องดังนี้
โรคพุ่มพวง คืออะไร มารู้จักโรคพุ่มพวง หรือที่เรียกว่า โรคเอสแอลอี โรคร้ายที่คร่าชีวิต พุ่มพวง
ดวงจันทร์ อัน เป็นที่มาของชื่อโรคที่คนไทยเรียกกัน
โรคเอสแอลอี (Systemic Lupus Erythematosus - SLE) หรือ โรคลูปัส จัดเป็นโรคที่เรื้อรังชนิด
หนึ่งที่อยู่ใน กลุ่มภูมิคุ้มกันเพี้ยน เกิดจากการที่ร่างกายผู้ป่วยผลิตโปรตีนของภูมิคุ้มกันในเลือดที่
เรียกว่า "แอนติบอดี้" ขึ้นมามาก เกินปกติ ทาให้เกิดปัญหาในอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไม่ว่าทั้ง
ทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือ จากปกติที่ภูมิคุ้มกันในร่างกายจะต่อต้านเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
เช่น แบคทีเรีย หรือไวรัสจากภายนอก ร่างกาย แต่กลับต่อต้านร่างกายของตัวเอง จนทาให้เกิดการ
อักเสบที่อวัยวะต่าง ๆ ถ้าเป็นรุนแรงจะมีการทาลาย อวัยวะภายในด้วย เช่น ไต หัวใจ ปอด และระบบ
ประสาท สาหรับความรุนแรงของโรคเอสแอลอีจะแตกต่างกันไปในแต่ละคน บางคนเป็นรุนแรง บาง
คนเป็นไม่รุนแรง และ ในรายที่เป็นไม่รุนแรง วันดีคืนร้ายก็จะเป็นรุนแรงขึ้นมาได้อีก ในปัจจุบันโรค
เอสแอลอียังไม่สามารถรักษาให้หายขาด ได้แต่สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบ และดาเนินชีวิต
ได้ตามปกติหากรักษาได้ทันท่วงที ทั้งนี้ ผู้ป่วยด้วยโรคแอสเอลอีส่วนใหญ่จะเป็นผู้หญิงวัยสาวถึงวัย
กลางคน อายุระหว่าง 20-45 ปี อายุเฉลี่ย ประมาณ 30 ปี โดยผู้หญิงมีโอกาสเป็นมากกว่าผู้ชายประมาณ
9:1 และพบได้ในทุกเชื้อชาติ แต่จะพบในคนผิวดาและ ผิวเหลืองมากกว่าผิวขาว โดยเฉพาะบริเวณ
เอเชียตะวันออก เช่น ไทย, สิงคโปร์, มาเลเซีย, ฮ่องกง และจีน
8
สาเหตุของการเกิดโรคแอลเอสอี ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของโรคเอสแอลอีแน่ชัด แต่
จากหลักฐานทางการวิจัยพบว่า โรคนี้มีความ เกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์, ฮอร์โมน และการติดเชื้อโรค
(โดยเฉพาะเชื้อไวรัส ยังมีปัจจัยบางอย่างที่ทาให้ ผู้ป่วยที่เป็นหรือมีโอกาสเป็นโรคเอสแอลอีมีอาการ
รุนแรงขึ้น เช่น แสงแดด โดยเฉพาะแสงอัลตราไวโอเลต การ ตั้งครรภ์และยาบางชนิด ดังนี้
1. พันธุกรรม พบว่าในแฝดจากไข่ใบเดียวกันมีโอกาสเกิดโรคนี้ถึงร้อยละ 30-50 และร้อยละ 7-12 ของ
ผู้ป่วยเอสแอล อีเป็นญาติพี่น้องกัน เช่น แม่และลูกสาว หรือในหมู่พี่น้องผู้หญิงด้วยกัน
2. ติดเชื้อไวรัส หรือแบคทีเรีย จนถึงปัจจุบันยังไม่สามารถค้นพบเชื้อแบคทีเรียและไวรัสที่เป็นสาเหตุ
ของโรคนี้ได้
3. ฮอร์โมนเพศโดยเฉพาะเอสโตรเจน โรคที่พบมากในสตรีวัยเจริญพันธุ์ บ่งชี้ว่าน่าจะมีความสัมพันธ์
กับฮอร์โมนเพศ นอกจากนี้ความรุนแรงของโรคยังแปรเปลี่ยนตามการมีครรภ์ประจาเดือน และการใช้
ยาคุมกาเนิด
4. แสงแดดและสารเคมี ยาบางอย่างเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงทางพันธุกรรมแสดงอาการ
ของโรคนี้ได้
9
โรคนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. โรคที่มีการทาลายแบบจาเพาะต่ออวัยวะ (Organ Specific) เช่น การทาลายตับอ่อนในผู้ป่วย
เบาหวานชนิดที่ 1 และ การทาลายเซลล์เยื่อบุลาไส้ในผู้ป่วย Inflammatory Bowel Disease เป็นต้น
2. โรคที่มีการทาลายอวัยวะหลายระบบ (Systemic) เช่น เอสแอลอี รูมาตอยด์ และ โรคหนังแข็ง
โรคเอสแอลอี เป็นโรคที่มีลักษณะการแสดงออกได้หลากหลาย อาจมีอาการเฉียบพลันและรุนแรง
หรือมีอาการ ค่อยเป็นค่อยไปเป็นช่วงระยะเวลานานหลายปี หรืออาจมีอาการแสดงออกของหลาย
อวัยวะในร่างกายพร้อม ๆ กัน หรือมีการแสดงออกเพียงอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งทีละอย่างก็ได้โดย
อาการที่พบบ่อยนั้น ได้แก่ มีไข้ผื่นขึ้นที่ใบหน้า เกิด แผลในปาก ผมร่วง มีอาการปวดข้อ พอรักษาก็
หายไปแต่ก็กลับเป็นขึ้นมาได้อีก ส่วนอาการอื่น ๆ มีดังนี้
* อาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้าหนักตัวลด เป็นอาการที่พบได้บ่อยในขณะโรคกาเริบ
* อาการทางผิวหนังและเยื่อบุช่องปาก ในระยะเฉียบพลันที่พบได้บ่อยที่สุด คือ ผื่นรูปปีกผีเสื้อ
ลักษณะเป็นผื่นบวม แดงนูนบริเวณโหนกแก้มและสันจมูก ผื่นจะเป็นมากขึ้นเมื่อถูกแสงแดด ปลาย
เท้าซีดเขียวเมื่อถูกน้าหรืออากาศเย็น ผมร่วง มีแผลในปาก
* อาการทางข้อและกล้ามเนื้อ เป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด ส่วนใหญ่เป็นอาการปวดข้อมากกว่า
ลักษณะข้ออักเสบ มัก เป็นบริเวณข้อเล็ก ๆ ของนิ้วมือ ข้อมือ ข้อไหล่ ข้อเท้า หรือข้อเข่า เป็นเหมือน ๆ
กันทั้ง 2 ข้าง ร้อยละ 17-45 พบ อาการปวดกล้ามเนื้อ
* อาการทางไต ผู้ป่วยบางรายมาพบแพทย์ด้วยอาการทางไตเป็นอาการนา อาการแสดงที่สาคัญของไต
อักเสบ จากลูปัส ได้แก่ บวม ปัสสาวะเป็นฟอง ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ ความดันโลหิตสูง
* อาการทางระบบเลือด อาการที่พบ ได้แก่ อ่อนเพลียหน้ามืดจากภาวะซีด เม็ดเลือดขาวต่าง ทาให้ติด
เชื้อได้ง่าย และ เกล็ดเลือดต่าง อาจพบจุดจ้าเลือดออกตามตัวได้
* อาการทางระบบประสาท อาการที่พบได้คือ อาการชักและอาการทางจิต นอกจากนี้อาจมีอาการปวด
ศีรษะรุนแรง หรือมีอาการอ่อนแรงของแขนขา อาจพบได้ในระยะที่โรคกาเริบ
* อาการทางปอดและเยื่อหุ้มปอด อาการที่พบบ่อยคือ เยื่อหุ้มปอดอักเสบ อาการแสดงคือเจ็บหน้าอก
โดยเฉพาะ เวลาหายใจเข้าสุด ตรวจพบมีน้าในช่องเยื่อหุ้มปอด บางรายมีอาการปอดอักเสบซึ่งต้องแยก
จากปอดอักเสบติดเชื้อ
* อาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ที่พบบ่อยคือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ซึ่งมักพบร่วมกับเยื่อหุ้ม
ปอดอักเสบ ผู้ป่วย จะมาด้วยอาการ เจ็บหน้าอก มีน้าในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ เหนื่อยง่าย โรคหลอดเลือด
หัวใจส่วนใหญ่เป็นผลมาจากภาวะ หลอดเลือดแข็งจากการได้รับยาสเตียรอยด์นาน ๆ นอกจากนี้ภาวะ
10
ความดันโลหิตสูง ก็เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยจากไตอักเสบเรื้อรัง และจากการได้รับยาส
เตียรอยด์
* อาการทางระบบทางเดินอาหาร ไม่มีอาการที่จาเพาะสาหรับโรคลูปัส อาการที่พบบ่อย ได้แก่
คลื่นไส้อาเจียน เบื่อ อาหาร ปวดท้อง ซึ่งเป็นผลจากการใช้ยารักษาโรคลูปัส เช่น NSAIDS ยาส
เตียรอยด์ อาการยังคงอยู่ได้แม้จะหยุดยาไป เป็นสัปดาห์
วิธีการรักษาโรคเอสแอลอี ปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาใดที่ทาให้หายขาดได้เพราะสาเหตุของการเกิด
โรคยังไม่แน่ชัด แต่การปฏิบัติตัวที่ดี การ เลือกใช้ยาที่ถูกต้องทั้งชนิด ขนาด และช่วงเวลาที่เหมาะสม
จะสามารถควบคุมอาการของโรคนี้ได้โดยรักษาด้วยยาก ลุ่ม NSAIDS และยาต้านมาลาเรีย (คลอโรค
วีนและไฮดรอกซีคลอโรควีน) ในผู้ป่วยที่มีอาการเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ไม่มี ปัญหาต่อการดาเนินชีวิตประจา
วันมากนัก เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการอย่างโรคทางผิวหนัง มีผื่นที่หน้า ปวดข้อและปวด กล้ามเนื้อ โดยที่ผล
การตรวจทางปัสสาวะปกติ อย่างไรก็ตามในกรณียาเหล่านี้ควบคุมอาการไม่ได้อาจให้ยาสเตียรอยด์ใน
ขนาดต่าง ๆ (Prednisolone < 10 มิลลิกรัม /วัน) ร่วมด้วย เมื่อควบคุมโรคได้จึงค่อยลดยาลง
- ยาสเตียรอยด์ เช่น prednisolone เป็นยาหลักที่ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการอักเสบของอวัยวะสาคัญ
ต่าง ๆ จาก โรคลูปัส แพทย์จะปรับขนาดของยาตามอาการและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ถ้าไม่ได้ผลอาจต้องให้ยากดระบบ ภูมิคุ้มกันอื่น ๆ ร่วมด้วย เป็นยาที่จะยับยั้งการเคลื่อนตัวของ
เซลเม็ดเลือดขาว ที่มีหน้าที่ต้านการติดเชื้อ แบคทีเรีย (Polymorphonuclear Leukocytes) ที่ผ่าน
มาทางหลอดเลือดฝอย อีกทั้งกดการทางานของระบบ ภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกาย เพื่อ
ไม่ให้มีการทาลายอวัยวะที่เจ็บป่วยอยู่ ด้วยกลไกดังกล่าวจึงทาให้ลดการ อักเสบ และทาให้
ผู้ป่วยมีอาการที่ดีขึ้น
11
ปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อป่ วยเป็นโรคเอสแอลอี
1. ในระยะแรกต้องได้รับการรักษาด้วยยา ต้องรับประทานยาตามขนาดและระยะเวลาที่แพทย์กาหนด
อย่างเคร่งครัด
2. ควรพยายามอย่าให้ผิวหนังถูกแสงแดดโดยตรง ควรใส่หมวกปีกกว้าง กางร่ม และสวมใส่เสื้อแขน
ยาวเวลาที่ จาเป็นต้องออกแดด
3. ทาจิตใจให้สบาย ไม่ควรเครียด ท้อถอย เศร้าใจ หรือกังวลใจ เพราะทาให้อาการกาเริบได้ควรมีกา
ลังใจและมี ความอดทนต่อการรักษา
4. เสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะอาหารประเภท
เนื้อสัตว์ไข่ นม ผักและผลไม้ต่าง ๆ มีการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และนอนหลับพักผ่อนให้
พอเพียง
5. เนื่องจากผู้ป่วยเอสแอลอีมีโอกาสติดเชื้อโรคได้ง่ายจึงต้องคอยระวังตัว ไม่เข้าใกล้ผู้อื่นที่กาลังเป็น
โรคติดต่อ เช่น โรคหวัด พยายามไม่อยู่ในที่ที่มีผู้คนแออัด นอกจากนี้อาหารที่รับประทานทุกชนิดควร
เป็นอาหารที่สะอาดและต้มสุกแล้ว
6. ทาตามคาแนะนาของแพทย์พยาบาล และไปรับการตรวจตามนัดอย่างสม่าเสมอ เพื่อประโยชน์ใน
การรักษาและ ประเมินความรุนแรงของโรค และผลการรักษาแพทย์จะได้พิจารณาให้การรักษาได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสม
7. ไม่ควรเปลี่ยนแพทย์ผู้รักษาบ่อย ๆ เพราะแพทย์คนใหม่อาจจะไม่ทราบรายละเอียดของอาการ
เจ็บป่วย ทาให้เกิด ความล่าช้าในการวินิจฉัยและการรักษา อาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อน หรืออาจเป็น
อันตรายได้
8. ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง เพราะจะมีโอกาสแพ้ยาได้บ่อยและรุนแรงกว่าคนธรรมดา
9. ไม่ควรเพิ่มหรือลดขนาดยาเอง
10. ถ้ามีอาการผิดปกติ มีไข้หรือไม่สบาย ควรรีบกลับไปปรึกษาแพทย์ผู้รักษาทันที หรือหากจะไปหา
แพทย์อื่น ควร นายาที่กาลังรับประทานอยู่ไปให้แพทย์ดูด้วยทุกครั้ง เพื่อว่าแพทย์จะได้จัดยาได้ถูกต้อง
และสอดคล้องกับยาประจาที่ รับประทานอยู่
11. ผู้ป่วยหญิงที่แต่งงานแล้วไม่ควรมีบุตรในระยะที่โรคกาเริบ เพราะจะเป็นอันตรายต่อแม่และเด็กใน
ครรภ์ไม่ควรใช้ยาคุมกาเนิด เพราะอาจจะทาให้อาการของโรคกาเริบขึ้น ควรเลี่ยงใช้วิธีอื่น ๆ แทน
โดยการปรึกษาแพทย์ผู้ป่วยจะ สามารถตั้งครรภ์ได้เมื่อพ้นระยะที่โรคมีความรุนแรงแล้ว แต่ควร
ปรึกษาแพทย์ก่อนการตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์ควร ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์
12
โรค SLE ห้ามกินอาหารอะไรบ้าง ในปัจจุบันยังไม่สามารถระบุได้ว่า อาหารชนิดไหนที่สามารถ
ทาให้อาการ SLE กาเริบ หรือแม้แต่อาหารที่ช่วย ให้อาการของโรค SLE ดีขึ้นได้ก็ยังไม่พบข้อมูลทาง
การแพทย์ที่สามารถยืนยันได้อย่างชัดเจนด้วยเช่นกัน เพราะถ้าพูด ถึงการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรค
SLE จะมีลักษณะเหมือนกับแนวทางการกินเพื่อสุขภาพที่ดีทั่วไปนั่นเอง แต่ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางใน
การดูแลด้านอาหารการกินของผู้ป่วยโรค SLE ก็พอมีข้อมูลอาหารที่ผู้ป่วยโรค SLE ควรหลีกเลี่ยง เพื่อ
ลดโอกาสเกิดอาการที่รุนแรงหรือโรคแทรกซ้อนได้
*โรค SLE ห้ามกินอาหารอะไรบ้าง ไม่อยากอาการทรุดต้องดูแล
1. เนื้อแดง เนื้อแดงมีไขมันอิ่มตัวค่อนข้างสูง เสี่ยงต่อภาวะไขมันในเลือดสูง ซึ่งอาจกระตุ้นให้เกิด
อาการอักเสบตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ดังนั้นผู้ป่วยโรค SLE ควรเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูงอย่าง
เนื้อแดง และเนื้อสัตว์ไขมันสูงทุกชนิดไว้จะ ดีกว่า แล้วเปลี่ยนมารับประทานเนื้อปลา เช่น ปลาทูน่า
ปลาแซลมอน ปลาแมคเคอแรล ซึ่งมีกรดโอเมก้า 3 สูง ช่วย ป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
และช่วยป้องกันอาการอักเสบในร่างกายได้และถ้าจะให้ดีต่อสุขภาพมากขึ้น ไปอีก แนะนาเป็นอาหาร
ประเภทโปรตีนไขมันต่าอย่างเนื้อไก่และถั่วชนิดต่าง ๆ
2. อาหารไขมันสูง อาหารที่มีไขมันทรานส์ อาหารที่มีไขมันสูง เช่น อาหารประเภททอด อาหารมัน ๆ
หรือพวกเค้ก คุกกี้ แครกเกอร์ เฟรนช์ฟรายส์ และ โดนัท รวมไปถึงบรรดาอาหารฟาสต์ฟู้ดทั้งหลายที่มี
ไขมันทรานส์แอบแฝงอยู่ ผู้ป่วยโรค SLE ก็ควรเลี่ยงให้ไกลด้วย เช่นกัน เพราะอย่างที่บอกไปแล้วนะ
คะว่า อาหารไขมันสูงอาจทาให้ผู้ป่วย SLE มีระดับคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ซึ่ง ไม่ส่งผลดีต่อระบบ
ใด ๆ ในร่างกายแน่นอนหนาซ้ายังอาจเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดโรคเรื้อรังอื่น ๆ อย่างโรคความดัน โลหิต
โรคหัวใจ หรือโรคเบาหวานได้อีก
3.คาเฟอีน คาเฟอีนในที่นี้หมายถึงผลิตภัณฑ์ที่มีคาเฟอีนทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น กาแฟ ชา น้าอัดลม
ช็อกโกแลต หรือแม้กระทั่ง เครื่องดื่มชูกาลัง เป็นไปได้อยากให้งดไปเลยจะดีมากค่ะ เพราะคาเฟอีนจะ
ไปกระตุ้นให้ร่างกายตื่นตัว รวมไปถึงอาจ กระตุ้นระบบในช่องท้องด้วย ซึ่งยาบางตัวที่ใช้รักษาคนไข้
SLE บางราย ก็มีจุดประสงค์ให้คนไข้นอนหลับได้ดีขึ้น หรือ ยาบางตัวอาจมีผลข้างเคียงเรื่องระบบลา
ไส้อยู่แล้ว ดังนั้นก็อย่าให้คาเฟอีนมาซ้าเติมร่างกายเราเลยดีกว่า
4. อาหารเค็มจัด ผู้ป่วยโรค SLE ควรลดปริมาณการรับประทานเกลือให้ได้โดยเฉพาะผู้ป่วย SLE ที่
เสี่ยงหรือเป็นโรคไตและโรค ความดันโลหิตสูง ซึ่งอาจเพิ่มความรุนแรงของอาการได้หากกินอาหาร
รสเค็มจัดอย่างอาหารแปรรูป อาหารสาเร็จรูป หรืออาหารฟาสต์ฟู้ดที่มีปริมาณโซเดียมค่อนข้างมาก
5. แอลกอฮอล์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไม่เคยส่งผลดีกับใคร ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่มีสุขภาพดีก็ตาม ยิ่งในเคส
ผู้ป่วยโรค SLE ที่ต้องกินยา รักษาอาการเป็นประจา ยิ่งไม่ควรจะดื่มแอลกอฮอล์ด้วยประการทั้งปวง
เพราะยาบางชนิดอาจเกิดปฏิกิริยาต่อ แอลกอฮอล์และทาให้อาการป่วยของเราแย่ไปด้วย
13
6. อาหารประเภทแป้งขัดสี และน้าตาล ผู้ป่วยโรค SLE ที่รับประทานยาสเตียรอยด์ จะมีโอกาสเกิด
โรคเบาหวานแทรกซ้อนได้ง่าย ดังนั้นจึงควรจากัด ปริมาณน้าตาล และอาหารประเภทแป้งขัดขาวอย่าง
ขนมปังขาว ข้าวขาว ข้าวเหนียว เป็นต้น เพราะหากรับประทาน น้าตาลและอาหารประเภทแป้งอย่าง
ไม่ระมัดระวัง อาจเสี่ยงต่อโรคเบาหวานเพิ่มมากขึ้นได้ดังนั้นสาหรับผู้ป่วยโรค SLE แนะนาเป็นข้าว
ซ้อมมือ โฮลวีท โฮลเกรน ซึ่งนอกจากจะมีวิตามินเยอะกว่าแป้งขัดสีแล้ว ยังมีไฟเบอร์สูง ช่วย ป้องกัน
อาการท้องผูก และช่วยลดความเสี่ยงโรคหัวใจไปด้วยในตัว
7. กระเทียม แม้กระเทียมจะเป็นสมุนไพรที่ช่วยบารุงสุขภาพได้หลายอย่าง แต่สาหรับผู้ป่วยโรค SLE
กลับควรเลี่ยงกระเทียม และอาหารประเภทหน่อให้ไกลเลยค่ะ เพราะข้อมูลทางการแพทย์พบว่า
กระเทียมมีสาร Allicin, Ajoene และ Thiosulfinates ซึ่งอาจกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วย และอาจ
ทาปฏิกิริยากับยาประเภทสเตียรอยด์ อาจทาให้ เลือดออกในร่างกายได้
โรค SLE ควรกินอาหารอะไรเพิ่มเติม นอกจากอาหารที่ให้สารอาหารครบ 5 หมู่ และอาหารที่สด
สะอาดแล้ว อาหารที่ผู้ป่วยโรค SLE ควรกินเพิ่มเติมก็ มีดังนี้
1. อาหารแคลเซียมสูง ผู้ป่วยโรค SLE ควรรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น นมโค นมถั่ว
เหลือง เต้าหู้ งา ข้าวโอ๊ต เป็นต้น เนื่องจากผู้ป่วยโรค SLE มีแนวโน้มจะป่วยด้วยโรคกระดูกพรุน และ
ปัจจัยที่ผู้ป่วยต้องกินยาสเตียรอยด์ ก็อาจเพิ่ม ความเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุนได้มาก
2. วิตามินดี นพ.สันต์ ใจยอดศิลป์ เผยว่า จากงานวิจัยทาให้ทราบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการขาด
วิตามินดีกับความรุนแรง ทางอาการของโรค SLE เนื่องจากผู้ป่วยโรค SLE ควรต้องเลี่ยงการถูก
แสงแดด ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยโรคนี้ขาดวิตามินดี จากแสงแดดได้และก็เหมือนโชคร้ายที่คนเราต้องรับ
วิตามินดีจากแสงแดดเพียงอย่างเดียวเท่านั้น และหากหวังจะพึ่ง วิตามินดีจากอาหารก็ค่อนข้างมีน้อย
มาก ดังนั้น นพ.สันต์ จึงแนะนาให้ผู้ป่วยโรค SLE รับประทานวิตามินดีเสริม โดย วิตามินดี 2 หรือ เออ
โกแคลซิเฟอรอล (Vitamin D2 : Ergocalciferol) ขนาด 20,000 ยูนิต เดือนละ 2 เม็ด คือทุก 2 สัปดาห์
ทานครั้งละ 1 เม็ด เพื่อลดโอกาสอาการกาเริบ ทั้งนี้หากผู้ป่วยปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม ทานยาที่ถูกต้อง
พบแพทย์ตามนัด อาการของโรคพุ่มพวงก็จะไม่รุนแรง นัก แต่หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและ
ทันท่วงที อวัยวะสาคัญ เช่น ไต สมอง หลอดเลือด อาจเกิดการอักเสบ ได้หรือหากผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันที่
ผิดปกติอยู่แล้ว อาจเกิดภาวะติดเชื้อได้ง่ายขึ้น ซึ่งนาไปสู่การเสียชีวิตได้ดังนั้นหากใคร มีอาการต้อง
สงสัย ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อรับวินิจฉัยทันที
14
บทที่3
วิธีดาเนินงาน
ในการจัดทาโครงงานแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your
body ) มีวิธีการดาเนินงานดังนี้
แนวทางการดาเนินงาน
1.กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา
2.ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องโรคเอสแอลอีหรือโรคแพ้ภูมิตนเอง
3.ค้นคว้าและสรุปข้อมูลต่างๆจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ
4.ตรวจเช็คข้อมูลให้ถูกต้อง
5.นาข้อมูลใส่ลงใน slideshare
6.นาข้อมูลมาลงในบล็อคของตน
7.สรุปข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจลงใน Microsoft Power Point
8.นาเสนอข้อมูลให้คุณครูและเพื่อนๆ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.อินเทอร์เน็ต
2.หนังสือความรู้จากแหล่งข้อมูลเช่น ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
3.คอมพิมเตอร์
4.โปรแกรม Microsoft Power Point
5.โปรแกรม Microsoft Word
สถานที่ดาเนินการ
-บ้านเลขที่ 78/1 ม.4 ต.สันกาแพง อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ 50130
-โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50140
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-การงานอาชีพและเทคโนโลยี
-ชีววิทยา
-สุขศึกษา
15
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
16
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
ในการจัดทาโครงงานแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your
body ) ได้ผลการดาเนินงานดังนี้
ผลการดาเนินงาน
1. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องของโรคเอสแอลดีหรือโรคแพ้ภูมิตนเอง
2. ผู้ศึกษาสามารถสังเกตตนเอง และรู้จักวิธีการดูแลตนเมื่อป่วยเป็นโรคเอสแอลดี
3. ผู้ศึกษาสามารถนาความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ต่อไป
การนาไปใช้
1. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่แก่ผู้ที่สนใจได้
2. นาไปเป็นสื่อในการเรียนการสอน
3. นาไปประยุคใช้ในการดูแลตนเอง
4. นาไปใช้ดูแลครอบครัวของตน
17
บทที่ 5
สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
ในการจัดทาโครงงานแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your
body ) ได้ข้อสรุปดังนี้
ผลการดาเนินงาน
จากการจัดทาโครงงานแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your
body )ทาให้ทั้งผู้จัดทา และผู้ที่สนใจได้รับความรู้ในเรื่องของโรคเอสแอลดีที่มีความอันตรายและเป็น
ภัยร้ายในร่างกายเรา จึงทาให้สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการดูแลตนเองในแต่ละวันรวมถึง
ประยุกต์ใช้ในการดูแลครอบครัวของตนให้มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
18
แหล่งอ้างอิง
“ โรคเอสแอลดี “ ค้นหาจากเว็บ https://www.printo.it/pediatric-
rheumatology/TH/info/3/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%A
A%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0
%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%AA ,
https://health.kapook.com/view82.html ,
http://haamor.com/th/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%9B%
E0%B8%B1%E0%B8%AA-
%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B9%81%E0%B8
%AD%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B5/
ค้นหาข้อมูลเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน จนถึง วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2560
-

More Related Content

What's hot

โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 
Research khemjira
Research khemjiraResearch khemjira
Research khemjiraKhemjira_P
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 msyttt
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37KamontipKumjen
 
งานวิจัยในชั้นเรียน 58 มิสเขมจิรา ปลงไสว
งานวิจัยในชั้นเรียน 58  มิสเขมจิรา ปลงไสวงานวิจัยในชั้นเรียน 58  มิสเขมจิรา ปลงไสว
งานวิจัยในชั้นเรียน 58 มิสเขมจิรา ปลงไสวKhemjira_P
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok 2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok KamolchanokPhanlek
 
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Aom Warintorn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020PapimolChotechob
 
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุดการสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุดพัน พัน
 

What's hot (20)

โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
2559 project 609-สริตา
2559 project 609-สริตา2559 project 609-สริตา
2559 project 609-สริตา
 
2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา2559project 609 สริตา
2559project 609 สริตา
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
Research khemjira
Research khemjiraResearch khemjira
Research khemjira
 
กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
งานวิจัยในชั้นเรียน 58 มิสเขมจิรา ปลงไสว
งานวิจัยในชั้นเรียน 58  มิสเขมจิรา ปลงไสวงานวิจัยในชั้นเรียน 58  มิสเขมจิรา ปลงไสว
งานวิจัยในชั้นเรียน 58 มิสเขมจิรา ปลงไสว
 
Achi
AchiAchi
Achi
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
 
2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok 2562 final-project_02_kamolchanok
2562 final-project_02_kamolchanok
 
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020final project for M.6 2019-2020
final project for M.6 2019-2020
 
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุดการสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
การสำรวจช่วงอายุของวัยรุ่นที่มีภาวะติดเกมมากที่สุด
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Aaaaaaaaaaa
AaaaaaaaaaaAaaaaaaaaaa
Aaaaaaaaaaa
 

Similar to งาน2

กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานwaew jittranut
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1Wichayaporn02
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapysiradamew
 
2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_Swnee_eic
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project Swnee_eic
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาysmhcnboice
 

Similar to งาน2 (20)

Com555
Com555Com555
Com555
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 

งาน2

  • 1. 1 โครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 เรื่อง แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาว มนัชญา วิภูสันติ เลขที่ 13 ชั้น 6 ห้อง 7 2.นางสาว เกศกนก ปิ่นผักแว่น เลขที่ 18 ชั้น 6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ โรงเรียนยุราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ชื่อโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ ( Autoimmune dark enemies in your body ) ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวมนัชญา วิภูสันติ นางสาวเกศกนก ปิ่นผักแว่น ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ บทคัดย่อ โครงงานเรื่องแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your body ) จัดทา ขึ้นโดยมีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาและให้ความรู้เกี่ยวกับโรคแพ้ภูมิตัวเองที่เป็นภัยมืดที่อันตราย และมีอาการรุนแรงมาก แฝงตัวอยู่ในมนุษย์โดยผู้ป่วยจะไม่รู้ตัวก่อนเลย คอยคลาดชีวิตมนุษย์ไปทาให้ เสียชีวิตหรือทุกข์ทรมาณอย่างมาก 2) เพื่อให้รู้จักสังเกตุอาการของโรคนี้เพื่อเฝ้าระวังตัวเองและเข้ารับ การรักษาอย่างทันท่วงที 3) เพื่อให้วิธีการดูแลรักษารวมถึงวิธีดูแลตนเองเมื่อคุณป่วยเป็นโรคนี้ 4) เพื่อ เผยแพร่ความรู้จากการศึกษาแก่ผู้ที่สนใจโดยมีเครื่องมีและอุปกรณ์คือ เว็บไซต์สาหรับการเผยแพร่ ข้อมูลในการศึกษา Microsoft word เพื่อนาเสนอข้อมูล และรูปเล่มโครงงาน ส่วนแนวทางในการ ดาเนินงานจะเริ่มตั้งแต่กาหนดหัวข้อที่กาศึกษา รวบรวมที่ต้องการศึกษา ทาโครงร่างโครงงาน เริ่ม ทาการศึกษาตามหัวข้อที่กาหนดรวบรวมข้อมูลต่างๆแล้วสุดท้ายเรียบเรียงเป็นโครงงานให้สมบูรณ์ ที่สุด หลังจากการศึกษาได้สรุปการดาเนินงานดังนี้ ทาให้ผู้จัดทาผู้สนใจได้รับความรู้ในเรื่องโรค ภูมิแพ้ตัวเองและการดูแลรักษารวมถึงการดูแลตัวเองหลังจากป่วยเป็นโรคนี้
  • 3. 3 กิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเรื่องแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your body )สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจาก ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ ได้ให้คาแนะนา คาเสนอแนะ ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆโดยตลอดจนโครงงานเล่มนี้เสร็จ สมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้คาปรึกษา และการสนับสนุนในเรื่องต่างๆ รวมทั้งเป็นกาลังใจที่ดีเสมอ สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยให้คาแนะนาดีๆเกี่ยวกับการทาโครงงาน มนัชญา วิภูสันติ เกศกนก ปิ่นผักแว่น
  • 4. 4 สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 1-2 บทที่ 2 3-9 บทที่ 3 10-11 บทที่ 4 12 บทที่ 5 13
  • 5. 5 บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ ชื่อโครงงาน ( Autoimmune dark enemies in your body ) ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน มนัชญา วิภูสันติ เกศกนก ปิ่นผักแว่น ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากโรคภูมิแพ้ตัวเองเป็นโรคที่อันตรายมาก มีอาการร้ายแรง และเป็นโรคที่มาโดยที่ผู้ป่วยไม่ รู้ตัว แฟงตัวอยู่ในมนุษย์ค่อยคลาดชีวิตของมนุษย์ทาให้เสียชีวิตหรือได้รับความทุกข์ทรมานเป็นอย่าง มาก ถ้าหากไม่ศึกษาทาความเข้าใจและทาความรู้จักถี่ถ้วนเพราะโดยธรรมชาติแล้วร่างกายเราถูกสร้าง ขึ้นมาพร้อมกับกลไกในการต่อต้านสิ่งแปลปลอมนั้นๆไม่ให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้กลไกนี้เรียกว่า ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) แต่เมื่อไรก็ตามที่ระบบภูมิคุ้มกัน ไม่สามารถแยกแยะระหว่างเซลล์ของร่างกายกับเซลล์ของสิ่ง แปลกปลอมได้ภูมิคุ้มกันจึงหันมาทาร้ายร่างกายของเราเสียเองทาให้เกิดการอักเสบและความเสียหาย ต่ออวัยวะร่ายกาย จนอาจเสียชีวิตได้โรคเอสแอลอีเป็นโรคที่มีลักษณะการแสดงออกได้หลากหลาย อาจมีอาการเฉียบพลันและรุนแรงหรือมีอาการค่อยเป็นค่อยไปเป้นช่วยระยะเวลานานหลายปี หรืออาจมีอาการแสดงออกของหลายอวัยวะพร้อมกัน หรือมีการแสดงออกเพียงอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง ที่ละอย่างก็ได้โดยอาการที่พบบ่อยนั้นได้แก่มีไข้พื่นขึ้นที่ใบหน้า เกิดแผลในปาก ผมร่วง มีอารการ ปวดข้อ พอรักษาก็หาไปแต่ก็กลับเป็นขึ้นมาอีกได้และอาการอื่นๆเพิ่มเข้ามาเมื่อมีการติดเชื่อจะยิ่ง พิ่มความเสี่ยงในการเสียชีวิตมากยิ่งขึ้น
  • 6. 6 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคแพ้ภูมิตนเอง 2.เพื่อให้รู้จักวิธีสังเกตเพื่อระวังตนและได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที 3.เพื่อให้รู้จักวิธีการรักษารวมถึงวิธีการดูแลตนเองเมื่อเป็นโรคภูมิแพ้ตนเอง ขอบเขตโครงงาน ศึกษาความรู้ต่างๆเรื่องโรภูมิแพ้ตัวเอง และผู้ที่สนใจบทความเกี่ยวกับโรคแพ้ภูมิตนเอง ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องของโรคภูมิแพ้ตนเอง 2.ได้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุรวมไปถึงอาการของโรค 3.ได้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการรักษาและวิธีการดูแลตนเองเมื่อป่วยเป็นโรคแพ้ภูมิตนเอง
  • 7. 7 บทที่ 2 หลักการและทฤษฎี ในการจัดทาโครงงานแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your body ) จาเป็นต้องใช้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องดังนี้ โรคพุ่มพวง คืออะไร มารู้จักโรคพุ่มพวง หรือที่เรียกว่า โรคเอสแอลอี โรคร้ายที่คร่าชีวิต พุ่มพวง ดวงจันทร์ อัน เป็นที่มาของชื่อโรคที่คนไทยเรียกกัน โรคเอสแอลอี (Systemic Lupus Erythematosus - SLE) หรือ โรคลูปัส จัดเป็นโรคที่เรื้อรังชนิด หนึ่งที่อยู่ใน กลุ่มภูมิคุ้มกันเพี้ยน เกิดจากการที่ร่างกายผู้ป่วยผลิตโปรตีนของภูมิคุ้มกันในเลือดที่ เรียกว่า "แอนติบอดี้" ขึ้นมามาก เกินปกติ ทาให้เกิดปัญหาในอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไม่ว่าทั้ง ทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือ จากปกติที่ภูมิคุ้มกันในร่างกายจะต่อต้านเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม เช่น แบคทีเรีย หรือไวรัสจากภายนอก ร่างกาย แต่กลับต่อต้านร่างกายของตัวเอง จนทาให้เกิดการ อักเสบที่อวัยวะต่าง ๆ ถ้าเป็นรุนแรงจะมีการทาลาย อวัยวะภายในด้วย เช่น ไต หัวใจ ปอด และระบบ ประสาท สาหรับความรุนแรงของโรคเอสแอลอีจะแตกต่างกันไปในแต่ละคน บางคนเป็นรุนแรง บาง คนเป็นไม่รุนแรง และ ในรายที่เป็นไม่รุนแรง วันดีคืนร้ายก็จะเป็นรุนแรงขึ้นมาได้อีก ในปัจจุบันโรค เอสแอลอียังไม่สามารถรักษาให้หายขาด ได้แต่สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบ และดาเนินชีวิต ได้ตามปกติหากรักษาได้ทันท่วงที ทั้งนี้ ผู้ป่วยด้วยโรคแอสเอลอีส่วนใหญ่จะเป็นผู้หญิงวัยสาวถึงวัย กลางคน อายุระหว่าง 20-45 ปี อายุเฉลี่ย ประมาณ 30 ปี โดยผู้หญิงมีโอกาสเป็นมากกว่าผู้ชายประมาณ 9:1 และพบได้ในทุกเชื้อชาติ แต่จะพบในคนผิวดาและ ผิวเหลืองมากกว่าผิวขาว โดยเฉพาะบริเวณ เอเชียตะวันออก เช่น ไทย, สิงคโปร์, มาเลเซีย, ฮ่องกง และจีน
  • 8. 8 สาเหตุของการเกิดโรคแอลเอสอี ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของโรคเอสแอลอีแน่ชัด แต่ จากหลักฐานทางการวิจัยพบว่า โรคนี้มีความ เกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์, ฮอร์โมน และการติดเชื้อโรค (โดยเฉพาะเชื้อไวรัส ยังมีปัจจัยบางอย่างที่ทาให้ ผู้ป่วยที่เป็นหรือมีโอกาสเป็นโรคเอสแอลอีมีอาการ รุนแรงขึ้น เช่น แสงแดด โดยเฉพาะแสงอัลตราไวโอเลต การ ตั้งครรภ์และยาบางชนิด ดังนี้ 1. พันธุกรรม พบว่าในแฝดจากไข่ใบเดียวกันมีโอกาสเกิดโรคนี้ถึงร้อยละ 30-50 และร้อยละ 7-12 ของ ผู้ป่วยเอสแอล อีเป็นญาติพี่น้องกัน เช่น แม่และลูกสาว หรือในหมู่พี่น้องผู้หญิงด้วยกัน 2. ติดเชื้อไวรัส หรือแบคทีเรีย จนถึงปัจจุบันยังไม่สามารถค้นพบเชื้อแบคทีเรียและไวรัสที่เป็นสาเหตุ ของโรคนี้ได้ 3. ฮอร์โมนเพศโดยเฉพาะเอสโตรเจน โรคที่พบมากในสตรีวัยเจริญพันธุ์ บ่งชี้ว่าน่าจะมีความสัมพันธ์ กับฮอร์โมนเพศ นอกจากนี้ความรุนแรงของโรคยังแปรเปลี่ยนตามการมีครรภ์ประจาเดือน และการใช้ ยาคุมกาเนิด 4. แสงแดดและสารเคมี ยาบางอย่างเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงทางพันธุกรรมแสดงอาการ ของโรคนี้ได้
  • 9. 9 โรคนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. โรคที่มีการทาลายแบบจาเพาะต่ออวัยวะ (Organ Specific) เช่น การทาลายตับอ่อนในผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่ 1 และ การทาลายเซลล์เยื่อบุลาไส้ในผู้ป่วย Inflammatory Bowel Disease เป็นต้น 2. โรคที่มีการทาลายอวัยวะหลายระบบ (Systemic) เช่น เอสแอลอี รูมาตอยด์ และ โรคหนังแข็ง โรคเอสแอลอี เป็นโรคที่มีลักษณะการแสดงออกได้หลากหลาย อาจมีอาการเฉียบพลันและรุนแรง หรือมีอาการ ค่อยเป็นค่อยไปเป็นช่วงระยะเวลานานหลายปี หรืออาจมีอาการแสดงออกของหลาย อวัยวะในร่างกายพร้อม ๆ กัน หรือมีการแสดงออกเพียงอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งทีละอย่างก็ได้โดย อาการที่พบบ่อยนั้น ได้แก่ มีไข้ผื่นขึ้นที่ใบหน้า เกิด แผลในปาก ผมร่วง มีอาการปวดข้อ พอรักษาก็ หายไปแต่ก็กลับเป็นขึ้นมาได้อีก ส่วนอาการอื่น ๆ มีดังนี้ * อาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้าหนักตัวลด เป็นอาการที่พบได้บ่อยในขณะโรคกาเริบ * อาการทางผิวหนังและเยื่อบุช่องปาก ในระยะเฉียบพลันที่พบได้บ่อยที่สุด คือ ผื่นรูปปีกผีเสื้อ ลักษณะเป็นผื่นบวม แดงนูนบริเวณโหนกแก้มและสันจมูก ผื่นจะเป็นมากขึ้นเมื่อถูกแสงแดด ปลาย เท้าซีดเขียวเมื่อถูกน้าหรืออากาศเย็น ผมร่วง มีแผลในปาก * อาการทางข้อและกล้ามเนื้อ เป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด ส่วนใหญ่เป็นอาการปวดข้อมากกว่า ลักษณะข้ออักเสบ มัก เป็นบริเวณข้อเล็ก ๆ ของนิ้วมือ ข้อมือ ข้อไหล่ ข้อเท้า หรือข้อเข่า เป็นเหมือน ๆ กันทั้ง 2 ข้าง ร้อยละ 17-45 พบ อาการปวดกล้ามเนื้อ * อาการทางไต ผู้ป่วยบางรายมาพบแพทย์ด้วยอาการทางไตเป็นอาการนา อาการแสดงที่สาคัญของไต อักเสบ จากลูปัส ได้แก่ บวม ปัสสาวะเป็นฟอง ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ ความดันโลหิตสูง * อาการทางระบบเลือด อาการที่พบ ได้แก่ อ่อนเพลียหน้ามืดจากภาวะซีด เม็ดเลือดขาวต่าง ทาให้ติด เชื้อได้ง่าย และ เกล็ดเลือดต่าง อาจพบจุดจ้าเลือดออกตามตัวได้ * อาการทางระบบประสาท อาการที่พบได้คือ อาการชักและอาการทางจิต นอกจากนี้อาจมีอาการปวด ศีรษะรุนแรง หรือมีอาการอ่อนแรงของแขนขา อาจพบได้ในระยะที่โรคกาเริบ * อาการทางปอดและเยื่อหุ้มปอด อาการที่พบบ่อยคือ เยื่อหุ้มปอดอักเสบ อาการแสดงคือเจ็บหน้าอก โดยเฉพาะ เวลาหายใจเข้าสุด ตรวจพบมีน้าในช่องเยื่อหุ้มปอด บางรายมีอาการปอดอักเสบซึ่งต้องแยก จากปอดอักเสบติดเชื้อ * อาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ที่พบบ่อยคือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ซึ่งมักพบร่วมกับเยื่อหุ้ม ปอดอักเสบ ผู้ป่วย จะมาด้วยอาการ เจ็บหน้าอก มีน้าในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ เหนื่อยง่าย โรคหลอดเลือด หัวใจส่วนใหญ่เป็นผลมาจากภาวะ หลอดเลือดแข็งจากการได้รับยาสเตียรอยด์นาน ๆ นอกจากนี้ภาวะ
  • 10. 10 ความดันโลหิตสูง ก็เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยจากไตอักเสบเรื้อรัง และจากการได้รับยาส เตียรอยด์ * อาการทางระบบทางเดินอาหาร ไม่มีอาการที่จาเพาะสาหรับโรคลูปัส อาการที่พบบ่อย ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียน เบื่อ อาหาร ปวดท้อง ซึ่งเป็นผลจากการใช้ยารักษาโรคลูปัส เช่น NSAIDS ยาส เตียรอยด์ อาการยังคงอยู่ได้แม้จะหยุดยาไป เป็นสัปดาห์ วิธีการรักษาโรคเอสแอลอี ปัจจุบันยังไม่มีวิธีรักษาใดที่ทาให้หายขาดได้เพราะสาเหตุของการเกิด โรคยังไม่แน่ชัด แต่การปฏิบัติตัวที่ดี การ เลือกใช้ยาที่ถูกต้องทั้งชนิด ขนาด และช่วงเวลาที่เหมาะสม จะสามารถควบคุมอาการของโรคนี้ได้โดยรักษาด้วยยาก ลุ่ม NSAIDS และยาต้านมาลาเรีย (คลอโรค วีนและไฮดรอกซีคลอโรควีน) ในผู้ป่วยที่มีอาการเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ไม่มี ปัญหาต่อการดาเนินชีวิตประจา วันมากนัก เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการอย่างโรคทางผิวหนัง มีผื่นที่หน้า ปวดข้อและปวด กล้ามเนื้อ โดยที่ผล การตรวจทางปัสสาวะปกติ อย่างไรก็ตามในกรณียาเหล่านี้ควบคุมอาการไม่ได้อาจให้ยาสเตียรอยด์ใน ขนาดต่าง ๆ (Prednisolone < 10 มิลลิกรัม /วัน) ร่วมด้วย เมื่อควบคุมโรคได้จึงค่อยลดยาลง - ยาสเตียรอยด์ เช่น prednisolone เป็นยาหลักที่ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการอักเสบของอวัยวะสาคัญ ต่าง ๆ จาก โรคลูปัส แพทย์จะปรับขนาดของยาตามอาการและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ถ้าไม่ได้ผลอาจต้องให้ยากดระบบ ภูมิคุ้มกันอื่น ๆ ร่วมด้วย เป็นยาที่จะยับยั้งการเคลื่อนตัวของ เซลเม็ดเลือดขาว ที่มีหน้าที่ต้านการติดเชื้อ แบคทีเรีย (Polymorphonuclear Leukocytes) ที่ผ่าน มาทางหลอดเลือดฝอย อีกทั้งกดการทางานของระบบ ภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกาย เพื่อ ไม่ให้มีการทาลายอวัยวะที่เจ็บป่วยอยู่ ด้วยกลไกดังกล่าวจึงทาให้ลดการ อักเสบ และทาให้ ผู้ป่วยมีอาการที่ดีขึ้น
  • 11. 11 ปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อป่ วยเป็นโรคเอสแอลอี 1. ในระยะแรกต้องได้รับการรักษาด้วยยา ต้องรับประทานยาตามขนาดและระยะเวลาที่แพทย์กาหนด อย่างเคร่งครัด 2. ควรพยายามอย่าให้ผิวหนังถูกแสงแดดโดยตรง ควรใส่หมวกปีกกว้าง กางร่ม และสวมใส่เสื้อแขน ยาวเวลาที่ จาเป็นต้องออกแดด 3. ทาจิตใจให้สบาย ไม่ควรเครียด ท้อถอย เศร้าใจ หรือกังวลใจ เพราะทาให้อาการกาเริบได้ควรมีกา ลังใจและมี ความอดทนต่อการรักษา 4. เสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะอาหารประเภท เนื้อสัตว์ไข่ นม ผักและผลไม้ต่าง ๆ มีการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และนอนหลับพักผ่อนให้ พอเพียง 5. เนื่องจากผู้ป่วยเอสแอลอีมีโอกาสติดเชื้อโรคได้ง่ายจึงต้องคอยระวังตัว ไม่เข้าใกล้ผู้อื่นที่กาลังเป็น โรคติดต่อ เช่น โรคหวัด พยายามไม่อยู่ในที่ที่มีผู้คนแออัด นอกจากนี้อาหารที่รับประทานทุกชนิดควร เป็นอาหารที่สะอาดและต้มสุกแล้ว 6. ทาตามคาแนะนาของแพทย์พยาบาล และไปรับการตรวจตามนัดอย่างสม่าเสมอ เพื่อประโยชน์ใน การรักษาและ ประเมินความรุนแรงของโรค และผลการรักษาแพทย์จะได้พิจารณาให้การรักษาได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม 7. ไม่ควรเปลี่ยนแพทย์ผู้รักษาบ่อย ๆ เพราะแพทย์คนใหม่อาจจะไม่ทราบรายละเอียดของอาการ เจ็บป่วย ทาให้เกิด ความล่าช้าในการวินิจฉัยและการรักษา อาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อน หรืออาจเป็น อันตรายได้ 8. ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง เพราะจะมีโอกาสแพ้ยาได้บ่อยและรุนแรงกว่าคนธรรมดา 9. ไม่ควรเพิ่มหรือลดขนาดยาเอง 10. ถ้ามีอาการผิดปกติ มีไข้หรือไม่สบาย ควรรีบกลับไปปรึกษาแพทย์ผู้รักษาทันที หรือหากจะไปหา แพทย์อื่น ควร นายาที่กาลังรับประทานอยู่ไปให้แพทย์ดูด้วยทุกครั้ง เพื่อว่าแพทย์จะได้จัดยาได้ถูกต้อง และสอดคล้องกับยาประจาที่ รับประทานอยู่ 11. ผู้ป่วยหญิงที่แต่งงานแล้วไม่ควรมีบุตรในระยะที่โรคกาเริบ เพราะจะเป็นอันตรายต่อแม่และเด็กใน ครรภ์ไม่ควรใช้ยาคุมกาเนิด เพราะอาจจะทาให้อาการของโรคกาเริบขึ้น ควรเลี่ยงใช้วิธีอื่น ๆ แทน โดยการปรึกษาแพทย์ผู้ป่วยจะ สามารถตั้งครรภ์ได้เมื่อพ้นระยะที่โรคมีความรุนแรงแล้ว แต่ควร ปรึกษาแพทย์ก่อนการตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์ควร ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์
  • 12. 12 โรค SLE ห้ามกินอาหารอะไรบ้าง ในปัจจุบันยังไม่สามารถระบุได้ว่า อาหารชนิดไหนที่สามารถ ทาให้อาการ SLE กาเริบ หรือแม้แต่อาหารที่ช่วย ให้อาการของโรค SLE ดีขึ้นได้ก็ยังไม่พบข้อมูลทาง การแพทย์ที่สามารถยืนยันได้อย่างชัดเจนด้วยเช่นกัน เพราะถ้าพูด ถึงการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรค SLE จะมีลักษณะเหมือนกับแนวทางการกินเพื่อสุขภาพที่ดีทั่วไปนั่นเอง แต่ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางใน การดูแลด้านอาหารการกินของผู้ป่วยโรค SLE ก็พอมีข้อมูลอาหารที่ผู้ป่วยโรค SLE ควรหลีกเลี่ยง เพื่อ ลดโอกาสเกิดอาการที่รุนแรงหรือโรคแทรกซ้อนได้ *โรค SLE ห้ามกินอาหารอะไรบ้าง ไม่อยากอาการทรุดต้องดูแล 1. เนื้อแดง เนื้อแดงมีไขมันอิ่มตัวค่อนข้างสูง เสี่ยงต่อภาวะไขมันในเลือดสูง ซึ่งอาจกระตุ้นให้เกิด อาการอักเสบตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ดังนั้นผู้ป่วยโรค SLE ควรเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูงอย่าง เนื้อแดง และเนื้อสัตว์ไขมันสูงทุกชนิดไว้จะ ดีกว่า แล้วเปลี่ยนมารับประทานเนื้อปลา เช่น ปลาทูน่า ปลาแซลมอน ปลาแมคเคอแรล ซึ่งมีกรดโอเมก้า 3 สูง ช่วย ป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด และช่วยป้องกันอาการอักเสบในร่างกายได้และถ้าจะให้ดีต่อสุขภาพมากขึ้น ไปอีก แนะนาเป็นอาหาร ประเภทโปรตีนไขมันต่าอย่างเนื้อไก่และถั่วชนิดต่าง ๆ 2. อาหารไขมันสูง อาหารที่มีไขมันทรานส์ อาหารที่มีไขมันสูง เช่น อาหารประเภททอด อาหารมัน ๆ หรือพวกเค้ก คุกกี้ แครกเกอร์ เฟรนช์ฟรายส์ และ โดนัท รวมไปถึงบรรดาอาหารฟาสต์ฟู้ดทั้งหลายที่มี ไขมันทรานส์แอบแฝงอยู่ ผู้ป่วยโรค SLE ก็ควรเลี่ยงให้ไกลด้วย เช่นกัน เพราะอย่างที่บอกไปแล้วนะ คะว่า อาหารไขมันสูงอาจทาให้ผู้ป่วย SLE มีระดับคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ซึ่ง ไม่ส่งผลดีต่อระบบ ใด ๆ ในร่างกายแน่นอนหนาซ้ายังอาจเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดโรคเรื้อรังอื่น ๆ อย่างโรคความดัน โลหิต โรคหัวใจ หรือโรคเบาหวานได้อีก 3.คาเฟอีน คาเฟอีนในที่นี้หมายถึงผลิตภัณฑ์ที่มีคาเฟอีนทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น กาแฟ ชา น้าอัดลม ช็อกโกแลต หรือแม้กระทั่ง เครื่องดื่มชูกาลัง เป็นไปได้อยากให้งดไปเลยจะดีมากค่ะ เพราะคาเฟอีนจะ ไปกระตุ้นให้ร่างกายตื่นตัว รวมไปถึงอาจ กระตุ้นระบบในช่องท้องด้วย ซึ่งยาบางตัวที่ใช้รักษาคนไข้ SLE บางราย ก็มีจุดประสงค์ให้คนไข้นอนหลับได้ดีขึ้น หรือ ยาบางตัวอาจมีผลข้างเคียงเรื่องระบบลา ไส้อยู่แล้ว ดังนั้นก็อย่าให้คาเฟอีนมาซ้าเติมร่างกายเราเลยดีกว่า 4. อาหารเค็มจัด ผู้ป่วยโรค SLE ควรลดปริมาณการรับประทานเกลือให้ได้โดยเฉพาะผู้ป่วย SLE ที่ เสี่ยงหรือเป็นโรคไตและโรค ความดันโลหิตสูง ซึ่งอาจเพิ่มความรุนแรงของอาการได้หากกินอาหาร รสเค็มจัดอย่างอาหารแปรรูป อาหารสาเร็จรูป หรืออาหารฟาสต์ฟู้ดที่มีปริมาณโซเดียมค่อนข้างมาก 5. แอลกอฮอล์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไม่เคยส่งผลดีกับใคร ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่มีสุขภาพดีก็ตาม ยิ่งในเคส ผู้ป่วยโรค SLE ที่ต้องกินยา รักษาอาการเป็นประจา ยิ่งไม่ควรจะดื่มแอลกอฮอล์ด้วยประการทั้งปวง เพราะยาบางชนิดอาจเกิดปฏิกิริยาต่อ แอลกอฮอล์และทาให้อาการป่วยของเราแย่ไปด้วย
  • 13. 13 6. อาหารประเภทแป้งขัดสี และน้าตาล ผู้ป่วยโรค SLE ที่รับประทานยาสเตียรอยด์ จะมีโอกาสเกิด โรคเบาหวานแทรกซ้อนได้ง่าย ดังนั้นจึงควรจากัด ปริมาณน้าตาล และอาหารประเภทแป้งขัดขาวอย่าง ขนมปังขาว ข้าวขาว ข้าวเหนียว เป็นต้น เพราะหากรับประทาน น้าตาลและอาหารประเภทแป้งอย่าง ไม่ระมัดระวัง อาจเสี่ยงต่อโรคเบาหวานเพิ่มมากขึ้นได้ดังนั้นสาหรับผู้ป่วยโรค SLE แนะนาเป็นข้าว ซ้อมมือ โฮลวีท โฮลเกรน ซึ่งนอกจากจะมีวิตามินเยอะกว่าแป้งขัดสีแล้ว ยังมีไฟเบอร์สูง ช่วย ป้องกัน อาการท้องผูก และช่วยลดความเสี่ยงโรคหัวใจไปด้วยในตัว 7. กระเทียม แม้กระเทียมจะเป็นสมุนไพรที่ช่วยบารุงสุขภาพได้หลายอย่าง แต่สาหรับผู้ป่วยโรค SLE กลับควรเลี่ยงกระเทียม และอาหารประเภทหน่อให้ไกลเลยค่ะ เพราะข้อมูลทางการแพทย์พบว่า กระเทียมมีสาร Allicin, Ajoene และ Thiosulfinates ซึ่งอาจกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของผู้ป่วย และอาจ ทาปฏิกิริยากับยาประเภทสเตียรอยด์ อาจทาให้ เลือดออกในร่างกายได้ โรค SLE ควรกินอาหารอะไรเพิ่มเติม นอกจากอาหารที่ให้สารอาหารครบ 5 หมู่ และอาหารที่สด สะอาดแล้ว อาหารที่ผู้ป่วยโรค SLE ควรกินเพิ่มเติมก็ มีดังนี้ 1. อาหารแคลเซียมสูง ผู้ป่วยโรค SLE ควรรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น นมโค นมถั่ว เหลือง เต้าหู้ งา ข้าวโอ๊ต เป็นต้น เนื่องจากผู้ป่วยโรค SLE มีแนวโน้มจะป่วยด้วยโรคกระดูกพรุน และ ปัจจัยที่ผู้ป่วยต้องกินยาสเตียรอยด์ ก็อาจเพิ่ม ความเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุนได้มาก 2. วิตามินดี นพ.สันต์ ใจยอดศิลป์ เผยว่า จากงานวิจัยทาให้ทราบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการขาด วิตามินดีกับความรุนแรง ทางอาการของโรค SLE เนื่องจากผู้ป่วยโรค SLE ควรต้องเลี่ยงการถูก แสงแดด ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยโรคนี้ขาดวิตามินดี จากแสงแดดได้และก็เหมือนโชคร้ายที่คนเราต้องรับ วิตามินดีจากแสงแดดเพียงอย่างเดียวเท่านั้น และหากหวังจะพึ่ง วิตามินดีจากอาหารก็ค่อนข้างมีน้อย มาก ดังนั้น นพ.สันต์ จึงแนะนาให้ผู้ป่วยโรค SLE รับประทานวิตามินดีเสริม โดย วิตามินดี 2 หรือ เออ โกแคลซิเฟอรอล (Vitamin D2 : Ergocalciferol) ขนาด 20,000 ยูนิต เดือนละ 2 เม็ด คือทุก 2 สัปดาห์ ทานครั้งละ 1 เม็ด เพื่อลดโอกาสอาการกาเริบ ทั้งนี้หากผู้ป่วยปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม ทานยาที่ถูกต้อง พบแพทย์ตามนัด อาการของโรคพุ่มพวงก็จะไม่รุนแรง นัก แต่หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและ ทันท่วงที อวัยวะสาคัญ เช่น ไต สมอง หลอดเลือด อาจเกิดการอักเสบ ได้หรือหากผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันที่ ผิดปกติอยู่แล้ว อาจเกิดภาวะติดเชื้อได้ง่ายขึ้น ซึ่งนาไปสู่การเสียชีวิตได้ดังนั้นหากใคร มีอาการต้อง สงสัย ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อรับวินิจฉัยทันที
  • 14. 14 บทที่3 วิธีดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your body ) มีวิธีการดาเนินงานดังนี้ แนวทางการดาเนินงาน 1.กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา 2.ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องโรคเอสแอลอีหรือโรคแพ้ภูมิตนเอง 3.ค้นคว้าและสรุปข้อมูลต่างๆจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ 4.ตรวจเช็คข้อมูลให้ถูกต้อง 5.นาข้อมูลใส่ลงใน slideshare 6.นาข้อมูลมาลงในบล็อคของตน 7.สรุปข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจลงใน Microsoft Power Point 8.นาเสนอข้อมูลให้คุณครูและเพื่อนๆ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.อินเทอร์เน็ต 2.หนังสือความรู้จากแหล่งข้อมูลเช่น ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 3.คอมพิมเตอร์ 4.โปรแกรม Microsoft Power Point 5.โปรแกรม Microsoft Word สถานที่ดาเนินการ -บ้านเลขที่ 78/1 ม.4 ต.สันกาแพง อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ 50130 -โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50140 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -การงานอาชีพและเทคโนโลยี -ชีววิทยา -สุขศึกษา
  • 15. 15 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 16. 16 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your body ) ได้ผลการดาเนินงานดังนี้ ผลการดาเนินงาน 1. ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องของโรคเอสแอลดีหรือโรคแพ้ภูมิตนเอง 2. ผู้ศึกษาสามารถสังเกตตนเอง และรู้จักวิธีการดูแลตนเมื่อป่วยเป็นโรคเอสแอลดี 3. ผู้ศึกษาสามารถนาความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ต่อไป การนาไปใช้ 1. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่แก่ผู้ที่สนใจได้ 2. นาไปเป็นสื่อในการเรียนการสอน 3. นาไปประยุคใช้ในการดูแลตนเอง 4. นาไปใช้ดูแลครอบครัวของตน
  • 17. 17 บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ ในการจัดทาโครงงานแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your body ) ได้ข้อสรุปดังนี้ ผลการดาเนินงาน จากการจัดทาโครงงานแพ้ภูมิตัวเอง ศัตรูมืดในร่างกายคุณ( Autoimmune dark enemies in your body )ทาให้ทั้งผู้จัดทา และผู้ที่สนใจได้รับความรู้ในเรื่องของโรคเอสแอลดีที่มีความอันตรายและเป็น ภัยร้ายในร่างกายเรา จึงทาให้สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการดูแลตนเองในแต่ละวันรวมถึง ประยุกต์ใช้ในการดูแลครอบครัวของตนให้มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
  • 18. 18 แหล่งอ้างอิง “ โรคเอสแอลดี “ ค้นหาจากเว็บ https://www.printo.it/pediatric- rheumatology/TH/info/3/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%A A%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0 %B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%AA , https://health.kapook.com/view82.html , http://haamor.com/th/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%9B% E0%B8%B1%E0%B8%AA- %E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B9%81%E0%B8 %AD%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B5/ ค้นหาข้อมูลเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน จนถึง วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2560 -