SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
โครงงาน
โรคความดันโลหิตสูง
นางสาว สิริกันยา การิยะ เลขที่ 14
นางสาว สิรภัทร ยานะ เลขที่ 30
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/7
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
สารบัญ
เรื่อง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………1
บทคัดย่อ ……………………………………………………………………………………….…………………………………………………3
กิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………………………………………………………………4
บทที่ 1………………………………………………………………………………………………………………………………………………5
บทที่ 2………………………………………………………………………………………………………………………………………………9
บทที่ 3……………………………………………………………………………………………………………………………………………21
บทที่ 4…………………………………………………………………………………………………….………………………………………24
บทที่ 5………………………………………………………………………………………………………………….…………………………25
บรรณานุกรม…………………………………………………………………….……………………………………………………………..26
ชื่อ : นางสาว สิริกันยา การิยะ เลขที่ 14
นางสาว สิรภัทร ยานะ เลขที่ 30
ชื่อเรื่อง : โรคความดันโลหิตสูง
รายวิชา : การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ : การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ครูที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ปีการศึกษา : 2/2560
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่อง โรคความดันโลหิตสูง มีจุดมุ่งหมายเพื่อชี้ให้เห็นสาเหตุ ปัญหา อาการ และวิธีการรักษา
ของโรคความดันโลหิตสูง เพื่อให้ทราบถึงการดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ละให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับ
โรคความดันโลหิตสูง เพื่อให้นาไปเผยแพร่ให้คนทั่วไปให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มมาก
ยิ่งขึ้น โดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเผยแพร่ข้อมูล คือ เว็บไซต์สาหรับเผยแพร่ข้อมูลที่ได้ศึกษา
Powerpointในการนาเสนอโครงงานและรูปเล่มโครงงาน ส่วนแนวทางการดาเนินงานจะเริ่มตั้งแต่กาหนด
หัวข้อที่ต้องการจะศึกษา รวบรวมข้อมูลที่ต้องการจะศึกษา ทาโครงร่างของโครงงานที่ทาการศึกษา เริ่ม
ทาการศึกษาในหัวข้อที่ต้องการ รวบรวมข้อมูลที่ได้ทาการศึกษา แล้วสุดท้ายนี้ทาเป็นโครงงานที่สมบูรณ์ที่สุด
หลังจากการทาโครงงานได้สาเร็จลุล่วงแล้วก็ได้สรุปผลการดาเนินงาน ดังนี้ ทาให้คณะผู้จัดทาได้สนใจเกี่ยวกับ
เรื่องโรคความดันโลหิตสูง เพิ่มเติมสามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันโดยเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับรู้แล้วยัง
สามารถปรับปรุงลักษณะการรับประทาน ออกกาลังกายเพื่อลดเหตุผลการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่องโรคความดันโลหิตสูง ได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีด้วยความกรุณาของอาจารย์ที่ปรึกษา
โครงงาน ได้แก่ ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แนะในการศึกษาค้นคว้า แนะนาขั้นตอน
และวิธีจัดทาโครงงานจนสาเร็จลุล่วงด้วย คณะผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอกราบขอบคุณบิดา มารดาที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียน และสมาชิกในกลุ่มที่ให้ความร่วมมือ
อย่างสุดความสามารถในการทาโครงงานครั้งนี้ จนประสบความสาเร็จ
บทที่ 1
บทนา
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) : โรคความดันโลหิตสูง
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) : Hypertension
ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาการดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
โรคความดันโลหิตสูง (อังกฤษ: hypertension) เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ผู้ป่วยมีความดันเลือดใน
หลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา ความดันเลือดประกอบด้วยสองค่า ได้แก่ ความดันช่วงหัวใจบีบและ
ความดันช่วงหัวใจคลาย ซึ่งเป็นความดันสูงสุดและต่าสุดในระบบหลอดเลือดแดงตามลาดับ ความดันช่วงหัวใจ
บีบเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากที่สุด ความดันช่วงหัวใจคลายเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวมาก
ที่สุดก่อนการบีบตัวครั้งถัดไป ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100–140 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจบีบ
และ 60–90 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ความดันโลหิตสูงหมายถึง ความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ
140/90 มิลลิเมตรปรอทตลอดเวลา ส่วนในเด็กจะใช้ตัวเลขต่างไป
ปกติความดันโลหิตสูงไม่ก่อให้เกิดอาการในทีแรก แต่ความดันโลหิตสูงต่อเนื่องเมื่อผ่านไปเป็นปัจจัย
เสี่ยงสาคัญของโรคหัวใจเหตุความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ท่อเลือดแดงโป่ง
พอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และโรคไตเรื้อรัง
ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ (ไม่ทราบสาเหตุ) และความดันโลหิตสูงแบบ
ทุติยภูมิ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90–95 จัดเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ หมายถึงมีความดันโลหิตสูงโดยไม่
มีเหตุพื้นเดิมชัดเจน ที่เหลืออีกร้อยละ 5–10 จัดเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิมักมีสาเหตุที่สามารถบอก
ได้ เช่น โรคไตเรื้อรัง ท่อเลือดแดงหรือหลอดเลือดแดงไตตีบแคบ หรือโรคของต่อมไร้ท่อ เช่น แอลโดสเตอโรน
คอร์ติซอลหรือแคทิโคลามีนเกิน
หลักการและทฤษฎี
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมักไม่มีอาการใดๆ ส่วนใหญ่มักตรวจพบจากการตรวจคัดโรค หรือเมื่อมาพบ
แพทย์ด้วยปัญหาอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง เช่น ตรวจโรคทั่วไป ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจานวนหนึ่งมักบอกว่ามีอาการ
ปวดศีรษะโดยเฉพาะบริเวณท้ายทอยในช่วงเช้า เวียนศีรษะ รู้สึกหมุน มีเสียงหึ่ง ๆ ในหู หน้ามืดหรือเป็น
ลม อย่างไรก็ตามอาการดังกล่าวอาจสัมพันธ์กับความวิตกกังวลมากกว่าจากความดันเลือดสูงเอง
ในการตรวจร่างกาย ผู้ความดันโลหิตสูงอาจสัมพันธ์กับการมีการเปลี่ยนแปลงในก้นตาเห็นได้จากการ
ส่องตรวจในตา (ophthalmoscopy) ความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงที่ตรงแบบของโรคจอตาเหตุความดัน
โลหิตสูงมีการแบ่งเกรดตั้งแต่ 1–4 เกรด 1 และ 2 อาจแยกได้ยาก ความรุนแรงของโรคจอตาสัมพันธ์อย่าง
หยาบ ๆ กับระยะเวลา ความดัน
ความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ
หมายถึง ความดันโลหิตสูงที่สามารถระบุสาเหตุที่ทาให้เกิดได้ เช่น โรคไตหรือโรคต่อมไร้ท่อ ผู้ป่วยจะ
มีอาการและอาการแสดงบางอย่างที่บ่งบอกว่าเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ เช่น สงสัยกลุ่มอาการคุช
ชิง (Cushing's syndrome) หากมีอาการอ้วนเฉพาะลาตัวแต่แขนขาลีบ (truncal obesity)ความไม่ทน
กลูโคส (glucose intolerance) หน้าบวมกลม (moon facies) ไขมันสะสมเป็นหนอกที่หลังและคอ (buffalo
hump) และริ้วลายสีม่วงที่ท้อง (purple striae) ] ภาวะต่อมไทรอยด์ทางานเกินมักเป็นสาเหตุของน้าหนักลด
แต่มีความอยากอาหารเพิ่ม อัตราหัวใจเต้นเร็ว ตาโปนและอาการสั่น หลอดเลือดแดงไตตีบ (RAS) อาจสัมพันธ์
กับเสียงบรุยต์ (bruit) ที่ท้องเฉพาะที่ด้านซ้ายหรือขวาของแนวกลาง (RAS ข้างเดียว) หรือทั้งสองตาแหน่ง
(RAS สองข้าง) ท่อเลือดแดงแคบ (aortic coarctation) บ่อยครั้งก่อให้เกิดความดันเลือดลดลงในขาเมื่อเทียบ
กับแขนและ/หรือไม่มีชีพจรหลอดเลือดแดงต้นขาหรือมีแต่ช้า ฟีโอโครโมไซโตมา (pheochromocytoma)
อาจเป็นสาเหตุของช่วงความดันโลหิตสูงเฉียบพพลันร่วมกับปวดศีรษะ ใจสั่น ดูซีดและมีเหงื่อออกมาก
ความดันโลหิตสูงวิกฤต
ภาวะที่ความดันเลือดขึ้นสูงมาก(hypertensive crisis) ซึ่งที่ระดับความดันเลือดดังกล่าวมีความเสี่ยง
สูงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ ผู้ป่วยที่ความดันโลหิตสูงระดับนี้อาจไม่มีอาการ หรือมีรายงานว่าปวดศีรษะ
(ราวร้อยละ 22) และเวียนศีรษะมากกว่าประชากรทั่วไป อาการอื่นๆ ที่เกิดร่วมกับภาวะความดันโลหิตสูง
วิกฤต เช่น ตาพร่ามองภาพไม่ชัด หรือหายใจเหนื่อยหอบจากหัวใจล้มเหลว หรือรู้สึกไม่สบายดัวเนื่องจากไต
วาย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงวิกฤตส่วนใหญ่ทราบอยู่แล้วว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงแต่มีสิ่งกระตุ้นเข้ามาทาให้
ความดันเลือดสูงขึ้นทันทีความดันโลหิตสูงวิกฤตแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน
(hypertensive emergency) และความดันโลหิตสูงเร่งด่วน (hypertensive urgency) ซึ่งต่างกันตรงที่มี
อาการแสดงของอวัยวะถูกทาลายหรือไม่
ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive emergency) เป็นภาวะที่วินิจฉัยเมื่อมีความดันโลหิตสูง
อย่างรุนแรงจนอวัยวะตั้งแต่ 1 อย่างขึ้นไปถูกทาลาย ตัวอย่างเช่น โรคสมองจากความดันโลหิต
สูง (hypertensive encephalopathy) เกิดจากสมองบวมและเสียการทางาน จะมีอาการปวดศีรษะและ
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงเช่น ซึม สับสน อาการแสดงของอวัยวะเป้าหมายถูกทาลายที่ตา ได้แก่ จาน
ประสาทตาบวม (papilloedema) และ/หรือมีเลือดออกและของเหลวซึมที่ก้นตา อาการเจ็บหน้าอกอาจแสดง
ถึงกล้ามเนื้อหัวใจเสียหายซึ่งอาจดาเนินต่อไปเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือเกิดการฉีกเซาะของผนังหลอดเลือด
แดงใหญ่เอออร์ตา อาการหายใจลาบาก ไอ เสมหะมีเลือดปนเป็นอาการแสดงของปอดบวมน้า (pulmonary
edema) เนื่องจากหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว กล่าวคือหัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถสูบฉีดเลือดจากปอดไปยัง
ระบบหลอดเลือดแดงได้เพียงพอ อาจเกิดไตเสียหายเฉียบพลัน และโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกชนิดไม
โครแองจีโอพาติก (การทาลายเม็ดเลือดแดงชนิดหนึ่ง) เมื่อเกิดภาวะนี้จาเป็นต้องรีบลดความดันโลหิตเพื่อ
หยุดยั้งความเสียหายของอวัยวะเป้าหมาย
ในทางตรงข้ามหากผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงกว่า 180/100 มิลลิเมตรปรอทแต่ไม่พบความเสียหาย
ของอวัยวะเป้าหมายจะเรียกภาวะนี้ว่า ความดันโลหิตสูงเร่งด่วน (hypertensive urgency) ยังไม่มีหลักฐาน
ยืนยันถึงความจาเป็นต้องรีบลดความดันโลหิตในผู้ป่วยกลุ่มนี้หากไม่มีการทาลายอวัยวะ และการลดความดัน
โลหิตอย่างรวดเร็วก็ไม่ได้ปราศจากความเสี่ยง ในภาวะนี้สามารถค่อยๆ ลดความดันโลหิตลงด้วยยาลดความดัน
ชนิดรับประทานให้กลับสู่ระดับปกติใน 24 ถึง 48 ชั่วโมง
ในสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์มีภาวะความดันโลหิตสูงราวร้อยละ 8-10 หญิงที่มีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ส่วน
ใหญ่มักเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิอยู่ก่อนแล้ว ความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์อาจเป็นอาการแสดง
แรกของโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก (pre-eclampsia) ซึ่งเป็นภาวะทางสูติศาสตร์ที่ร้ายแรง เกิดในช่วงครึ่ง
หลังของการตั้งครรภ์และระยะหลังคลอด โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักเป็นภาวะที่มีความดันโลหิตสูงและมี
โปรตีนในปัสสาวะ พบราวร้อยละ 5 ของการตั้งครรภ์ และเป็นสาเหตุราวร้อยละ 16 ของการเสียชีวิตของ
มารดาทั่วโลก โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักเพิ่มความเสี่ยงของการตายปริกาเนิดเป็นสองเท่า โดยทั่วไปแล้ว
โรคนี้ไม่มีอาการและตรวจพบได้จากการฝากครรภ์เป็นประจา อาการของโรคนี้ที่พบได้บ่อยคือปวดศีรษะ ตา
พร่ามัว (มักเห็นแสงวูบวาบ) ปวดจุกแน่นลิ้นปี่ และบวม โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักบางครั้งจะดาเนินต่อไป
เป็นโรคร้ายแรงถึงแก่ชีวิตเรียกว่าโรคพิษแห่งครรภ์ระยะชัก (eclampsia) ซึ่งมีภาวะความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน
ร่วมกับภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหลายอย่างเช่นมองภาพไม่เห็น สมองบวม ชัก ไตวาย ปอดบวมน้า และมีภาวะ
เลือดแข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจาย (disseminated intravascular coagulation; ความผิดปกติของ
การแข็งตัวของเลือดอย่างหนึ่ง)
ในทารกและเด็ก
ความดันโลหิตสูงในทารกแรกเกิดและทารกอาจมาด้วยเลี้ยงไม่โต ชัก งอแงร้องกวน ง่วงซึม และ
หายใจลาบาก ความดันโลหิตสูงในเด็กอาจทาให้ปวดศีรษะ อ่อนล้า เลี้ยงไม่โต มองภาพไม่ชัด เลือดกาเดา
ออก และใบหน้าเป็นอัมพาต
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาที่มาของโรคความดันโลหิตสูง
2.เพื่อศึกษาอาการของโรคความดันโลหิตสูง
3.เพื่อให้ผู้คนรู้จักและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
4.เพื่อให้ผู้คนส่วนใหญ่ได้ตระหนักถึงความอันตรายของโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 2
หลักการและทฤษฎี
ในการจัดสร้างโครงงาน เรื่อง โรคความดันโลหิตสูง จาเป็นต้องศึกษาหัวข้อ ดังนี้
2.1 ความหมายของโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) หมายถึง ภาวะที่มีความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวที่มีค่าเฉลี่ย
ระดับความดันโลหิต ตั้งแต่ 140 มิลลิเมตรปรอท และ/หรือความดันโลหิตขณะที่หัวใจคลายตัวที่มีค่าเฉลี่ย
ระดับความดันโลหิต ตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอท โดยมีการวัดความดันโลหิตตั้งแต่ 2 ครั้ง ขึ้นไป
ความดันโลหิตสูง หมายถึง แรงดันภายในหลอดเลือดหรือแรงของการบีบตัวไล่โลหิตแดง
ไปตามหลอดเลือดต่าง ๆ ความดันโลหิตจะสูงขึ้นและลงต่า ตามจังหวะการบีบตัวของหัวใจทุกครั้งซึ่งสามารถ
วัดได้โดยใช้เครื่องวัดความดันโลหิต (Sphymonanometer) วัดที่แขน โดยมีค่าที่วัดได้ตั้งแต่ 140/90
มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป
โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่เกิดขึ้นมาตามลาดับของอายุ มักเกิดมากในช่วงอายุ 35-55 ปี และมัก
พบมากในเพศชายมากกว่าเพศหญิง และอาการเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนในเพศชายจะพบมากกว่าเพศหญิง
2.2 สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงมีอยู่ 2 ชนิดได้แก่ โรคความดันโลหิตที่ไม่ทราบสาเหตุ Primary hypertension หรือเรียกอีก
ชื่อหนึ่งว่า essential hypertension เป็นความดันโลหิตสูงที่พบมากที่สุด กลุ่มนี้ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดมักจะ
มีสาเหตุหลายองค์ประกอบรวมกัน พบว่าผู้ป่วยร้อยละ 95 เป็นผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มนี้ แต่มักจะพบว่าผู้ป่วยกลุ่ม
ความดันโลหิตสูงนี้มีความสัมพันธ์กับปัจจัยดังต่อไปนี้
- การรับประทานอาหารเค็มซึ่งจากการศึกษาพบว่าการรับประทาน อาหารเค็ม จะมีส่วนทาให้เกิด
ความดันโลหิตสูง แนะนาว่าคนปรกติไม่ควรที่จะรับประทานเกลือเกิน 3.8 กรัมต่อวัน
- กรรมพันธุ์ เชื่อว่าพันธุกรรมจะมีผลต่อระบบฮอร์โมนทาให้มีการหลั่งสารเคมีมากไป Renin
angiotensin มากทาให้ความดันโลหิตสูง
- ความผิดปรกติของหลอดเลือดเนื่องมาจากโรคอ้วน อายุมาก เชื้อชาติ และการขาดการออกกาลังกาย
โรคความดันโลหิตที่ทราบสาเหตุ Secondary hypertension
เป็นความดันโลหิตสูงที่ทราบสาเหตุ พบได้ประมาณร้อยละ 5 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสาเหตุที่พบได้บ่อย
คือ
- โรคไต ผู้ป่วยที่มีหลอดแดงที่ไปเลี้ยงไตตีบทั้งสองข้างมักจะมีความดันโลหิตสูง
- เนื้องอกที่ต่อมหมวกไตพบได้สองชนิดคือชนิดที่สร้างฮอร์โมน hormone aldosterone ผู้ป่วยกลุ่มนี้
จะมีความดันโลหิตสูงร่วมกับเกลือแร่โปแตสเซียมในเลือดต่า อีกชนิดหนึ่งได้แก่เนื้องอกที่สร้าง
ฮอร์โมน catecholamines เรียกว่าโรค Pheochromocytoma ผู้ป่วยจะมีความดันโลหิตสูงร่วมกับ
ใจสั่น
- โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ตีบ Coarctation of the aorta พบได้น้อยเกิดจากหลอดเลือดแดงใหญ่ตีบ
บางส่วนทาให้เกิดความดันโลหิตสูง
- ยาคุมกาเนิด
- ยาโคเคน ยาบ้า
2.3 อาการและอาการแสดงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ เนื่องจากความดันโลหิตจะเพิ่มอย่างช้าๆทาให้ร่างกายโดยเฉพาะ
หลอดเลือดปรับตัวทันขึงไม่มีอาการ ผู้ป่วยความดันโลหิตส่วนใหญ่จะมาด้วยโรคแทรกซ้อนโดยที่ไม่รู้ว่าเป็น
ความดันโลหิตสูง ดังนั้นจึงแนะนาให้วัดความดันทุก 2 ปีสาหรับคนที่ความดันโลหิตปกติ อาการที่ผู้ป่วยความ
ดันโลหิตสูงที่พาผู้ป่วยมาโรงพยาบาลได้แก่
ปวดศีรษะ
ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดศีรษะในกรณีที่ความดันขึ้นอย่างรวดเร็วหรือเกิดภาวะ Hypertensive crisis
โดยทั่วไปความดันโลหิตตัวบน Systolic จะมากกว่า 110 มม ปรอท หรือ Diastolic มากกว่า 110 มม ปรอท
อาการปวดศีรษะมักจะปวดมึนๆบางคนปวดตลอดวัน ปวดมากเวลาถ่ายอุจาระ หากเป็นมากจะมีอาการ
คลื่นไส้อาเจียน
เลือดกาเดาไหล
ร้อยละ 17 ของผู้ป่วยที่เลือดกาเดาไหลจะเป็นความดันโลหิตสูงดังนั้นผู้ที่มีเลือดกาเดาออกต้องวัดความดัน
โลหิต
มึนงง Dizziness
อาการมึนงงเป็นอาการทั่วๆไปพบได้ในหลายภาวะ เช่นเครียด นอนไม่พอ ทางานมากไป น้าตาลในเลือดสูง แต่
ก็อาจจะพบในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยมักจะบอกว่ารู้สึกไม่แจ่มใส สมองตื้อๆ
ตามัว
ในรายที่ความดันโลหิตสูงเป็นมากและมีการเปลี่ยนแปลงของจอรับภาพผู้ป่วยก็จะมีปัญหาทางสายตา
เหนื่อยง่ายหายใจหอบ
อาการหอบ เหนื่อยง่าย เวลาออกแรง เช่น เดิน วิ่ง ทางาน มีสาเหตุมากมาย เช่น โลหิตจาง(ซีด) โรค
อ้วน ความดันโลหิตสูง โรคปอด ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคหัวใจ ภาวะหัวใจล้มเหลว (heart failure) แม้แต่
ความวิตกกังวล หรือ โรคแพนิค ก็ทาให้เหนื่อยได้เช่นกัน อาการเหนื่อยง่ายจากโรคหัวใจ และ ภาวะหัวใจ
ล้มเหลวนั้น จะเหนื่อย หอบ หายใจเร็ว โดยเป็นเวลาออกแรง แต่ในรายที่เป็นรุนแรง จะเหนื่อยในขณะพัก
บางรายจะเหนื่อยมากจนนอนราบไม่ได้ (นอนแล้วจะเหนื่อย ไอ) ต้องนอนศีรษะสูงหรือ นั่งหลับ คาว่าเหนื่อย
หอบ ในความหมายของแพทย์หมายถึง อัตราการหายใจมากกว่าปกติ แต่ในความหมายของผู้ป่วยอาจรวมไป
ถึง อาการเหนื่อยเพลีย หมดแรง เหนื่อยใจ
อาการต่อไปนี้เข้าได้กับอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจขาดเลือด
1.เจ็บแน่นๆ อึดอัด บริเวณกลางหน้าอกส่วนใหญ่จะเป็นด้านซ้าย หรือ ทั้งสองด้าน (มักจะไม่เป็นด้านขวาด้าน
เดียว) บางรายจะร้าวไป ที่แขนซ้าย หรือ จุกแน่นที่คอ บางรายเจ็บบริเวณกรามคล้ายเจ็บฟัน
2.อาการตามข้อ 1 เกิดขึ้นขณะออกกาลัง หรือทางานหนัก เช่น เดินเร็วๆ รีบ หรือ ขึ้นบันได วิ่ง โกรธโมโห
โดยมากมักจะไม่เกิด 10 นาที อาการดังกล่าวจะดีขึ้นเมื่อหยุดออกกาลัง
3.ในบางรายที่อาการรุนแรง อาการแน่นหน้าอกอาจเกิดขึ้นในขณะพัก เช่น นั่ง หรือ นอน หรือ หลังอาหาร
4.กรณีที่เกิดหลอดเลือดหัวใจอุดตัน กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน อาการจะรุนแรงมาก อาจมีอาการอื่นๆร่วม
ด้วย เช่น เหงื่อออก มาก เป็นลม (อาการเช่นนี้ยังพบได้ในโรคของหลอดเลือดแดงใหญ่ปริ ฉีก) หมดสติ
2.4 ประเภทของโรคความดันโลหิตสูง
1. โรคความดันโลหิตสูงชนิดทราบสาเหตุ (Secondary Hypertension)
ความดันโลหิตสูงชนิดนี้ พบจานวนน้อย และสามารถรักษาให้หายขาดได้ มักเกิดจากสาเหตุการได้รับยา หรือ
ฮอร์โมนบางชนิด และโรคต่างๆ ที่พบได้บ่อย คือ โรคไต โรคของต่อมไร้ท่อ และความผิดปกติของหลอดเลือด
แดงใหญ่ สาเหตุจากโรค ได้แก่
– ไตอักเสบ ไตวายเรื้อรัง
– หลอดเลือดแดงบริเวณไตมีการตีบตัน จากการแข็งตัวของหลอดเลือด หลอดเลือดอักเสบจนขัดขวางการ
ไหลเวียนของเลือด เมื่อรักษาโดยการผ่าตัดก็จะหายเป็นปกติ
– ความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมน เช่น ฮอร์โมนต่อมหมวกไต และโรค Cushing’s Syndrome
– ภาวะลิ้นหัวใจรั่ว และหลอดเลือดแดงใหญ่หดตัว
– ภาวะประสาทส่วนกลางผิดปกติ เช่น ฝีในสมอง สมองอักเสบ สามารถรักษาด้วยการผ่าตัดได้
2. โรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ (Primary Hypertension or Essential
Hypertension) พบมากที่สุดประมาณร้อยละ 90 – 95 ของผู้ที่มีความดันโลหิตสูง โดยมีปัจจัยหลายอย่างที่
เกี่ยวข้อง เช่น กรรมพันธุ์ การรับประทานเกลือมาก โรคอ้วน การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา และขาดการออกกาลัง
กาย เป็นต้น โรคความดันโลหิตสูงชนิดนี้ มักพบมากในวัยกลางคนจนถึงวัยสูงอายุ และมักมีประวัติทาง
ครอบครัว หรือกรรมพันธุ์ เช่น มีพ่อแม่พี่น้อง หรือสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคนี้อยู่และส่วนใหญ่มักเป็นกับคน
อ้วน
2.5 ปัจจัยเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ
1. ปัจจัยด้านกรรมพันธุ์
ปัจจัยด้านกรรมพันธุ์ เป็นสาเหตุจากการถ่ายทอดโรคจากพ่อ และแม่ เป็นโรคความดันโลหิตสูง โอกาสที่
ถ่ายทอดถึงลูก หากทั้งสองคนป่วยเหมือนกันประมาณร้อยละ 44-73 หากป่วยเพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งป่วย
โอกาสที่ลูกจะป่วยเป็นความดันโลหิตสูงร้อยละ 16-57 แต่ถ้าทั้งพ่อและแม่ไม่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
โอกาสที่ลูกจะป่วยเป็นโรค ประมาณ ร้อยละ 4-18 หากเป็นคู่ฝาแฝดพบว่าปัจจัยทางกรรมพันธุ์ทาให้มีโอกาส
เกิดโรคความดันโลหิต สูงประมาณร้อยละ 50 ส่วนด้านเชื้อชาติ เพศ และวัยที่เพิ่มขึ้น พบว่า คนผิวดามี
โอกาสป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง มากกว่าคนผิวขาว 2 เท่า ซึ่งชาวอเมริกันผิวดาจะมีความดันโลหิตสูงกว่า
ชาวอเมริกันผิวขาว พบว่าผู้หญิงอเมริกันผิวดาวัย 18-74 ปี เป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 39 ส่วนหญิง
อเมริกันผิวขาวเป็นโรคความดันโลหิตสูงเพียง ร้อยละ 25
2. ปัจจัยด้านสรีรวิทยา
• ภาวะอ้วนหรือน้าหนักเกิน
ภาวะอ้วนมีความสัมพันธ์กับความดันโลหิต คือ ผู้ที่มีน้าหนักสูงขึ้นจะมีระดับความดันโลหิตสูงขึ้น และเมื่อ
น้าหนักตัวลด ความดันโลหิตก็จะลดลง และมักพบว่า คนอ้วนประมาณร้อยละ 46 จะพบเป็นโรคความดัน
โลหิตสูงด้วย นอกจากนี้ ยังพบว่าในผู้ป่วยที่เริ่มมีความดันโลหิตสูงเป็นครั้งแรกประมาณ ร้อยละ 70 มีสาเหตุ
มาจากความอ้วน น้าหนักตัวมีผลต่อความดันโลหิตแตกต่างกันไปตามเพศ อายุ เชื้อชาติ จากการสารวจ
สุขภาพของชาวอเมริกันพบว่า ผู้หญิงที่อ้วนจะมีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าผู้หญิงที่ไม่อ้วน 4 เท่า
ในขณะที่ผู้ชายอ้วนมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับผู้ชายที่ไม่อ้วนและ ผู้ชายที่อ้วนจะมีความเสี่ยงของการเกิด
โรคความดันโลหิตสูงมากกว่าผู้หญิง
• ภาวะอินซูลินในเลือดสูง
คนอ้วนที่เป็นโรคความดันโลหิตมักพบปริมาณอินซูลินในเลือดสูง ซึ่งภาวะอินซูลินสามารถบ่งบอกความ
สอดคล้องกับการเกิดโรคความดันโลหิตสูงได้
• ฮอร์โมนเอสโตรเจน
เป็นฮอร์โมนเพศหญิงที่พบในยาเม็ดคุมกาเนิด หรือแพทย์สั่งให้รับประทานเมื่อผู้นั้นอยู่ในภาวะหมด
ประจาเดือน ซึ่งฮอร์โมนเอสโตรเจนมีฤทธิ์ทาให้ร่างกายกักเก็บเกลือไว้เหมือนกับการรับประทานเกลือมาก
นั่นเอง
3. ปัจจัยทางด้านอาหาร (Dietary Risk Ractors)
• การได้รับโซเดียม
จากการศึกษา พบว่า ปริมาณเกลือโซเดียมที่บริโภคมีความสัมพันธ์กับความดันโลหิตที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งใน
คนปกติและผู้ที่มีความดันโลหิตสูง เนื่องจาก โซเดียมมีคุณสมบัติดูดน้า ทาให้ผนังหลอดเลือดแดงบวม ทาให้
ต้องเพิ่มปริมาณเลือดและความต้านทานในหลอดเลือดแดงมากขึ้น ในประเทศด้อยพัฒนาซึ่งได้รับโซเดียมเป็น
จานวนน้อย คือ 1,600 มิลลิกรัม/วัน เปรียบเทียบกับชาวอเมริกันซึ่งได้รับ 4,000-5,800 มิลลิกรัม/วัน พบว่า
ประเทศด้อยพัฒนา มีภาวะความดันโลหิตสูงน้อยกว่าประเทศพัฒนามาก และความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น ตาม
อายุที่เพิ่มขึ้น สรุปว่าระดับความดันโลหิตมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการกินเค็ม
• การได้รับแคลเซียม
แคลเซียมนอกจากจะช่วยลดความดันโลหิตแล้วยังช่วยป้องกันไม่ให้เกิดความดันโลหิตสูง ปริมาณที่ร่างกายควร
ได้รับ คือ 1,500-3,000 มิลลิกรัม/วัน จากการศึกษาวิจัยทั้งในคนปกติ และผู้ที่มีความดันโลหิตสูง พบว่า
ระดับแคลเซี่ยมที่ลดลงจะสัมพันธ์กับความดันโลหิตที่สูงขึ้น และหากรับประทานแคลเซียมในปริมาณที่น้อย
ร่วมกับการรับประทานอาหารเค็มจะเสริมให้ระดับความดันโลหิตสูงขึ้น
• การได้รับโปแตสเซียม
ร่างกายต้องการโปแตสเซียม 2-6 กรัม/วัน เมื่อร่างกายได้รับโปแตสเซียมเข้าไปจะขยายหลอดเลือดโดยตรง
เพิ่มการสูญเสียน้าตาล และโซเดียมจากร่างกาย ถ้าร่างกายได้รับโซเดียมจานวนมาก ควรเพิ่มโปแตสเซียมด้วย
เพื่อไม่ให้ระดับความดันโลหิตเพิ่มขึ้น การรับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมปริมาณสูงจะช่วยป้องกันการเกิด
โรคความดันโลหิตสูงได้
• อาหารที่มีไขมัน
การรับประทานอาหารไขมันประเภทอิ่มตัว เช่น ไขมันจากสัตว์ ทาให้มีการสะสมของไขมันในเลือด ทาให้การ
ไหลเวียนของเลือดได้น้อย และเกิดความดันโลหิตสูงขึ้น ซึ่งแตกต่างจากน้ามันพืชที่มีไขมันไม่อิ่มตัว เมื่อ
รับประทานจะมีผลต่อการขจัดโซเดียมของไต และทาให้กล้ามเนื้อคลายตัว
• น้าตาลทรายขาว
การเสื่อมสภาพการทางานของไต อาจมีสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคน้าตาลทรายจานวนมาก และติดต่อกัน
เป็นเวลานาน จนทาให้ไตทางานหนัก และเสื่อมสภาพเร็วขึ้น จนเป็นสาเหตุนาไปสู่โรคความดันโลหิตสูงได้
4. ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
• ปริมาณแอลกอฮอล์ที่ร่างกายได้รับ
ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงประมาณกว่าร้อยละ 30 มักมีการดื่มสุรา และจากการศึกษา พบว่า คนที่ดื่ม
แอลกอฮอล์ 3 แก้ว/วัน จะมีระดับความดัน Systolic เพิ่มขึ้น 3-4 มิลลิเมตรปรอท และระดับ Diastolic
เพิ่มขึ้น 1-2 มิลลิเมตรปรอท
• ขาดการออกกาลังกาย
การออกกาลังกาย เช่น การวิ่งเป็นระยะทางไกลๆ หรือ Aerobic Exercise สามารถป้องกันการเกิดความดัน
โลหิตสูงในกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรค
• ความเครียด
ความเครียดมีผลโดยตรงต่อการทางานของระบบประสาทซิมพาเทติก ที่มีผลกระตุ้นการหลั่งสาร
Epinephrine จากต่อมหมวกไต และ Norepineprine จากปลายประสาท ทาให้มีการบีบตัวของหลอดเลือด
จนเกิดความดันโลหิตสูงขึ้น ทั้งนี้ ภาวะความเครียดของแต่ละบุคคลจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างกัน เช่น
ตารวจจรารจรมักมีความเสี่ยงในการเกิดโรคความดันโลหิตสูงกว่าประชาชนทั่วไปมากกว่า 5 เท่า และกลุ่มผู้
ปฏิบัติธรรม มักมีความดันโลหิตต่ากว่าประชาชนทั่วไป
• การสูบบุหรี่
บุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่ทาให้เกิดความดันโลหิตสูง และเร่งการเกิดอาการ เพราะการสูบบุหรี่ทาให้ร่างกาย
ปล่อยสารคาทีคอลลามีน (Catecholamine) เข้าสู่ร่างกายมากขึ้น ทาให้หัวใจเต้นแรง และเร็ว ทาให้เกิดภาวะ
ความดันโลหิตสูงขึ้น
2.6 ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง
1. ผลต่อหัวใจ
มักมีผลทาให้เกิดภาวะล้มเหลวหรือเส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบตัน หรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ทาให้หัวใจวายได้
นอกจากนี้ ความดันโลหิตสูงทาให้หัวใจห้องล่างซ้ายโตทาให้ไม่สามารถรับเลือด จากปอดได้ตามปกติ เกิดเลือด
คั่งในปอด ถุงลมในปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่ทาให้รับออกซิเจนได้น้อยลง ถ้าไม่ได้รับการรักษา จะทาให้หัวใจ
ห้องล่างขวาต้องทางานหนักมาก เกิดอาการบวมทั้งตัว และหัวใจห้องล่างขวาวาย
2. หลอดเลือดแดง
ภาวะความดันโลหิตสูงมีผลทาให้ผนังหลอดเลือดแดงหนา และแข็งตัว (Atherosclerosis) มีการเร่งการเกาะ
ตัวของไขมันที่ผนังหลอดเลือด ทาให้หลอดเลือดขาดความยืดหยุ่น เป็นผลก่อให้เกิดภาวะหลอดเลือดแดงตีบ
ทาให้เลือดไหลผ่านได้น้อย อวัยวะส่วนปลายได้รับเลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอหรืออาจเกิดการอุดตันของหลอด
เลือด หลอดเลือดแดงโป่งพอ งและแตกได้ง่าย
3. ผลต่อไต
ไตนอกจากจะทาหน้าที่ขับของเสียแล้ว ยังมีหน้าที่ผลิตสารปรับความดันโลหิตที่ช่วยรักษาความดันให้เป็นปกติ
เช่น เรนิน (Renin) และพรอสตาแกลนดิน (Prostaglandins) ผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูงจะทาให้หลอด
เลือดแดงบริเวณไตมีผนังหนาขึ้น หลอดเลือดตีบ ขรุขระ เลือดมาเลี้ยงไตไม่เพียงพอ
ผู้ป่วยมักมีอาการบวมเหนื่อยง่าย ถ่ายปัสสาวะน้อยลง และในกรณีที่เลือดไปเลี้ยงไตไม่เพียงพอจะทาให้เกิด
อาการไตวายได้
4. ผลต่อสมอง
ความดันโลหิตที่สูงอยู่เป็นเวลานาน จะส่งผลต่อแรงดัันของหลอดเลือดในสมองเพิ่มขึ้นด้วย และหากเป็นหนัก
หรือเป็นเวลานานก็มักจะทาให้ผนังเลือดเกิดการโป่งพอง หลอดเลือดไม่มีความยืดหยุ่น และแตกง่าย จนเกิด
เลือดออกในสมอง ทาให้เนื้อสมองตาย และเป็นอัมพาตหรือเสียชีวิต
5. ผลต่อตา
โรคความดันโลหิตสูง มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเยื่อแก้วตา หลอดเลือดฝอยบริเวณตาบีบตัวมากขึ้น มี
เลือดออกในตา และประสาทตาเสื่อม ทาให้ตาจะมัวลงเรื่อยๆ และตาบอดได้ แบ่งความรุนแรงออกเป็น 4
ระดับ คือ
• ระดับ 1 หลอดเลือดแดงที่จอตาจะตีบและแข็งตัวลงเล็กน้อย
• ระดับ 2 หลอดเลือดแดงที่จอตามีการแข็งตัว และมีการหดมากขึ้น การไหลเวียนเลือดไม่ดี ทาให้เกิดหลอด
เลือดอุดตัน และเลือดไม่สามารถไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
• ระดับ 3 มีอาการบวมของจอตาหรือมีของเหลวข้นๆออกมา โดยเฉพาะบริเวณเลือดออก หลอดเลือดแดงใน
ม่านตาหดเกร็ง
• ระดับ 4 มีลักษณะเช่นเดียวกับระดับ 3 แต่มีการบวมที่จุดรวมของเส้นเลือด และประสาท ซึ่งเกิดในผู้ป่วย
ความดันโลหิตสูงวิกฤติ
2.7 การรักษาโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ
1. การรักษาแบบไม่ใช้ยา (Nonpharmacologic Therapy)
1. การลดน้าหนักตัว
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทุกรายที่มีน้าหนักเกินกว่าน้าหนักมาตรฐาน (มากกว่าร้อยละ 10 ของน้าหนัก
มาตรฐาน) ควรมีการลดน้าหนัก ด้วยการควบคุมอาหาร และออกกาลังกาย โดยเฉพาะในรายที่มีระดับความ
ดันโลหิตสูงไม่มาก ควรเริ่มต้นการรักษา โดยไม่ใช้ยา และลดน้าหนักตัวก่อนอย่างน้อย 3-6 เดือน ก่อนให้ยาลด
ความดันโลหิตสูง
2. ลดการดื่มแอลกอฮอล์
การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีส่วนสาคัญในการเพิ่มระดับความดันโลหิต และเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้
ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยาที่รักษาอยู่ ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ดื่มสุรามากจะเสี่ยงต่อโรคอัมพาตมากขึ้น
ด้วย
3. การเลิกสูบบุหรี่
บุหรี่เป็นปัจจัยเสริมที่เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน โดยเฉพาะโรคระบบหัวใจ และหลอดเลือด รวมถึงเพิ่ม
ความเสี่ยงต่อการเกิดอัมพาตมากขึ้น
4. การออกกาลังกาย
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควรมีการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ซึ่งจะช่วยให้ความดันโลหิตลดลง ในผู้ป่วย
ที่มีความดันโลหิตสูงระดับน้อยถึงปานกลาง หากออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ จะสามารถลดความดันโลหิตตัว
บนหรือซีสโตลิกได้ประมาณ 10 มิลลิเมตรปรอท รวมทั้งลดค่าความดันโลหิตตัวล่างหรือความดันไอแอสโตลิ
กด้วย การออกกาลังกายที่ควรปฏิบัติ คือ การถีบจักรยาน การวิ่ง การว่ายน้า การเดินเร็วๆ ส่วนการออกกาลัง
กายที่หนัก เช่น การยกน้าหนัก หรือการออกแรงมากๆ ไม่ควรทา เพราะทาให้ระดับความดันโลหิตสูงขึ้น
ระยะเวลาที่ออกกาลังกาย 20-60 นาที และควรทาประมาณ 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์
5. การผ่อนคลายความเครียด
การระงับหรือลดความเครียดของผู้ป่วยโรค ความดัน โลหิตสูง เป็นผลดีทาให้จิตใจผ่อนคลายและเป็นผลดีของ
การควบคุมรักษาโรคความดันโลหิตสูง เช่น การออกกาลังกาย การทาสมาธิ การทาโยคะ
• การฝึกหายใจ โดยการฝึกหายใจให้ลึก ช้าๆ และสม่าเสมอ โดยใช้หน้าท้อง และกะบังลมพองออกขณะ
หายใจเข้า และยุบตัวขณะหายใจออก
• การฝึกสมาธิ ด้วยการพิจารณาจิตต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ลมหายใจเข้าออก การกาหนดรู้ตามอิริยาบถของ
ร่างกาย
• การฝึกคลายกล้ามเนื้อ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
– ประเภทที่ 1 ฝึกโดยการเกร็งให้เต็มที่ แล้วคลายออก โดยเริ่มที่เท้าทั้ง2 ข้าง ก่อนแล้วเลื่อนขึ้นมาตามส่วน
ของร่างกายที่ละส่วน
– ประเภท ที่ 2 ฝึกโดยผ่อนคลายกล้ามเนื้อโดยไม่ต้องเกร็ง แต่ใช้ความรู้สึกหรือจิตสัมผัส เพ่งแต่ละส่วนของ
ร่างกายให้เกิดการผ่อนคลาย
6. การบริโภคอาหาร
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควรจากัด ปริมาณเกลือในอาหาร โดยการลดอาหารเค็ม โดยเฉพาะผู้ป่วยที่เป็น
ความดันโลหิตสูงเฉพาะซีสโตลิคการจากัดอาหารเค็มจะ ช่วยลด ความดันโลหิตได้ นอกจากนี้ควรลดอาหารที่มี
ไขมันอิ่มตัว เพื่อลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือด รวมทั้งรับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมสูง โดยเฉพาะ
อาหารเส้นใยกากใยสูง เช่น ข้าวโอ๊ต ผลไม้ และผักสด ผลไม้ควรรับประทาน 200 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง
เพราะการรับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมสูงจะช่วยให้ร่างกายขับโซเดียม สามารถลดไขมันและการ
เปลี่ยนแปลงไขมันในเลือด ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควรรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงทุกวัน ประมาณ
1-2 กรัมต่อวัน เช่น นมสดทั้งที่ไขมันครบส่วน ไขมันน้อย รวมทั้งชนิดขาดไขมัน เพราะแคลเซียมไปขัดขวางผล
ของโซเดียมที่มีต่อความดันโลหิต จึงทาให้ความดันโลหิตลดลง จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยที่ความดันโลหิตสูง
ชนิดไม่รุนแรง โดยการให้หยุดรับประทานยาและให้การรักษาด้วยอาหารแทนการรักษาด้วยยา เมื่อศึกษาเป็น
เวลา 4 ปี พบว่า ผู้ป่วยร้อยละ 39 มีความดันโลหิตปกติ
อาหารที่มีโซเดียมมาก
การจากัดปริมาณโซเดียมที่ได้รับจากอาหาร เป็นส่วนสาคัญสาหรับลดภาวะความดันโลหิต ได้แก่
• อาหารที่ใช้เครื่องปรุงรส เช่น น้าปลา ซอสหอยนางรม น้าซีอิ้ว เต้าเจี้ยว น้าพริก น้าบูดู ขนมขบเคี้ยวที่มีรส
เค็ม เช่น ข้าวเกรียบกุ้ง ข้าวเกรียบปลาต่างๆ อาหารทอด เช่น ไก่ทอด เนื้อทอด อาหารโรยเกลือ เช่น ถั่วลิสง
คั่ว ถั่วปากอ้าคั่ว เป็นต้น
• อาหารที่มีการถนอมอาหารด้วยเกลือ เช่น กุ้งแห้ง ปลาแห้ง หมูหรือเนื้อแดดเดียว ผลไม้ดอง ผักดอง เป็น
ต้น เพราะอาหารเหล่านี้ มักใช้เกลือปริมาณสูงสาหรับป้องกัน และฆ่าเชื้อไม่ให้อาหารเน่าเปื่อย
• สารเคมีปรุงรส ได้แก่ ผงชูรส เพราะสารเหล่านี้จะมีส่วนประกอบของโซเดียมรวมอยู่ด้วย
• อาหารธรรมชาติที่มีโซเดียมสูง เช่น ปลาทะเล สาหร่ายทะเล เป็นต้น
• ยาบางชนิดที่มีโซเดียม เช่น ยาลดกรด น้ายาบ้วนปาก ยาระบาย เป็นต้น ซึ่งมักมีส่วนผสมของโซเดียมไบ
คาร์บอเนต
ระดับการจากัดโซเดียม
1. จากัดอย่างเบาสุด คือ รับปริมาณน้อยกว่าความต้องการของร่างกายที่ควรได้รับ คือ วันละ 2500 มิลลิกรัม
2. จากัดเพียงเล็กน้อย คือ ได้รับวันละ 1500-2000 มิลลิกรัม
3. จากัดปานกลาง คือ ได้รับวันละ 1000 มิลลิกรัม
4. จากัดอย่างมาก คือ ได้รับวันละ 500 มิลลิกรัม
5. จากัดมากที่สุด คือ ได้รับวันละ 250 มิลลิกรัม
อาหารที่มีน้าตาล และไขมัน หรือให้พลังงานสูง
• อาหารที่มีไขมันหรือเนื้อสัตว์ติดมัน เช่น ข้าวขาหมู เป็ดพะโล้ หนังหมูย่าง ไก่ทอด ไข่เจียว ข้าวเกรียบ เป็น
ต้น
• อาหารที่มีน้าตาลมาก เช่น ขนมหวาน และขมปัง ต่างๆ
• เครื่องดื่มที่มีน้าตาลมาก เช่น น้าตาลสด น้าอ้อยสด เป็นต้น
• เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ได้แก่ เหล้า เบียร์ ไวน์
• อาหารที่ใส่กะทิ เช่น แกงมัสมั่น แกงเทโพ เป็นต้น
2. การรักษาโดยการใช้ยา (pharmacologic Therapy)
การรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงโดยการใช้ยา แพทย์จะใช้ก็ต่อเมื่อรักษาแบบไม่ใช้ยาแล้วระดับความดันโลหิต
ไม่ลดลงในผู้ ป่วยความดันโลหิตสูงระดับ 1 และระดับ 2 ส่วนในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงระดับรุนแรงหรือระดับ
3 แพทย์จะรักษาโดยการใช้ยาทันที
1. ยาขับปัสสาวะ (Diuretics)
ยาที่ใช้ ได้แก่ furosemide, spironolactone, hydrochlorothiazide เป็นต้น ออกฤทธิ์ลดความดันโลหิต
โดยลดการทางานของไตในการดูดซึมเกลือโซเดียม และน้าช่วยลดอัตราการเสียชีวิต และภาวะแทรกซ้อนจาก
โรคความดันโลหิตสูงได้ เป็นยาที่ใช้มานาน มีราคาถูก และใช้ได้ผลดีในการควบคุมระดับความดันโลหิต อาการ
ข้างเคียงที่พบ คือ ทาให้โปรแตสเซียมในเลือดต่า แคลเซียมในเลือดสูง ไขมันในเลือดสูงมียูริกสูงในเลือด ทาให้
เกิดโรคเก๊าท์ และน้าตาลในเลือดสูง เกิดความผิดปกติในเรื่องเพศสัมพันธ์ และทาให้อ่อนเพลีย
2. ยากั้นเบต้า (Beta Blockres)
ยาที่ใช้ ได้แก่ atenolol, betaxolol, propranolol เป็นต้น โดยจะออกฤทธิ์หยุดการตอบสนองของระบบ
ประสาทซิมพาเทธิค ทาให้ลดอัตราการเต้นของหัวใจ และปริมาณเลือดที่ไหลออกจากหัวใจ มีการออกฤทธิ์ลด
ความดันโลหิตทันที แต่กว่าจะได้ผลเต็มที่อาจใช้เวลานานเป็นสัปดาห์
อาการข้างเคียง คือ หลอดเลือดตีบจากการหดรัด ทาให้หายใจลาบาก อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ถ้ามีหัวใจวาย
อยู่ด้วยจาทาให้ภาวะหัวใจวายรุนแรงขึ้น ทาให้มีน้าตาลในเลือดต่า ไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ผู้ป่วยที่ใช้
ยาชนิดนี้จะทนต่อการออกกาลังกายได้น้อย
3. ยากั้นแอลฟา (Alpha Blokers)
ออกฤทธิ์ต้านแอลฟา – 1 รีเซฟเตอร์ของระบบประสาท Sympathetic ซึ่งอยู่ที่ผนังของหลอดเลือด มีผลห้าม
การหดตัวของหลอดเลือดทาให้ลดแรงต้านของหลอดเลือดแดง ยานี้ไม่มีผลต่อระดับน้าตาล และไขมันในเลือด
อาการข้างเคียงของยา คือ มึนงง เวียนศรีษะ ปวดศรีษะ คลื่นใส้อาเจียน ใจสั่น
4. ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
ยาที่ใช้ ได้แก่ hydralazine, minoxidil เป็นต้น โดยจะออกฤทธิ์โดยตรงต่อกล้ามเนื้อเรียบที่อยู่รอบ ๆ เส้น
เลือด ทาให้กล้ามเนื้อคลายตัว และหลอดเลือดขยายตัว จึงลดแรงต้านทานภายในผนังของหลอดเลือด มียา
บางชนิดในกลุ่มนี้ที่สามารถให้ทางหลอดเลือดดาได้ มีประสิทธิภาพสูง แต่ต้องใช้อย่างระมัดระวังเพราะอาจ
เกิดภาวะช็อคได้
5. ยาต้านแคลเซียม (Calcium Antagonist)
ยาที่ใช้ ได้แก่ verapamil, mibefradi เป็นต้น เป็นยารักษาหลอดเลือดตีบใช้กับผู้ป่วยโรคไต ยานี้จะออกฤทธิ์
ทางอ้อม โดยการห้ามแคลเซียมไม่ให้เข้าเซลล์ ทาให้ลดปริมาณแคลเซียมในเซลล์รอบเส้นเลือด เกิดกล้ามเนื้อ
คลายตัว หลอดเลือดขยายตัว ออกฤทธิ์ได้นาน 12-24 ชั่วโมง อาการข้างเคียงของยา คือ ปวดศรีษะหน้าแดง
มึนงง หัวใจเต้นเร็ว กระเพาะอาหารทางานผิดปกติ ขาบวม
6. ยาต้านเอนไซม์ angiotensin (ACEI-Angiotensin)
ยาที่ใช้ ได้แก่ captopril, enalapril, lisinopril เป็นต้น โดยจะออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ ACE เพื่อลดระดับของ
Angiotensin II ที่เป็นสารสาคัญทาให้หลอดเลือดหดตัว และหนาตัวเพิ่มขึ้น มีผลทาให้ลดแรงต้านทานใน
หลอดเลือด ยานี้ เป็นยาที่มีประสิทธิ์ภาพสูง ออกฤทธิ์ค่อนข้างสั้น และใช้ได้เพียงวันละ 1 ครั้ง อาการข้างเคียง
คือ ไอ ผื่นขึ้น โปรแตสเซียมในเลือดสูง
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
แนวทางดาเนินงาน
1. ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง
2. รวมรวบข้อมูลที่น่าเชื่อถือโดยเปรียบเทียบจากหลายๆที่ พร้อมให้แหล่งที่มา
3. นาข้อมูลมาเรียบเรียงใน Microsoft Word
4. นาข้อมูลใส่ใน Slide Share
5. นาข้อมูลลงในบล็อกของตน
6. สรุปข้อมูลที่น่าสนใจลงใน Microsoft Powerpoint
7. นาเสนอให้เพื่อนและคุณครูในชั้นเรียน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. อินเตอร์เน็ต
3. โปรแกรม Microsoft Word
4. โปรแกรม Microsoft Powerpoint
สถานที่ดาเนินงาน
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน น.ส. สิริ
กันยาการิยะ
น.ส. สิรภัทร
ยานะ
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล น.ส. สิริ
กันยาการิยะ
น.ส. สิรภัทร
ยานะ
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน น.ส. สิริ
กันยาการิยะ
น.ส. สิรภัทร
ยานะ
5 ปรับปรุงทดสอบ น.ส. สิริ
กันยาการิยะ
น.ส. สิรภัทร
ยานะ
6 การทาเอกสารรายงาน น.ส. สิริ
กันยาการิยะ
น.ส. สิรภัทร
ยานะ
7 ประเมินผลงาน น.ส. สิริ
กันยาการิยะ
น.ส. สิรภัทร
ยานะ
8 นาเสนอโครงงาน น.ส. สิริ
กันยาการิยะ
น.ส. สิรภัทร
ยานะ
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
1. สามารถป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
2. สามารถดูแลผู้ที่ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้ถูกวิธี
3. ผู้ศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง
การนาไปใช้
1. นาไปใช้เผยแพร่ให้คนที่สนใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง
2. นาไปเป็นสื่อการสอน
3. นาไปให้ความรู้เกี่ยวกับคนใกล้ชิดหรือแม้จะเป็นคนที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5
สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
ผลการดาเนินโครงงาน
จากการได้จัดทาโครงงาน เรื่อง โรคความดันโลหิตสูง ทาให้คณะผู้จัดทามีความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
ความดันโลหิตสูง เกี่ยวกับการป้องกัน การรักษา การดูแลตัวเอง ไปจนถึงยาที่ผู้ป่วยควรได้รับ นอกจากนี้ยัง
สามารถนาไปเผยแพร่ในรูปแบบสื่อการสอนต่างๆ เพื่อให้ประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจหรือผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดัน
โลหิตสูง ให้เข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงมากยิ่งขึ้น
ปัญหาและอุปสรรค
1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตไม่เสถียร
2. เปิดไฟล์ที่เครื่องอื่นแล้วFONTไม่ขึ้นเพราะไม่ได้ฝังFONT
3. แหล่งข้อมูลไม่น่าเชื่อถือ
แหล่งอ้างอิง
- โรคความดันโลหิตสูง ค้นคว้าจากเว็บไซต์
https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/Hypertension/index.h
tm ค้นคว้าวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560
- โรคความดันโลหิตสูง ค้นคว้าจากเว็บไซต์
http://thaihealthlife.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B
8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%
E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8
%87-2/ ค้นคว้าวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560
- อาการของโรคความดันโลหิตสูง ค้นคว้าจากเว็บไซต์
https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/Hypertension/symto
m.html ค้นคว้าวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560
- สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง ค้นคว้าจากเว็บไซต์
https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/Hypertension/cause.
html ค้นคว้าวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560

More Related Content

What's hot

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆRujira Meechin
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกแบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกjustymew
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์krunueng1
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 

What's hot (20)

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจแบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจ
แบบสอบถาม ความพึงพอใจตำรวจ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกแบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
รูปเล่มโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 

โครงงานโรคความดันโลหิตสูงงง

  • 1. โครงงาน โรคความดันโลหิตสูง นางสาว สิริกันยา การิยะ เลขที่ 14 นางสาว สิรภัทร ยานะ เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/7 โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. สารบัญ เรื่อง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………1 บทคัดย่อ ……………………………………………………………………………………….…………………………………………………3 กิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………………………………………………………………4 บทที่ 1………………………………………………………………………………………………………………………………………………5 บทที่ 2………………………………………………………………………………………………………………………………………………9 บทที่ 3……………………………………………………………………………………………………………………………………………21 บทที่ 4…………………………………………………………………………………………………….………………………………………24 บทที่ 5………………………………………………………………………………………………………………….…………………………25 บรรณานุกรม…………………………………………………………………….……………………………………………………………..26
  • 3. ชื่อ : นางสาว สิริกันยา การิยะ เลขที่ 14 นางสาว สิรภัทร ยานะ เลขที่ 30 ชื่อเรื่อง : โรคความดันโลหิตสูง รายวิชา : การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ : การงานอาชีพและเทคโนโลยี ครูที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ปีการศึกษา : 2/2560 บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง โรคความดันโลหิตสูง มีจุดมุ่งหมายเพื่อชี้ให้เห็นสาเหตุ ปัญหา อาการ และวิธีการรักษา ของโรคความดันโลหิตสูง เพื่อให้ทราบถึงการดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ละให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับ โรคความดันโลหิตสูง เพื่อให้นาไปเผยแพร่ให้คนทั่วไปให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มมาก ยิ่งขึ้น โดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเผยแพร่ข้อมูล คือ เว็บไซต์สาหรับเผยแพร่ข้อมูลที่ได้ศึกษา Powerpointในการนาเสนอโครงงานและรูปเล่มโครงงาน ส่วนแนวทางการดาเนินงานจะเริ่มตั้งแต่กาหนด หัวข้อที่ต้องการจะศึกษา รวบรวมข้อมูลที่ต้องการจะศึกษา ทาโครงร่างของโครงงานที่ทาการศึกษา เริ่ม ทาการศึกษาในหัวข้อที่ต้องการ รวบรวมข้อมูลที่ได้ทาการศึกษา แล้วสุดท้ายนี้ทาเป็นโครงงานที่สมบูรณ์ที่สุด หลังจากการทาโครงงานได้สาเร็จลุล่วงแล้วก็ได้สรุปผลการดาเนินงาน ดังนี้ ทาให้คณะผู้จัดทาได้สนใจเกี่ยวกับ เรื่องโรคความดันโลหิตสูง เพิ่มเติมสามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันโดยเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับรู้แล้วยัง สามารถปรับปรุงลักษณะการรับประทาน ออกกาลังกายเพื่อลดเหตุผลการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่องโรคความดันโลหิตสูง ได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีด้วยความกรุณาของอาจารย์ที่ปรึกษา โครงงาน ได้แก่ ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แนะในการศึกษาค้นคว้า แนะนาขั้นตอน และวิธีจัดทาโครงงานจนสาเร็จลุล่วงด้วย คณะผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบคุณบิดา มารดาที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียน และสมาชิกในกลุ่มที่ให้ความร่วมมือ อย่างสุดความสามารถในการทาโครงงานครั้งนี้ จนประสบความสาเร็จ
  • 5. บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) : โรคความดันโลหิตสูง ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) : Hypertension ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาการดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โรคความดันโลหิตสูง (อังกฤษ: hypertension) เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ผู้ป่วยมีความดันเลือดใน หลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา ความดันเลือดประกอบด้วยสองค่า ได้แก่ ความดันช่วงหัวใจบีบและ ความดันช่วงหัวใจคลาย ซึ่งเป็นความดันสูงสุดและต่าสุดในระบบหลอดเลือดแดงตามลาดับ ความดันช่วงหัวใจ บีบเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากที่สุด ความดันช่วงหัวใจคลายเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวมาก ที่สุดก่อนการบีบตัวครั้งถัดไป ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100–140 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจบีบ และ 60–90 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ความดันโลหิตสูงหมายถึง ความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอทตลอดเวลา ส่วนในเด็กจะใช้ตัวเลขต่างไป ปกติความดันโลหิตสูงไม่ก่อให้เกิดอาการในทีแรก แต่ความดันโลหิตสูงต่อเนื่องเมื่อผ่านไปเป็นปัจจัย เสี่ยงสาคัญของโรคหัวใจเหตุความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ท่อเลือดแดงโป่ง พอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และโรคไตเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ (ไม่ทราบสาเหตุ) และความดันโลหิตสูงแบบ ทุติยภูมิ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90–95 จัดเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ หมายถึงมีความดันโลหิตสูงโดยไม่ มีเหตุพื้นเดิมชัดเจน ที่เหลืออีกร้อยละ 5–10 จัดเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิมักมีสาเหตุที่สามารถบอก ได้ เช่น โรคไตเรื้อรัง ท่อเลือดแดงหรือหลอดเลือดแดงไตตีบแคบ หรือโรคของต่อมไร้ท่อ เช่น แอลโดสเตอโรน คอร์ติซอลหรือแคทิโคลามีนเกิน
  • 6. หลักการและทฤษฎี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมักไม่มีอาการใดๆ ส่วนใหญ่มักตรวจพบจากการตรวจคัดโรค หรือเมื่อมาพบ แพทย์ด้วยปัญหาอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง เช่น ตรวจโรคทั่วไป ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจานวนหนึ่งมักบอกว่ามีอาการ ปวดศีรษะโดยเฉพาะบริเวณท้ายทอยในช่วงเช้า เวียนศีรษะ รู้สึกหมุน มีเสียงหึ่ง ๆ ในหู หน้ามืดหรือเป็น ลม อย่างไรก็ตามอาการดังกล่าวอาจสัมพันธ์กับความวิตกกังวลมากกว่าจากความดันเลือดสูงเอง ในการตรวจร่างกาย ผู้ความดันโลหิตสูงอาจสัมพันธ์กับการมีการเปลี่ยนแปลงในก้นตาเห็นได้จากการ ส่องตรวจในตา (ophthalmoscopy) ความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงที่ตรงแบบของโรคจอตาเหตุความดัน โลหิตสูงมีการแบ่งเกรดตั้งแต่ 1–4 เกรด 1 และ 2 อาจแยกได้ยาก ความรุนแรงของโรคจอตาสัมพันธ์อย่าง หยาบ ๆ กับระยะเวลา ความดัน ความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ หมายถึง ความดันโลหิตสูงที่สามารถระบุสาเหตุที่ทาให้เกิดได้ เช่น โรคไตหรือโรคต่อมไร้ท่อ ผู้ป่วยจะ มีอาการและอาการแสดงบางอย่างที่บ่งบอกว่าเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ เช่น สงสัยกลุ่มอาการคุช ชิง (Cushing's syndrome) หากมีอาการอ้วนเฉพาะลาตัวแต่แขนขาลีบ (truncal obesity)ความไม่ทน กลูโคส (glucose intolerance) หน้าบวมกลม (moon facies) ไขมันสะสมเป็นหนอกที่หลังและคอ (buffalo hump) และริ้วลายสีม่วงที่ท้อง (purple striae) ] ภาวะต่อมไทรอยด์ทางานเกินมักเป็นสาเหตุของน้าหนักลด แต่มีความอยากอาหารเพิ่ม อัตราหัวใจเต้นเร็ว ตาโปนและอาการสั่น หลอดเลือดแดงไตตีบ (RAS) อาจสัมพันธ์ กับเสียงบรุยต์ (bruit) ที่ท้องเฉพาะที่ด้านซ้ายหรือขวาของแนวกลาง (RAS ข้างเดียว) หรือทั้งสองตาแหน่ง (RAS สองข้าง) ท่อเลือดแดงแคบ (aortic coarctation) บ่อยครั้งก่อให้เกิดความดันเลือดลดลงในขาเมื่อเทียบ กับแขนและ/หรือไม่มีชีพจรหลอดเลือดแดงต้นขาหรือมีแต่ช้า ฟีโอโครโมไซโตมา (pheochromocytoma) อาจเป็นสาเหตุของช่วงความดันโลหิตสูงเฉียบพพลันร่วมกับปวดศีรษะ ใจสั่น ดูซีดและมีเหงื่อออกมาก ความดันโลหิตสูงวิกฤต ภาวะที่ความดันเลือดขึ้นสูงมาก(hypertensive crisis) ซึ่งที่ระดับความดันเลือดดังกล่าวมีความเสี่ยง สูงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ ผู้ป่วยที่ความดันโลหิตสูงระดับนี้อาจไม่มีอาการ หรือมีรายงานว่าปวดศีรษะ (ราวร้อยละ 22) และเวียนศีรษะมากกว่าประชากรทั่วไป อาการอื่นๆ ที่เกิดร่วมกับภาวะความดันโลหิตสูง วิกฤต เช่น ตาพร่ามองภาพไม่ชัด หรือหายใจเหนื่อยหอบจากหัวใจล้มเหลว หรือรู้สึกไม่สบายดัวเนื่องจากไต วาย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงวิกฤตส่วนใหญ่ทราบอยู่แล้วว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงแต่มีสิ่งกระตุ้นเข้ามาทาให้
  • 7. ความดันเลือดสูงขึ้นทันทีความดันโลหิตสูงวิกฤตแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive emergency) และความดันโลหิตสูงเร่งด่วน (hypertensive urgency) ซึ่งต่างกันตรงที่มี อาการแสดงของอวัยวะถูกทาลายหรือไม่ ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive emergency) เป็นภาวะที่วินิจฉัยเมื่อมีความดันโลหิตสูง อย่างรุนแรงจนอวัยวะตั้งแต่ 1 อย่างขึ้นไปถูกทาลาย ตัวอย่างเช่น โรคสมองจากความดันโลหิต สูง (hypertensive encephalopathy) เกิดจากสมองบวมและเสียการทางาน จะมีอาการปวดศีรษะและ ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงเช่น ซึม สับสน อาการแสดงของอวัยวะเป้าหมายถูกทาลายที่ตา ได้แก่ จาน ประสาทตาบวม (papilloedema) และ/หรือมีเลือดออกและของเหลวซึมที่ก้นตา อาการเจ็บหน้าอกอาจแสดง ถึงกล้ามเนื้อหัวใจเสียหายซึ่งอาจดาเนินต่อไปเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือเกิดการฉีกเซาะของผนังหลอดเลือด แดงใหญ่เอออร์ตา อาการหายใจลาบาก ไอ เสมหะมีเลือดปนเป็นอาการแสดงของปอดบวมน้า (pulmonary edema) เนื่องจากหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว กล่าวคือหัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถสูบฉีดเลือดจากปอดไปยัง ระบบหลอดเลือดแดงได้เพียงพอ อาจเกิดไตเสียหายเฉียบพลัน และโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกชนิดไม โครแองจีโอพาติก (การทาลายเม็ดเลือดแดงชนิดหนึ่ง) เมื่อเกิดภาวะนี้จาเป็นต้องรีบลดความดันโลหิตเพื่อ หยุดยั้งความเสียหายของอวัยวะเป้าหมาย ในทางตรงข้ามหากผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงกว่า 180/100 มิลลิเมตรปรอทแต่ไม่พบความเสียหาย ของอวัยวะเป้าหมายจะเรียกภาวะนี้ว่า ความดันโลหิตสูงเร่งด่วน (hypertensive urgency) ยังไม่มีหลักฐาน ยืนยันถึงความจาเป็นต้องรีบลดความดันโลหิตในผู้ป่วยกลุ่มนี้หากไม่มีการทาลายอวัยวะ และการลดความดัน โลหิตอย่างรวดเร็วก็ไม่ได้ปราศจากความเสี่ยง ในภาวะนี้สามารถค่อยๆ ลดความดันโลหิตลงด้วยยาลดความดัน ชนิดรับประทานให้กลับสู่ระดับปกติใน 24 ถึง 48 ชั่วโมง ในสตรีตั้งครรภ์ สตรีตั้งครรภ์มีภาวะความดันโลหิตสูงราวร้อยละ 8-10 หญิงที่มีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ส่วน ใหญ่มักเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิอยู่ก่อนแล้ว ความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์อาจเป็นอาการแสดง แรกของโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก (pre-eclampsia) ซึ่งเป็นภาวะทางสูติศาสตร์ที่ร้ายแรง เกิดในช่วงครึ่ง หลังของการตั้งครรภ์และระยะหลังคลอด โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักเป็นภาวะที่มีความดันโลหิตสูงและมี โปรตีนในปัสสาวะ พบราวร้อยละ 5 ของการตั้งครรภ์ และเป็นสาเหตุราวร้อยละ 16 ของการเสียชีวิตของ มารดาทั่วโลก โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักเพิ่มความเสี่ยงของการตายปริกาเนิดเป็นสองเท่า โดยทั่วไปแล้ว โรคนี้ไม่มีอาการและตรวจพบได้จากการฝากครรภ์เป็นประจา อาการของโรคนี้ที่พบได้บ่อยคือปวดศีรษะ ตา
  • 8. พร่ามัว (มักเห็นแสงวูบวาบ) ปวดจุกแน่นลิ้นปี่ และบวม โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักบางครั้งจะดาเนินต่อไป เป็นโรคร้ายแรงถึงแก่ชีวิตเรียกว่าโรคพิษแห่งครรภ์ระยะชัก (eclampsia) ซึ่งมีภาวะความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน ร่วมกับภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหลายอย่างเช่นมองภาพไม่เห็น สมองบวม ชัก ไตวาย ปอดบวมน้า และมีภาวะ เลือดแข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจาย (disseminated intravascular coagulation; ความผิดปกติของ การแข็งตัวของเลือดอย่างหนึ่ง) ในทารกและเด็ก ความดันโลหิตสูงในทารกแรกเกิดและทารกอาจมาด้วยเลี้ยงไม่โต ชัก งอแงร้องกวน ง่วงซึม และ หายใจลาบาก ความดันโลหิตสูงในเด็กอาจทาให้ปวดศีรษะ อ่อนล้า เลี้ยงไม่โต มองภาพไม่ชัด เลือดกาเดา ออก และใบหน้าเป็นอัมพาต วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาที่มาของโรคความดันโลหิตสูง 2.เพื่อศึกษาอาการของโรคความดันโลหิตสูง 3.เพื่อให้ผู้คนรู้จักและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง 4.เพื่อให้ผู้คนส่วนใหญ่ได้ตระหนักถึงความอันตรายของโรคความดันโลหิตสูง
  • 9. บทที่ 2 หลักการและทฤษฎี ในการจัดสร้างโครงงาน เรื่อง โรคความดันโลหิตสูง จาเป็นต้องศึกษาหัวข้อ ดังนี้ 2.1 ความหมายของโรคความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) หมายถึง ภาวะที่มีความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวที่มีค่าเฉลี่ย ระดับความดันโลหิต ตั้งแต่ 140 มิลลิเมตรปรอท และ/หรือความดันโลหิตขณะที่หัวใจคลายตัวที่มีค่าเฉลี่ย ระดับความดันโลหิต ตั้งแต่ 90 มิลลิเมตรปรอท โดยมีการวัดความดันโลหิตตั้งแต่ 2 ครั้ง ขึ้นไป ความดันโลหิตสูง หมายถึง แรงดันภายในหลอดเลือดหรือแรงของการบีบตัวไล่โลหิตแดง ไปตามหลอดเลือดต่าง ๆ ความดันโลหิตจะสูงขึ้นและลงต่า ตามจังหวะการบีบตัวของหัวใจทุกครั้งซึ่งสามารถ วัดได้โดยใช้เครื่องวัดความดันโลหิต (Sphymonanometer) วัดที่แขน โดยมีค่าที่วัดได้ตั้งแต่ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่เกิดขึ้นมาตามลาดับของอายุ มักเกิดมากในช่วงอายุ 35-55 ปี และมัก พบมากในเพศชายมากกว่าเพศหญิง และอาการเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนในเพศชายจะพบมากกว่าเพศหญิง 2.2 สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูงมีอยู่ 2 ชนิดได้แก่ โรคความดันโลหิตที่ไม่ทราบสาเหตุ Primary hypertension หรือเรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า essential hypertension เป็นความดันโลหิตสูงที่พบมากที่สุด กลุ่มนี้ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดมักจะ มีสาเหตุหลายองค์ประกอบรวมกัน พบว่าผู้ป่วยร้อยละ 95 เป็นผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มนี้ แต่มักจะพบว่าผู้ป่วยกลุ่ม ความดันโลหิตสูงนี้มีความสัมพันธ์กับปัจจัยดังต่อไปนี้ - การรับประทานอาหารเค็มซึ่งจากการศึกษาพบว่าการรับประทาน อาหารเค็ม จะมีส่วนทาให้เกิด ความดันโลหิตสูง แนะนาว่าคนปรกติไม่ควรที่จะรับประทานเกลือเกิน 3.8 กรัมต่อวัน - กรรมพันธุ์ เชื่อว่าพันธุกรรมจะมีผลต่อระบบฮอร์โมนทาให้มีการหลั่งสารเคมีมากไป Renin angiotensin มากทาให้ความดันโลหิตสูง - ความผิดปรกติของหลอดเลือดเนื่องมาจากโรคอ้วน อายุมาก เชื้อชาติ และการขาดการออกกาลังกาย
  • 10. โรคความดันโลหิตที่ทราบสาเหตุ Secondary hypertension เป็นความดันโลหิตสูงที่ทราบสาเหตุ พบได้ประมาณร้อยละ 5 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสาเหตุที่พบได้บ่อย คือ - โรคไต ผู้ป่วยที่มีหลอดแดงที่ไปเลี้ยงไตตีบทั้งสองข้างมักจะมีความดันโลหิตสูง - เนื้องอกที่ต่อมหมวกไตพบได้สองชนิดคือชนิดที่สร้างฮอร์โมน hormone aldosterone ผู้ป่วยกลุ่มนี้ จะมีความดันโลหิตสูงร่วมกับเกลือแร่โปแตสเซียมในเลือดต่า อีกชนิดหนึ่งได้แก่เนื้องอกที่สร้าง ฮอร์โมน catecholamines เรียกว่าโรค Pheochromocytoma ผู้ป่วยจะมีความดันโลหิตสูงร่วมกับ ใจสั่น - โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ตีบ Coarctation of the aorta พบได้น้อยเกิดจากหลอดเลือดแดงใหญ่ตีบ บางส่วนทาให้เกิดความดันโลหิตสูง - ยาคุมกาเนิด - ยาโคเคน ยาบ้า 2.3 อาการและอาการแสดงโรคความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ เนื่องจากความดันโลหิตจะเพิ่มอย่างช้าๆทาให้ร่างกายโดยเฉพาะ หลอดเลือดปรับตัวทันขึงไม่มีอาการ ผู้ป่วยความดันโลหิตส่วนใหญ่จะมาด้วยโรคแทรกซ้อนโดยที่ไม่รู้ว่าเป็น ความดันโลหิตสูง ดังนั้นจึงแนะนาให้วัดความดันทุก 2 ปีสาหรับคนที่ความดันโลหิตปกติ อาการที่ผู้ป่วยความ ดันโลหิตสูงที่พาผู้ป่วยมาโรงพยาบาลได้แก่ ปวดศีรษะ ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดศีรษะในกรณีที่ความดันขึ้นอย่างรวดเร็วหรือเกิดภาวะ Hypertensive crisis โดยทั่วไปความดันโลหิตตัวบน Systolic จะมากกว่า 110 มม ปรอท หรือ Diastolic มากกว่า 110 มม ปรอท อาการปวดศีรษะมักจะปวดมึนๆบางคนปวดตลอดวัน ปวดมากเวลาถ่ายอุจาระ หากเป็นมากจะมีอาการ คลื่นไส้อาเจียน เลือดกาเดาไหล ร้อยละ 17 ของผู้ป่วยที่เลือดกาเดาไหลจะเป็นความดันโลหิตสูงดังนั้นผู้ที่มีเลือดกาเดาออกต้องวัดความดัน โลหิต
  • 11. มึนงง Dizziness อาการมึนงงเป็นอาการทั่วๆไปพบได้ในหลายภาวะ เช่นเครียด นอนไม่พอ ทางานมากไป น้าตาลในเลือดสูง แต่ ก็อาจจะพบในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยมักจะบอกว่ารู้สึกไม่แจ่มใส สมองตื้อๆ ตามัว ในรายที่ความดันโลหิตสูงเป็นมากและมีการเปลี่ยนแปลงของจอรับภาพผู้ป่วยก็จะมีปัญหาทางสายตา เหนื่อยง่ายหายใจหอบ อาการหอบ เหนื่อยง่าย เวลาออกแรง เช่น เดิน วิ่ง ทางาน มีสาเหตุมากมาย เช่น โลหิตจาง(ซีด) โรค อ้วน ความดันโลหิตสูง โรคปอด ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคหัวใจ ภาวะหัวใจล้มเหลว (heart failure) แม้แต่ ความวิตกกังวล หรือ โรคแพนิค ก็ทาให้เหนื่อยได้เช่นกัน อาการเหนื่อยง่ายจากโรคหัวใจ และ ภาวะหัวใจ ล้มเหลวนั้น จะเหนื่อย หอบ หายใจเร็ว โดยเป็นเวลาออกแรง แต่ในรายที่เป็นรุนแรง จะเหนื่อยในขณะพัก บางรายจะเหนื่อยมากจนนอนราบไม่ได้ (นอนแล้วจะเหนื่อย ไอ) ต้องนอนศีรษะสูงหรือ นั่งหลับ คาว่าเหนื่อย หอบ ในความหมายของแพทย์หมายถึง อัตราการหายใจมากกว่าปกติ แต่ในความหมายของผู้ป่วยอาจรวมไป ถึง อาการเหนื่อยเพลีย หมดแรง เหนื่อยใจ อาการต่อไปนี้เข้าได้กับอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจขาดเลือด 1.เจ็บแน่นๆ อึดอัด บริเวณกลางหน้าอกส่วนใหญ่จะเป็นด้านซ้าย หรือ ทั้งสองด้าน (มักจะไม่เป็นด้านขวาด้าน เดียว) บางรายจะร้าวไป ที่แขนซ้าย หรือ จุกแน่นที่คอ บางรายเจ็บบริเวณกรามคล้ายเจ็บฟัน 2.อาการตามข้อ 1 เกิดขึ้นขณะออกกาลัง หรือทางานหนัก เช่น เดินเร็วๆ รีบ หรือ ขึ้นบันได วิ่ง โกรธโมโห โดยมากมักจะไม่เกิด 10 นาที อาการดังกล่าวจะดีขึ้นเมื่อหยุดออกกาลัง 3.ในบางรายที่อาการรุนแรง อาการแน่นหน้าอกอาจเกิดขึ้นในขณะพัก เช่น นั่ง หรือ นอน หรือ หลังอาหาร 4.กรณีที่เกิดหลอดเลือดหัวใจอุดตัน กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน อาการจะรุนแรงมาก อาจมีอาการอื่นๆร่วม ด้วย เช่น เหงื่อออก มาก เป็นลม (อาการเช่นนี้ยังพบได้ในโรคของหลอดเลือดแดงใหญ่ปริ ฉีก) หมดสติ 2.4 ประเภทของโรคความดันโลหิตสูง 1. โรคความดันโลหิตสูงชนิดทราบสาเหตุ (Secondary Hypertension)
  • 12. ความดันโลหิตสูงชนิดนี้ พบจานวนน้อย และสามารถรักษาให้หายขาดได้ มักเกิดจากสาเหตุการได้รับยา หรือ ฮอร์โมนบางชนิด และโรคต่างๆ ที่พบได้บ่อย คือ โรคไต โรคของต่อมไร้ท่อ และความผิดปกติของหลอดเลือด แดงใหญ่ สาเหตุจากโรค ได้แก่ – ไตอักเสบ ไตวายเรื้อรัง – หลอดเลือดแดงบริเวณไตมีการตีบตัน จากการแข็งตัวของหลอดเลือด หลอดเลือดอักเสบจนขัดขวางการ ไหลเวียนของเลือด เมื่อรักษาโดยการผ่าตัดก็จะหายเป็นปกติ – ความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมน เช่น ฮอร์โมนต่อมหมวกไต และโรค Cushing’s Syndrome – ภาวะลิ้นหัวใจรั่ว และหลอดเลือดแดงใหญ่หดตัว – ภาวะประสาทส่วนกลางผิดปกติ เช่น ฝีในสมอง สมองอักเสบ สามารถรักษาด้วยการผ่าตัดได้ 2. โรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ (Primary Hypertension or Essential Hypertension) พบมากที่สุดประมาณร้อยละ 90 – 95 ของผู้ที่มีความดันโลหิตสูง โดยมีปัจจัยหลายอย่างที่ เกี่ยวข้อง เช่น กรรมพันธุ์ การรับประทานเกลือมาก โรคอ้วน การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา และขาดการออกกาลัง กาย เป็นต้น โรคความดันโลหิตสูงชนิดนี้ มักพบมากในวัยกลางคนจนถึงวัยสูงอายุ และมักมีประวัติทาง ครอบครัว หรือกรรมพันธุ์ เช่น มีพ่อแม่พี่น้อง หรือสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคนี้อยู่และส่วนใหญ่มักเป็นกับคน อ้วน
  • 13. 2.5 ปัจจัยเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ 1. ปัจจัยด้านกรรมพันธุ์ ปัจจัยด้านกรรมพันธุ์ เป็นสาเหตุจากการถ่ายทอดโรคจากพ่อ และแม่ เป็นโรคความดันโลหิตสูง โอกาสที่ ถ่ายทอดถึงลูก หากทั้งสองคนป่วยเหมือนกันประมาณร้อยละ 44-73 หากป่วยเพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งป่วย โอกาสที่ลูกจะป่วยเป็นความดันโลหิตสูงร้อยละ 16-57 แต่ถ้าทั้งพ่อและแม่ไม่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง โอกาสที่ลูกจะป่วยเป็นโรค ประมาณ ร้อยละ 4-18 หากเป็นคู่ฝาแฝดพบว่าปัจจัยทางกรรมพันธุ์ทาให้มีโอกาส เกิดโรคความดันโลหิต สูงประมาณร้อยละ 50 ส่วนด้านเชื้อชาติ เพศ และวัยที่เพิ่มขึ้น พบว่า คนผิวดามี โอกาสป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง มากกว่าคนผิวขาว 2 เท่า ซึ่งชาวอเมริกันผิวดาจะมีความดันโลหิตสูงกว่า ชาวอเมริกันผิวขาว พบว่าผู้หญิงอเมริกันผิวดาวัย 18-74 ปี เป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 39 ส่วนหญิง อเมริกันผิวขาวเป็นโรคความดันโลหิตสูงเพียง ร้อยละ 25 2. ปัจจัยด้านสรีรวิทยา • ภาวะอ้วนหรือน้าหนักเกิน ภาวะอ้วนมีความสัมพันธ์กับความดันโลหิต คือ ผู้ที่มีน้าหนักสูงขึ้นจะมีระดับความดันโลหิตสูงขึ้น และเมื่อ น้าหนักตัวลด ความดันโลหิตก็จะลดลง และมักพบว่า คนอ้วนประมาณร้อยละ 46 จะพบเป็นโรคความดัน โลหิตสูงด้วย นอกจากนี้ ยังพบว่าในผู้ป่วยที่เริ่มมีความดันโลหิตสูงเป็นครั้งแรกประมาณ ร้อยละ 70 มีสาเหตุ มาจากความอ้วน น้าหนักตัวมีผลต่อความดันโลหิตแตกต่างกันไปตามเพศ อายุ เชื้อชาติ จากการสารวจ สุขภาพของชาวอเมริกันพบว่า ผู้หญิงที่อ้วนจะมีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าผู้หญิงที่ไม่อ้วน 4 เท่า ในขณะที่ผู้ชายอ้วนมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับผู้ชายที่ไม่อ้วนและ ผู้ชายที่อ้วนจะมีความเสี่ยงของการเกิด โรคความดันโลหิตสูงมากกว่าผู้หญิง • ภาวะอินซูลินในเลือดสูง คนอ้วนที่เป็นโรคความดันโลหิตมักพบปริมาณอินซูลินในเลือดสูง ซึ่งภาวะอินซูลินสามารถบ่งบอกความ สอดคล้องกับการเกิดโรคความดันโลหิตสูงได้ • ฮอร์โมนเอสโตรเจน เป็นฮอร์โมนเพศหญิงที่พบในยาเม็ดคุมกาเนิด หรือแพทย์สั่งให้รับประทานเมื่อผู้นั้นอยู่ในภาวะหมด ประจาเดือน ซึ่งฮอร์โมนเอสโตรเจนมีฤทธิ์ทาให้ร่างกายกักเก็บเกลือไว้เหมือนกับการรับประทานเกลือมาก นั่นเอง
  • 14. 3. ปัจจัยทางด้านอาหาร (Dietary Risk Ractors) • การได้รับโซเดียม จากการศึกษา พบว่า ปริมาณเกลือโซเดียมที่บริโภคมีความสัมพันธ์กับความดันโลหิตที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งใน คนปกติและผู้ที่มีความดันโลหิตสูง เนื่องจาก โซเดียมมีคุณสมบัติดูดน้า ทาให้ผนังหลอดเลือดแดงบวม ทาให้ ต้องเพิ่มปริมาณเลือดและความต้านทานในหลอดเลือดแดงมากขึ้น ในประเทศด้อยพัฒนาซึ่งได้รับโซเดียมเป็น จานวนน้อย คือ 1,600 มิลลิกรัม/วัน เปรียบเทียบกับชาวอเมริกันซึ่งได้รับ 4,000-5,800 มิลลิกรัม/วัน พบว่า ประเทศด้อยพัฒนา มีภาวะความดันโลหิตสูงน้อยกว่าประเทศพัฒนามาก และความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น ตาม อายุที่เพิ่มขึ้น สรุปว่าระดับความดันโลหิตมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการกินเค็ม • การได้รับแคลเซียม แคลเซียมนอกจากจะช่วยลดความดันโลหิตแล้วยังช่วยป้องกันไม่ให้เกิดความดันโลหิตสูง ปริมาณที่ร่างกายควร ได้รับ คือ 1,500-3,000 มิลลิกรัม/วัน จากการศึกษาวิจัยทั้งในคนปกติ และผู้ที่มีความดันโลหิตสูง พบว่า ระดับแคลเซี่ยมที่ลดลงจะสัมพันธ์กับความดันโลหิตที่สูงขึ้น และหากรับประทานแคลเซียมในปริมาณที่น้อย ร่วมกับการรับประทานอาหารเค็มจะเสริมให้ระดับความดันโลหิตสูงขึ้น • การได้รับโปแตสเซียม ร่างกายต้องการโปแตสเซียม 2-6 กรัม/วัน เมื่อร่างกายได้รับโปแตสเซียมเข้าไปจะขยายหลอดเลือดโดยตรง เพิ่มการสูญเสียน้าตาล และโซเดียมจากร่างกาย ถ้าร่างกายได้รับโซเดียมจานวนมาก ควรเพิ่มโปแตสเซียมด้วย เพื่อไม่ให้ระดับความดันโลหิตเพิ่มขึ้น การรับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมปริมาณสูงจะช่วยป้องกันการเกิด โรคความดันโลหิตสูงได้ • อาหารที่มีไขมัน การรับประทานอาหารไขมันประเภทอิ่มตัว เช่น ไขมันจากสัตว์ ทาให้มีการสะสมของไขมันในเลือด ทาให้การ ไหลเวียนของเลือดได้น้อย และเกิดความดันโลหิตสูงขึ้น ซึ่งแตกต่างจากน้ามันพืชที่มีไขมันไม่อิ่มตัว เมื่อ รับประทานจะมีผลต่อการขจัดโซเดียมของไต และทาให้กล้ามเนื้อคลายตัว • น้าตาลทรายขาว การเสื่อมสภาพการทางานของไต อาจมีสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคน้าตาลทรายจานวนมาก และติดต่อกัน เป็นเวลานาน จนทาให้ไตทางานหนัก และเสื่อมสภาพเร็วขึ้น จนเป็นสาเหตุนาไปสู่โรคความดันโลหิตสูงได้ 4. ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ • ปริมาณแอลกอฮอล์ที่ร่างกายได้รับ
  • 15. ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงประมาณกว่าร้อยละ 30 มักมีการดื่มสุรา และจากการศึกษา พบว่า คนที่ดื่ม แอลกอฮอล์ 3 แก้ว/วัน จะมีระดับความดัน Systolic เพิ่มขึ้น 3-4 มิลลิเมตรปรอท และระดับ Diastolic เพิ่มขึ้น 1-2 มิลลิเมตรปรอท • ขาดการออกกาลังกาย การออกกาลังกาย เช่น การวิ่งเป็นระยะทางไกลๆ หรือ Aerobic Exercise สามารถป้องกันการเกิดความดัน โลหิตสูงในกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรค • ความเครียด ความเครียดมีผลโดยตรงต่อการทางานของระบบประสาทซิมพาเทติก ที่มีผลกระตุ้นการหลั่งสาร Epinephrine จากต่อมหมวกไต และ Norepineprine จากปลายประสาท ทาให้มีการบีบตัวของหลอดเลือด จนเกิดความดันโลหิตสูงขึ้น ทั้งนี้ ภาวะความเครียดของแต่ละบุคคลจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างกัน เช่น ตารวจจรารจรมักมีความเสี่ยงในการเกิดโรคความดันโลหิตสูงกว่าประชาชนทั่วไปมากกว่า 5 เท่า และกลุ่มผู้ ปฏิบัติธรรม มักมีความดันโลหิตต่ากว่าประชาชนทั่วไป • การสูบบุหรี่ บุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่ทาให้เกิดความดันโลหิตสูง และเร่งการเกิดอาการ เพราะการสูบบุหรี่ทาให้ร่างกาย ปล่อยสารคาทีคอลลามีน (Catecholamine) เข้าสู่ร่างกายมากขึ้น ทาให้หัวใจเต้นแรง และเร็ว ทาให้เกิดภาวะ ความดันโลหิตสูงขึ้น 2.6 ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง 1. ผลต่อหัวใจ มักมีผลทาให้เกิดภาวะล้มเหลวหรือเส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบตัน หรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ทาให้หัวใจวายได้ นอกจากนี้ ความดันโลหิตสูงทาให้หัวใจห้องล่างซ้ายโตทาให้ไม่สามารถรับเลือด จากปอดได้ตามปกติ เกิดเลือด คั่งในปอด ถุงลมในปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่ทาให้รับออกซิเจนได้น้อยลง ถ้าไม่ได้รับการรักษา จะทาให้หัวใจ ห้องล่างขวาต้องทางานหนักมาก เกิดอาการบวมทั้งตัว และหัวใจห้องล่างขวาวาย 2. หลอดเลือดแดง ภาวะความดันโลหิตสูงมีผลทาให้ผนังหลอดเลือดแดงหนา และแข็งตัว (Atherosclerosis) มีการเร่งการเกาะ ตัวของไขมันที่ผนังหลอดเลือด ทาให้หลอดเลือดขาดความยืดหยุ่น เป็นผลก่อให้เกิดภาวะหลอดเลือดแดงตีบ
  • 16. ทาให้เลือดไหลผ่านได้น้อย อวัยวะส่วนปลายได้รับเลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอหรืออาจเกิดการอุดตันของหลอด เลือด หลอดเลือดแดงโป่งพอ งและแตกได้ง่าย 3. ผลต่อไต ไตนอกจากจะทาหน้าที่ขับของเสียแล้ว ยังมีหน้าที่ผลิตสารปรับความดันโลหิตที่ช่วยรักษาความดันให้เป็นปกติ เช่น เรนิน (Renin) และพรอสตาแกลนดิน (Prostaglandins) ผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูงจะทาให้หลอด เลือดแดงบริเวณไตมีผนังหนาขึ้น หลอดเลือดตีบ ขรุขระ เลือดมาเลี้ยงไตไม่เพียงพอ ผู้ป่วยมักมีอาการบวมเหนื่อยง่าย ถ่ายปัสสาวะน้อยลง และในกรณีที่เลือดไปเลี้ยงไตไม่เพียงพอจะทาให้เกิด อาการไตวายได้ 4. ผลต่อสมอง ความดันโลหิตที่สูงอยู่เป็นเวลานาน จะส่งผลต่อแรงดัันของหลอดเลือดในสมองเพิ่มขึ้นด้วย และหากเป็นหนัก หรือเป็นเวลานานก็มักจะทาให้ผนังเลือดเกิดการโป่งพอง หลอดเลือดไม่มีความยืดหยุ่น และแตกง่าย จนเกิด เลือดออกในสมอง ทาให้เนื้อสมองตาย และเป็นอัมพาตหรือเสียชีวิต 5. ผลต่อตา โรคความดันโลหิตสูง มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเยื่อแก้วตา หลอดเลือดฝอยบริเวณตาบีบตัวมากขึ้น มี เลือดออกในตา และประสาทตาเสื่อม ทาให้ตาจะมัวลงเรื่อยๆ และตาบอดได้ แบ่งความรุนแรงออกเป็น 4 ระดับ คือ • ระดับ 1 หลอดเลือดแดงที่จอตาจะตีบและแข็งตัวลงเล็กน้อย • ระดับ 2 หลอดเลือดแดงที่จอตามีการแข็งตัว และมีการหดมากขึ้น การไหลเวียนเลือดไม่ดี ทาให้เกิดหลอด เลือดอุดตัน และเลือดไม่สามารถไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ • ระดับ 3 มีอาการบวมของจอตาหรือมีของเหลวข้นๆออกมา โดยเฉพาะบริเวณเลือดออก หลอดเลือดแดงใน ม่านตาหดเกร็ง • ระดับ 4 มีลักษณะเช่นเดียวกับระดับ 3 แต่มีการบวมที่จุดรวมของเส้นเลือด และประสาท ซึ่งเกิดในผู้ป่วย ความดันโลหิตสูงวิกฤติ
  • 17. 2.7 การรักษาโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ 1. การรักษาแบบไม่ใช้ยา (Nonpharmacologic Therapy) 1. การลดน้าหนักตัว ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทุกรายที่มีน้าหนักเกินกว่าน้าหนักมาตรฐาน (มากกว่าร้อยละ 10 ของน้าหนัก มาตรฐาน) ควรมีการลดน้าหนัก ด้วยการควบคุมอาหาร และออกกาลังกาย โดยเฉพาะในรายที่มีระดับความ ดันโลหิตสูงไม่มาก ควรเริ่มต้นการรักษา โดยไม่ใช้ยา และลดน้าหนักตัวก่อนอย่างน้อย 3-6 เดือน ก่อนให้ยาลด ความดันโลหิตสูง 2. ลดการดื่มแอลกอฮอล์ การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีส่วนสาคัญในการเพิ่มระดับความดันโลหิต และเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้ ผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยาที่รักษาอยู่ ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ดื่มสุรามากจะเสี่ยงต่อโรคอัมพาตมากขึ้น ด้วย 3. การเลิกสูบบุหรี่ บุหรี่เป็นปัจจัยเสริมที่เพิ่มอัตราเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน โดยเฉพาะโรคระบบหัวใจ และหลอดเลือด รวมถึงเพิ่ม ความเสี่ยงต่อการเกิดอัมพาตมากขึ้น 4. การออกกาลังกาย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควรมีการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ซึ่งจะช่วยให้ความดันโลหิตลดลง ในผู้ป่วย ที่มีความดันโลหิตสูงระดับน้อยถึงปานกลาง หากออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ จะสามารถลดความดันโลหิตตัว บนหรือซีสโตลิกได้ประมาณ 10 มิลลิเมตรปรอท รวมทั้งลดค่าความดันโลหิตตัวล่างหรือความดันไอแอสโตลิ กด้วย การออกกาลังกายที่ควรปฏิบัติ คือ การถีบจักรยาน การวิ่ง การว่ายน้า การเดินเร็วๆ ส่วนการออกกาลัง กายที่หนัก เช่น การยกน้าหนัก หรือการออกแรงมากๆ ไม่ควรทา เพราะทาให้ระดับความดันโลหิตสูงขึ้น ระยะเวลาที่ออกกาลังกาย 20-60 นาที และควรทาประมาณ 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์ 5. การผ่อนคลายความเครียด การระงับหรือลดความเครียดของผู้ป่วยโรค ความดัน โลหิตสูง เป็นผลดีทาให้จิตใจผ่อนคลายและเป็นผลดีของ การควบคุมรักษาโรคความดันโลหิตสูง เช่น การออกกาลังกาย การทาสมาธิ การทาโยคะ • การฝึกหายใจ โดยการฝึกหายใจให้ลึก ช้าๆ และสม่าเสมอ โดยใช้หน้าท้อง และกะบังลมพองออกขณะ หายใจเข้า และยุบตัวขณะหายใจออก
  • 18. • การฝึกสมาธิ ด้วยการพิจารณาจิตต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ลมหายใจเข้าออก การกาหนดรู้ตามอิริยาบถของ ร่างกาย • การฝึกคลายกล้ามเนื้อ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ – ประเภทที่ 1 ฝึกโดยการเกร็งให้เต็มที่ แล้วคลายออก โดยเริ่มที่เท้าทั้ง2 ข้าง ก่อนแล้วเลื่อนขึ้นมาตามส่วน ของร่างกายที่ละส่วน – ประเภท ที่ 2 ฝึกโดยผ่อนคลายกล้ามเนื้อโดยไม่ต้องเกร็ง แต่ใช้ความรู้สึกหรือจิตสัมผัส เพ่งแต่ละส่วนของ ร่างกายให้เกิดการผ่อนคลาย 6. การบริโภคอาหาร ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควรจากัด ปริมาณเกลือในอาหาร โดยการลดอาหารเค็ม โดยเฉพาะผู้ป่วยที่เป็น ความดันโลหิตสูงเฉพาะซีสโตลิคการจากัดอาหารเค็มจะ ช่วยลด ความดันโลหิตได้ นอกจากนี้ควรลดอาหารที่มี ไขมันอิ่มตัว เพื่อลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือด รวมทั้งรับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมสูง โดยเฉพาะ อาหารเส้นใยกากใยสูง เช่น ข้าวโอ๊ต ผลไม้ และผักสด ผลไม้ควรรับประทาน 200 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง เพราะการรับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมสูงจะช่วยให้ร่างกายขับโซเดียม สามารถลดไขมันและการ เปลี่ยนแปลงไขมันในเลือด ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควรรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงทุกวัน ประมาณ 1-2 กรัมต่อวัน เช่น นมสดทั้งที่ไขมันครบส่วน ไขมันน้อย รวมทั้งชนิดขาดไขมัน เพราะแคลเซียมไปขัดขวางผล ของโซเดียมที่มีต่อความดันโลหิต จึงทาให้ความดันโลหิตลดลง จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยที่ความดันโลหิตสูง ชนิดไม่รุนแรง โดยการให้หยุดรับประทานยาและให้การรักษาด้วยอาหารแทนการรักษาด้วยยา เมื่อศึกษาเป็น เวลา 4 ปี พบว่า ผู้ป่วยร้อยละ 39 มีความดันโลหิตปกติ อาหารที่มีโซเดียมมาก การจากัดปริมาณโซเดียมที่ได้รับจากอาหาร เป็นส่วนสาคัญสาหรับลดภาวะความดันโลหิต ได้แก่ • อาหารที่ใช้เครื่องปรุงรส เช่น น้าปลา ซอสหอยนางรม น้าซีอิ้ว เต้าเจี้ยว น้าพริก น้าบูดู ขนมขบเคี้ยวที่มีรส เค็ม เช่น ข้าวเกรียบกุ้ง ข้าวเกรียบปลาต่างๆ อาหารทอด เช่น ไก่ทอด เนื้อทอด อาหารโรยเกลือ เช่น ถั่วลิสง คั่ว ถั่วปากอ้าคั่ว เป็นต้น • อาหารที่มีการถนอมอาหารด้วยเกลือ เช่น กุ้งแห้ง ปลาแห้ง หมูหรือเนื้อแดดเดียว ผลไม้ดอง ผักดอง เป็น ต้น เพราะอาหารเหล่านี้ มักใช้เกลือปริมาณสูงสาหรับป้องกัน และฆ่าเชื้อไม่ให้อาหารเน่าเปื่อย • สารเคมีปรุงรส ได้แก่ ผงชูรส เพราะสารเหล่านี้จะมีส่วนประกอบของโซเดียมรวมอยู่ด้วย • อาหารธรรมชาติที่มีโซเดียมสูง เช่น ปลาทะเล สาหร่ายทะเล เป็นต้น
  • 19. • ยาบางชนิดที่มีโซเดียม เช่น ยาลดกรด น้ายาบ้วนปาก ยาระบาย เป็นต้น ซึ่งมักมีส่วนผสมของโซเดียมไบ คาร์บอเนต ระดับการจากัดโซเดียม 1. จากัดอย่างเบาสุด คือ รับปริมาณน้อยกว่าความต้องการของร่างกายที่ควรได้รับ คือ วันละ 2500 มิลลิกรัม 2. จากัดเพียงเล็กน้อย คือ ได้รับวันละ 1500-2000 มิลลิกรัม 3. จากัดปานกลาง คือ ได้รับวันละ 1000 มิลลิกรัม 4. จากัดอย่างมาก คือ ได้รับวันละ 500 มิลลิกรัม 5. จากัดมากที่สุด คือ ได้รับวันละ 250 มิลลิกรัม อาหารที่มีน้าตาล และไขมัน หรือให้พลังงานสูง • อาหารที่มีไขมันหรือเนื้อสัตว์ติดมัน เช่น ข้าวขาหมู เป็ดพะโล้ หนังหมูย่าง ไก่ทอด ไข่เจียว ข้าวเกรียบ เป็น ต้น • อาหารที่มีน้าตาลมาก เช่น ขนมหวาน และขมปัง ต่างๆ • เครื่องดื่มที่มีน้าตาลมาก เช่น น้าตาลสด น้าอ้อยสด เป็นต้น • เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ได้แก่ เหล้า เบียร์ ไวน์ • อาหารที่ใส่กะทิ เช่น แกงมัสมั่น แกงเทโพ เป็นต้น 2. การรักษาโดยการใช้ยา (pharmacologic Therapy) การรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงโดยการใช้ยา แพทย์จะใช้ก็ต่อเมื่อรักษาแบบไม่ใช้ยาแล้วระดับความดันโลหิต ไม่ลดลงในผู้ ป่วยความดันโลหิตสูงระดับ 1 และระดับ 2 ส่วนในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงระดับรุนแรงหรือระดับ 3 แพทย์จะรักษาโดยการใช้ยาทันที 1. ยาขับปัสสาวะ (Diuretics) ยาที่ใช้ ได้แก่ furosemide, spironolactone, hydrochlorothiazide เป็นต้น ออกฤทธิ์ลดความดันโลหิต โดยลดการทางานของไตในการดูดซึมเกลือโซเดียม และน้าช่วยลดอัตราการเสียชีวิต และภาวะแทรกซ้อนจาก โรคความดันโลหิตสูงได้ เป็นยาที่ใช้มานาน มีราคาถูก และใช้ได้ผลดีในการควบคุมระดับความดันโลหิต อาการ ข้างเคียงที่พบ คือ ทาให้โปรแตสเซียมในเลือดต่า แคลเซียมในเลือดสูง ไขมันในเลือดสูงมียูริกสูงในเลือด ทาให้ เกิดโรคเก๊าท์ และน้าตาลในเลือดสูง เกิดความผิดปกติในเรื่องเพศสัมพันธ์ และทาให้อ่อนเพลีย 2. ยากั้นเบต้า (Beta Blockres) ยาที่ใช้ ได้แก่ atenolol, betaxolol, propranolol เป็นต้น โดยจะออกฤทธิ์หยุดการตอบสนองของระบบ
  • 20. ประสาทซิมพาเทธิค ทาให้ลดอัตราการเต้นของหัวใจ และปริมาณเลือดที่ไหลออกจากหัวใจ มีการออกฤทธิ์ลด ความดันโลหิตทันที แต่กว่าจะได้ผลเต็มที่อาจใช้เวลานานเป็นสัปดาห์ อาการข้างเคียง คือ หลอดเลือดตีบจากการหดรัด ทาให้หายใจลาบาก อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ถ้ามีหัวใจวาย อยู่ด้วยจาทาให้ภาวะหัวใจวายรุนแรงขึ้น ทาให้มีน้าตาลในเลือดต่า ไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ผู้ป่วยที่ใช้ ยาชนิดนี้จะทนต่อการออกกาลังกายได้น้อย 3. ยากั้นแอลฟา (Alpha Blokers) ออกฤทธิ์ต้านแอลฟา – 1 รีเซฟเตอร์ของระบบประสาท Sympathetic ซึ่งอยู่ที่ผนังของหลอดเลือด มีผลห้าม การหดตัวของหลอดเลือดทาให้ลดแรงต้านของหลอดเลือดแดง ยานี้ไม่มีผลต่อระดับน้าตาล และไขมันในเลือด อาการข้างเคียงของยา คือ มึนงง เวียนศรีษะ ปวดศรีษะ คลื่นใส้อาเจียน ใจสั่น 4. ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators) ยาที่ใช้ ได้แก่ hydralazine, minoxidil เป็นต้น โดยจะออกฤทธิ์โดยตรงต่อกล้ามเนื้อเรียบที่อยู่รอบ ๆ เส้น เลือด ทาให้กล้ามเนื้อคลายตัว และหลอดเลือดขยายตัว จึงลดแรงต้านทานภายในผนังของหลอดเลือด มียา บางชนิดในกลุ่มนี้ที่สามารถให้ทางหลอดเลือดดาได้ มีประสิทธิภาพสูง แต่ต้องใช้อย่างระมัดระวังเพราะอาจ เกิดภาวะช็อคได้ 5. ยาต้านแคลเซียม (Calcium Antagonist) ยาที่ใช้ ได้แก่ verapamil, mibefradi เป็นต้น เป็นยารักษาหลอดเลือดตีบใช้กับผู้ป่วยโรคไต ยานี้จะออกฤทธิ์ ทางอ้อม โดยการห้ามแคลเซียมไม่ให้เข้าเซลล์ ทาให้ลดปริมาณแคลเซียมในเซลล์รอบเส้นเลือด เกิดกล้ามเนื้อ คลายตัว หลอดเลือดขยายตัว ออกฤทธิ์ได้นาน 12-24 ชั่วโมง อาการข้างเคียงของยา คือ ปวดศรีษะหน้าแดง มึนงง หัวใจเต้นเร็ว กระเพาะอาหารทางานผิดปกติ ขาบวม 6. ยาต้านเอนไซม์ angiotensin (ACEI-Angiotensin) ยาที่ใช้ ได้แก่ captopril, enalapril, lisinopril เป็นต้น โดยจะออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ ACE เพื่อลดระดับของ Angiotensin II ที่เป็นสารสาคัญทาให้หลอดเลือดหดตัว และหนาตัวเพิ่มขึ้น มีผลทาให้ลดแรงต้านทานใน หลอดเลือด ยานี้ เป็นยาที่มีประสิทธิ์ภาพสูง ออกฤทธิ์ค่อนข้างสั้น และใช้ได้เพียงวันละ 1 ครั้ง อาการข้างเคียง คือ ไอ ผื่นขึ้น โปรแตสเซียมในเลือดสูง
  • 21. บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน แนวทางดาเนินงาน 1. ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง 2. รวมรวบข้อมูลที่น่าเชื่อถือโดยเปรียบเทียบจากหลายๆที่ พร้อมให้แหล่งที่มา 3. นาข้อมูลมาเรียบเรียงใน Microsoft Word 4. นาข้อมูลใส่ใน Slide Share 5. นาข้อมูลลงในบล็อกของตน 6. สรุปข้อมูลที่น่าสนใจลงใน Microsoft Powerpoint 7. นาเสนอให้เพื่อนและคุณครูในชั้นเรียน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. อินเตอร์เน็ต 3. โปรแกรม Microsoft Word 4. โปรแกรม Microsoft Powerpoint สถานที่ดาเนินงาน โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
  • 22. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน น.ส. สิริ กันยาการิยะ น.ส. สิรภัทร ยานะ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล น.ส. สิริ กันยาการิยะ น.ส. สิรภัทร ยานะ 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน น.ส. สิริ กันยาการิยะ น.ส. สิรภัทร ยานะ 5 ปรับปรุงทดสอบ น.ส. สิริ กันยาการิยะ น.ส. สิรภัทร ยานะ 6 การทาเอกสารรายงาน น.ส. สิริ กันยาการิยะ
  • 23. น.ส. สิรภัทร ยานะ 7 ประเมินผลงาน น.ส. สิริ กันยาการิยะ น.ส. สิรภัทร ยานะ 8 นาเสนอโครงงาน น.ส. สิริ กันยาการิยะ น.ส. สิรภัทร ยานะ
  • 24. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 1. สามารถป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 2. สามารถดูแลผู้ที่ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้ถูกวิธี 3. ผู้ศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง การนาไปใช้ 1. นาไปใช้เผยแพร่ให้คนที่สนใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง 2. นาไปเป็นสื่อการสอน 3. นาไปให้ความรู้เกี่ยวกับคนใกล้ชิดหรือแม้จะเป็นคนที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  • 25. บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินโครงงาน จากการได้จัดทาโครงงาน เรื่อง โรคความดันโลหิตสูง ทาให้คณะผู้จัดทามีความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ความดันโลหิตสูง เกี่ยวกับการป้องกัน การรักษา การดูแลตัวเอง ไปจนถึงยาที่ผู้ป่วยควรได้รับ นอกจากนี้ยัง สามารถนาไปเผยแพร่ในรูปแบบสื่อการสอนต่างๆ เพื่อให้ประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจหรือผู้ที่ป่วยเป็นโรคความดัน โลหิตสูง ให้เข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงมากยิ่งขึ้น ปัญหาและอุปสรรค 1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตไม่เสถียร 2. เปิดไฟล์ที่เครื่องอื่นแล้วFONTไม่ขึ้นเพราะไม่ได้ฝังFONT 3. แหล่งข้อมูลไม่น่าเชื่อถือ
  • 26. แหล่งอ้างอิง - โรคความดันโลหิตสูง ค้นคว้าจากเว็บไซต์ https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/Hypertension/index.h tm ค้นคว้าวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560 - โรคความดันโลหิตสูง ค้นคว้าจากเว็บไซต์ http://thaihealthlife.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B 8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82% E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8 %87-2/ ค้นคว้าวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560 - อาการของโรคความดันโลหิตสูง ค้นคว้าจากเว็บไซต์ https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/Hypertension/symto m.html ค้นคว้าวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560 - สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูง ค้นคว้าจากเว็บไซต์ https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/Hypertension/cause. html ค้นคว้าวันที่ 27 พฤศจิกายน 2560