SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
รศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
นางกวิตา ปานล้าเลิศ รศ.ดร.ณมน จีรังสุวรรณ
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
Online Multiuser Interactive Learning System on Social Cloud
2
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
รศ.ดร.ณมน จีรังสุวรรณ
ผศ.ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
รศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุขศ.เกียรติคุณ ดร.นิพนธ์ ศุขปรีดี
รศ.ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์
 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ. 2554-
2563 (ICT 2020) มีวิสัยทัศน์ว่า “เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเป็นพลังขับเคลื่อนสาคัญในการนาพาคนไทยสู่ความรู้และ
ปัญญาเศรษฐกิจไทย สู่การเติบโตอย่างยั่งยืน สังคมไทย สู่ความ
เสมอภาค”
 กระทรวงศึกษาธิการ มีการกาหนดยุทธศาสตร์ข้อที่ 2 กาหนดให้
มีการสนับสนุนการเรียนการสอนด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาของประเทศไทย
3
ที่มาและความสาคัญของปัญหา
(กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่อสาร, 2554; กระทรวงศึกษาธิการ, 2555)
 การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) เป็นวิธีการเรียนที่
เน้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน โดยเป็นการเรียนรู้
ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ผู้เรียนต้องพึ่งพาอาศัยและมีความ
รับผิดชอบต่อกลุ่มร่วมกัน
 สังคมคลาวด์เป็นกรอบการใช้ทรัพยากรร่วมกัน โดยที่ทรัพยากร
หรือบริการที่ใช้ร่วมในกลุ่มบุคคลเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์และ
การกาหนดการเข้าถึงข้อมูลในเครือข่ายสังคม
4
ที่มาและความสาคัญของปัญหา
(เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม, 2554; ศิริวรรณ พิริยะสุรวงศ์, 2555; ทิศนา แขมณี, 2555;
Chard, Bubendorfer, Caton และ Rana, 2012)
ที่มาและความสาคัญของปัญหา
5
 การร่วมมือกับผู้อื่น (Collaborate
With Others) ยังเป็นทักษะหนึ่งใน
ของทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2552; Partnership for 21st century skills, 2011)
6
วัตถุประสงค์งานวิจัย
1. เพื่อสังเคราะห์ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
2. เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
3. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการทางานร่วมกันของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองทางานเดี่ยวและกลุ่ม
ทดลองทางานกลุ่มที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
4. เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมินผลงานของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองทางานเดี่ยวและกลุ่ม
ทดลองทางานกลุ่มที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
5. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองทางานเดี่ยวและกลุ่ม
ทดลองทางานกลุ่มที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
6. เพื่อประเมินเพื่อรับรองระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
7
สมมติฐานของการวิจัย
1. ผลการประเมินระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์อยู่ในระดับมาก
2. ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพอยู่ใน
ระดับมาก
3. ทักษะการทางานร่วมกันของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองทางานเดี่ยวและกลุ่มทดลองทางานกลุ่ม
ที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์มีค่าแตกต่างกัน
4. ผลการประเมินผลงานของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองทางานเดี่ยวและกลุ่มทดลองทางานกลุ่มที่
เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์มีค่าแตกต่างกัน
5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองทางานเดี่ยวและกลุ่มทดลองทางานกลุ่มที่
เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์มีค่าแตกต่างกัน
6. ผลการประเมินเพื่อรับรองระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์อยู่ใน
ระดับมาก
8
กรอบแนวคิดงานวิจัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
(Learning Achievement)
สังคมคลาวด์
(Social Cloud)
(Chard ed al, 2012)
ระบบการจัดการเรียนรู้
ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์
ในสังคมคลาวด์
(Online Multiuser
Interactive Learning
System on Social
Cloud)
การปฏิสัมพันธ์แบบมัลติยูสเซอร์
(Multiuser Interaction)
(Cornelia, 2001)
การเรียนรู้ร่วมกัน
(Collaborative Learning)
(Reid, Forrestal and Cook,
1989)
ระบบการจัดการเรียนรู้
(ถนอมพร, 2547) ประสิทธิภาพของ
ระบบ
(System Performance )
ทักษะการทางานร่วมกัน
(Collaboration Skill)
ผลการประเมินผลงาน
(Task-based Assessment)
(LearningManagementSystem)
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
(Learning Achievement)
9
ขอบเขตงานวิจัย
ประชากรและ
กลุ่มตัวอย่าง
ประชากร นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ตะวันออก
กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 หลักสูตรระบบสารสนเทศ
คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ
แบ่งเป็น 3 ห้อง จานวน 90 คน ได้จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบ
กลุ่ม (Cluster Random Sampling)
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
ตัวแปรอิสระ ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
ตัวแปรตาม ทักษะการทางานร่วมกัน ผลการประเมินผลงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เนื้อหาและระยะเวลา
ในการวิจัย
เนื้อหารายวิชา ระบบฐานข้อมูล
ระยะเวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
10
ขั้นตอนการวิจัย
11
วิธีการดาเนินการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
1. ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2. ออกแบบและประเมินกิจกรรมการเรียนรู้
3. สังเคราะห์ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
4. ประเมินความเหมาะสมของระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์
ในสังคมคลาวด์
12
วิธีการดาเนินการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
1. พัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
 โดยใช้วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC)
2. ประเมินประสิทธิภาพของระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ใน
สังคมคลาวด์
 โดยใช้การทดสอบแบบ Black Box Testing
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
13
วิธีการดาเนินการวิจัย
1. เปรียบเทียบทักษะการทางานร่วมกันของกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง
ทางานกลุ่มที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ใน
สังคมคลาวด์
 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way
ANOVA)
14
วิธีการดาเนินการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
1. เปรียบเทียบผลการประเมินผลงานของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองทางานเดี่ยว
และกลุ่มทดลองทางานกลุ่มที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์
มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way
ANOVA
15
วิธีการดาเนินการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
1. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองทางาน
เดี่ยวและกลุ่มทดลองทางานกลุ่มที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้
ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA)
16
วิธีการดาเนินการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
1. ประเมินรับรองระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคม
คลาวด์
17
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
ขันตอน Collaborative Learning
(Reid, Forrestal and Cook, 1989) [17]
Virtual Team
KordakiandGrigoriadou
(2010)
SoonandSarrafzadeh
(2010)
Alanis-Funes,Neriand
Noguez(2011)
Zemliansky(2012)
Paviva,Machadoand
Valenca(2013)
Ficapal-CusiandBoada-Grau
(2014)
SunandShen(2014)
1. ขันมอบหมายภารกิจ (The Engagement phase) / / / / / / /
2. ขันระดมความคิด (The Exploration phase) / / / / / / /
3. ขันปฏิบัติ (The Transformation phase) / / / / / / /
4. ขันน้าเสนอ (The Presentation phase) / / / / / /
5. ขันสะท้อนความรู้ (The Reflection phase) / / / / / /
18
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
OMILS
19
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
20
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
(SaaS)
(PaaS)
(IaaS)
21
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
22
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
23
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
24
ผลการวิจัย
อุปกรณ์ Laptop
อุปกรณ์ Smartphone
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
25
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
26
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
รายการประเมิน
ผลการประเมิน
𝑿 S.D.
ความ
เหมาะสม
ค่าเฉลี่ยด้าน Functional Requirement Test 4.57 0.52 มากที่สุด
ค่าเฉลี่ยด้าน Functional Test 4.58 0.55 มากที่สุด
ค่าเฉลี่ยด้าน Usability Test 4.56 0.55 มากที่สุด
ค่าเฉลี่ยด้าน Security Test 4.48 0.51 มาก
ค่าเฉลี่ยด้าน Performance Test 4.52 0.53 มากที่สุด
ค่าเฉลี่ยของประสิทธิภาพของระบบทุกด้าน 4.55 0.53 มากที่สุด
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
27
ผลการวิจัย
1. ทักษะการทางานร่วมกันของทั้งสามกลุ่มมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติที่ .05
2. ทักษะการทางานร่วมกันของกลุ่มทดลองทางานกลุ่มมีค่ามากกว่าทักษะการ
ทางานร่วมกันของกลุ่มทดลองทางานเดี่ยวมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ .05
3. ทักษะการทางานร่วมกันของกลุ่มทดลองทางานกลุ่มมีค่ามากกว่าทักษะการ
ทางานร่วมกันของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05
4. ทักษะการทางานร่วมกันของกลุ่มทดลองทางานเดี่ยวและกลุ่มควบคุมมีค่า
แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
28
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
1. ผลการประเมินผลงานของทั้งสามกลุ่มมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติที่ .05
2. ผลการประเมินผลงานของกลุ่มทดลองทางานกลุ่มมีค่ามากกว่าผลการ
ประเมินผลงานของกลุ่มทดลองทางานเดี่ยวมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ .05
3. ผลการประเมินผลงานของกลุ่มทดลองทางานกลุ่มมีค่าผลการประเมินผลงาน
ของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05
4. ผลการประเมินผลงานของกลุ่มทดลองทางานเดี่ยวและกลุ่มควบคุมมีค่า
แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
29
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
1. กลุ่มนักเรียนทั้งสามกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างไม่มี
นัยสาคัญทางสถิติ
30
ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 ระยะที่ 6
1. ผลการประเมินเพื่อรับรองระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ใน
สังคมคลาวด์
 ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมอยู่
ในระดับ มากที่สุด
31
การอภิปรายผล
 การสังเคราะห์ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เป็นกระบวนการเรียนรู้หลักในระบบการจัดการ
เรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ ขั้น
มอบหมายภารกิจ ขั้นระดมความคิด ขั้นปฏิบัติ ขั้นนาเสนอ และขั้นสะท้อน
ความรู้ ซึ่งสอดคล้องกับ Reid, Forrestal and Cook (1989) ซึ่งเป็นขั้นตอน
การเรียนรู้ร่วมกัน และสอดคล้องกับ Gerlach (1994) Stacey (1999) Davis
and Levine (1993) Gokhale (1995) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่นามาใช้ใน
ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
32
การอภิปรายผล
 การพัฒนาเว็บระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
อยู่ในระดับมาก มีทั้งหมด 5 โมดูล ได้แก่ (1) โมดูลจัดการหลักสูตร (2) โมดูล
การสร้างแผนการสอน (3) โมดูลการส่งเสริมการเรียน (4) โมดูลประเมินผล
(5) โมดูลกิจกรรมการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ ซึ่ง
สอดคล้องกับ จารุณี (2552)
33
การอภิปรายผล
 ผลการวิจัย ในส่วนของกลุ่มนักเรียนทั้งสามกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ในส่วนของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนนั้น ได้ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ข้อสอบปรนัย และข้อสอบอัตนัย ใน
งานวิจัยนี้ได้นาคะแนนเฉพาะข้อสอบปรนัยมาพิจารณาเท่านั้น ซึ่งเมื่อพิจารณา
ถึงคะแนนในส่วนของอัตนัยพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
34
ข้อเสนอแนะ
 ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ที่พัฒนาขึ้น
สามารถนาไปติดตั้งบนเว็บโฮสต์ติ้ง โดยเชื่อมต่อกับเครื่องข่ายอินเทอร์เน็ต
เพื่อให้สมาชิกในกลุ่มสามารถทางานร่วมกันได้
 ควรพัฒนาต่อยอดงานวิจัยด้วยการเพิ่มโมดูลในการจัดการทางานร่วมกันได้
หลากหลายการทางานมากยิ่งขึ้น
35
ประมวลภาพในการวิจัย
36
การเผยแพร่ผลงานการวิจัย
37
รศ.ดร.ณมน จีรังสุวรรณ
ผศ.ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ ผศ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
รศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุขศ.เกียรติคุณ ดร.นิพนธ์ ศุขปรีดี
รศ.ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์

More Related Content

What's hot

ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ Sathapron Wongchiranuwat
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...Wichit Chawaha
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...Wichit Chawaha
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาKUSMP
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learningTar Bt
 
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300khon Kaen University
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนPrachyanun Nilsook
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานนะนาท นะคะ
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera Supa CPC
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59Khemjira_P
 

What's hot (19)

ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
The Development of a Knowledge Creation Model using Action Learning and Colla...
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
13นิตยา
13นิตยา13นิตยา
13นิตยา
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300Welcome master degree students 2016 08-01 1300
Welcome master degree students 2016 08-01 1300
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59
 

Viewers also liked

จิตวิทยาประยุกต์สำหรับการออกแบบการเรียนการสอน
จิตวิทยาประยุกต์สำหรับการออกแบบการเรียนการสอนจิตวิทยาประยุกต์สำหรับการออกแบบการเรียนการสอน
จิตวิทยาประยุกต์สำหรับการออกแบบการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#2
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#2ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#2
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#2Prachyanun Nilsook
 
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#3
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#3ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#3
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#3Prachyanun Nilsook
 
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1Prachyanun Nilsook
 
Instructional Design Trends in Digital Era #1
Instructional Design Trends in Digital Era #1Instructional Design Trends in Digital Era #1
Instructional Design Trends in Digital Era #1Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0Prachyanun Nilsook
 
Instructional Design Trends in Digital Era #2
Instructional Design Trends in Digital Era #2Instructional Design Trends in Digital Era #2
Instructional Design Trends in Digital Era #2Prachyanun Nilsook
 
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.วรัท พฤกษากุลนันท์
 
การออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบปฏิสัมพันธ์ในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบปฏิสัมพันธ์ในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21การออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบปฏิสัมพันธ์ในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบปฏิสัมพันธ์ในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21Prachyanun Nilsook
 
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#4
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#4ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#4
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#4Prachyanun Nilsook
 

Viewers also liked (11)

จิตวิทยาประยุกต์สำหรับการออกแบบการเรียนการสอน
จิตวิทยาประยุกต์สำหรับการออกแบบการเรียนการสอนจิตวิทยาประยุกต์สำหรับการออกแบบการเรียนการสอน
จิตวิทยาประยุกต์สำหรับการออกแบบการเรียนการสอน
 
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#2
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#2ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#2
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#2
 
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#3
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#3ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#3
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#3
 
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#1
 
Instructional Design Trends in Digital Era #1
Instructional Design Trends in Digital Era #1Instructional Design Trends in Digital Era #1
Instructional Design Trends in Digital Era #1
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0
 
Instructional Design Trends in Digital Era #2
Instructional Design Trends in Digital Era #2Instructional Design Trends in Digital Era #2
Instructional Design Trends in Digital Era #2
 
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
 
การออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบปฏิสัมพันธ์ในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบปฏิสัมพันธ์ในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21การออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบปฏิสัมพันธ์ในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบปฏิสัมพันธ์ในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#4
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#4ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#4
ระบบฝึกตามความสามารถ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร#4
 

Similar to ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์

03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
วิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapวิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapนิพ พิทา
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...JeeraJaree Srithai
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27Chonlakan Kuntakalang
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...Kruthai Kidsdee
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02Pimpaka Khampin
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 

Similar to ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ (20)

03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
วิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapวิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design map
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-bo...
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
โครงร่างโครงงานคอม เหลือแหล่งอ้างอิง 5,27
 
8บทที่4
8บทที่4 8บทที่4
8บทที่4
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Mcatesting program
Mcatesting programMcatesting program
Mcatesting program
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
2561 project 608-08
2561 project  608-082561 project  608-08
2561 project 608-08
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 

More from Prachyanun Nilsook

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationPrachyanun Nilsook
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfPrachyanun Nilsook
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาPrachyanun Nilsook
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตPrachyanun Nilsook
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationPrachyanun Nilsook
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfPrachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์Prachyanun Nilsook
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1Prachyanun Nilsook
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการPrachyanun Nilsook
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ Prachyanun Nilsook
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2Prachyanun Nilsook
 

More from Prachyanun Nilsook (20)

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
BCG Model
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2
 

ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์

Editor's Notes

  1. สวัสดีค่ะ วันนี้ดิฉัน นางกวิตา ปานล้ำเลิศ จะมานำเสนอผลการวิจัย เรื่อง “ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์” Online Multiuser Interactive Learning System on Social Cloud โดยมี อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข และอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม รองศาสตราจารย์ ดร. ณมน จีรังสุวรรณ
  2. คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ จำนวน 6 ท่าน ดังรายนามต่อไปนี้ 1. ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.นิพนธ์ ศุขปรีดี 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ณมน จีรังสุวรรณ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ 6. ผู้ช่วย ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
  3. The purposes of this research study are:
  4. The purposes of this research study are:
  5. กรอบแนวคิดการวิจัยมีดังนี้ องค์ประกอบปัจจัยนำเข้า (Input) ประกอบด้วย การเรียนรู้ร่วมกัน การปฏิสัมพันธ์แบบมัลติยูสเซอร์ ระบบการจัดการเรียนรู้ และสังคมคลาวด์ องค์ประกอบกระบวนการ (Process) ประกอบด้วย ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ และประสิทธิภาพของระบบ องค์ประกอบปัจจัยส่งออก (Output) ประกอบด้วย ทักษะการทำงานร่วมกัน ผลการประเมินผลงาน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  6. กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย กลุ่มทดลองทำงานกลุ่ม จำนวน 31 คน กลุ่มทดลองทำงานเดี่ยว จำนวน 29 คน และ กลุ่มควบคุม จำนวน 30 คน
  7. ขั้นตอนการวิจัย ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้
  8. วิธีการดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 6 ระยะ ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังต่อไปนี้ ระยะที่ 1 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ออกแบบและประเมินกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้สถิติ X bar และ SD สังเคราะห์ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ ประเมินความเหมาะสมของระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ โดยใช้สถิติ X bar และ SD
  9. พัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ - โดยใช้วงจรพัฒนาระบบ (SDLC) 2. ประเมินประสิทธิภาพของระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ - โดยใช้การทดสอบแบบ Black Box Testing - ใช้สถิติ X bar และ SD
  10. ระยะที่ 3 1. เปรียบเทียบทักษะการทำงานร่วมกันของกลุ่มผุ้เรียนทั้งสามกลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)
  11. ระยะที่ 4 1. เปรียบเทียบผลการประเมินผลงานของกลุ่มผู้เรียนทั้งสามกลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)
  12. ระยะที่ 5 1. เปรียบเทียบผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มผู้เรียนทั้งสามกลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA)
  13. ระยะที่ 6 1. ประเมินรับรองระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน สถิติที่ใช้ คือ X bar และ SD
  14. ผลการิจัย ระยะที่ 1 ตารางสังเคราะห์การเรียนรู้ร่วมกันและทีมเสมือนเพื่อพัฒนาขั้นตอนของการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ ผลการสังเคราะห์ ขั้นตอนของการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ ประกอบด้วย 5 ขั้น ดังนี้ 1. ขั้นมอบหมายภารกิจ (The Engagement Phase) 2. ขั้นระดมความคิด (The Exploration Phase) 3. ขั้นปฏิบัติ (The Transformation Phase) 4. ขั้นนำเสนอ (The Presentation Phase) 5. ขั้นสะท้อนความรู้ (The Reflection Phase)
  15. กิจกรรมการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ 1. ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์บนสังคมคลาวด์ (OMILS on Social Cloud) มีองค์ประกอบ คือ 1. สมาชิกอยู่คนละสถานที่ 2. สมาชิกมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน 3. ทำงานร่วมกันโดยใช้ ICT และ 4) สมาชิกมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. การทำงานปฏิสัมพันธ์แบบมัลติยูสเซอร์ คือ 1. การทำงานแบบ Synchronous 2. ผ่านอุปกรณ์ที่หลากหลาย และ 3. เข้าทำงานได้จากหลายระบบปฏิบัติการ 3. ขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์บนสังคมคลาวด์ 5 ขั้นตามที่กล่าวไปในสไลด์ที่แล้ว 4. สังคมคลาวด์ การประมวลผลสังคมคลาวด์เป็นกรอบการใช้ทรัพยากรร่วมกันโดยที่ทรัพยากรหรือบริการที่ใช้ร่วมในกลุ่มบุคคลเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์และการกำหนดการเข้าถึงข้อมูลในเครือข่ายสังคม เราได้ใช้สังคมคลาวด์ในการทำงานร่วมกัน ตัวอย่างสังคมคลาวด์ที่นิยม ได้แก่ เฟสบุ๊ค กูเกิลพลัส ไลน์ เป็นต้น
  16. ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
  17. สถาปัตยกรรมของระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
  18. แผนภาพข้อมูล (Context Diagram) ของระบบ
  19. การออกแบบแผนภาพแสดงการไหลของข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย 8 โมดูล ดังนี้
  20. เนื่องตารางในฐานข้อมูลมีทั้งหมด 25 ตาราง เพื่อให้ง่ายแก่การอ่าน ผู้วิจัยได้ออกแบบ ER-Diagram เป็น 2 กลุ่ม ตามการใช้งาน ประกอบด้วย 1. ER-Diagram โครงสร้างรายวิชา 2. ER-Diagram การจัดการเรียนรู้ร่วมกัน
  21. ระบบที่พัฒนาขึ้นรองรับการทำงานปฏิสัมพันธ์แบบมัลติยูสเซอร์ ดังนี้ การทำงานแบบ Synchronous ผ่านอุปกรณ์ที่หลากหลาย ยกตัวอย่าง อุปกรณ์ Laptop และ Smartphone และ เข้าทำงานได้จากหลายระบบปฏิบัติการ ในภาพ คือ Windows และ iOS
  22. ตัวอย่าง หน้าจอของระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ หน้าจอ Log in หน้าจอแผนการเรียน ผู้เรียนสามารถเข้าทำงานร่วมกันในแต่ละสัปดาห์ในหน้าจอนี้ และสมาชิกในกลุ่มสามารถแชร์ผลงานไปยังสังคมคลาวด์กลุ่มในหน้าจอนี้ได้ หน้าจอการทำงานร่วมกัน และเมื่อผลงานเสร็จสมบูรณ์ สมาชิกในกลุ่มสามารถแชร์ผลงานไปยังสังคมคลาวด์ในหน้าจอนี้ได้เช่นกัน
  23. ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ อยู่ในระดับมากที่สุด
  24. ผลการเปรียบเทียบทักษะการทำงานร่วมกันของกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองทำงานกลุ่มที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ มีดังนี้
  25. ผลการเปรียบเทียบผลการประเมินผลงานของกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองทำงานกลุ่มที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ มีดังนี้
  26. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองทำงานกลุ่มที่เรียนด้วยระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ มีดังนี้
  27. ผลการประเมินเพื่อรับรองระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ พบว่าระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มากที่สุด
  28. The purposes of this research study are:
  29. The purposes of this research study are:
  30. The purposes of this research study are:
  31. The purposes of this research study are:
  32. ประมวลภาพในการวิจัย บรรยากาศในการทำงานกลุ่ม ภาพการทำงานกลุ่ม ตัวอย่างผลงาน
  33. บทความวิจัยเผยแพร่ในงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “Online Multiuser Interactive Learning System on Social Cloud Conceptual Framework.” Proceeding The Sixth TCT International e-Learning Conference 2015 Global Trends in Digital Learning July 20-21, 2015 BITEC Bangna, Bangkok, Thailand. (98-104). (2015). “Online Multiuser Interactive Learning Activities on Social Cloud.” Proceedings of the International Conference on e-Commerce, e-Administration, e-Society, e-Education and e-Technology, ISSN 2074-5710, Vol.11, No.1, (343-353). (2017). บทความวิจัยเผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ “A Synthesis of Collaborative Learning and Virtual Team to Develop Multi-user Interactive Learning.” International Journal of the Computer, the Internet and Management, ISSN 0858-7027, Vol.25, No.3. (2017).
  34. สุดท้ายนี้ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณคณะกรรมการสอบทุกท่านเป็นอย่างสูง