SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บทที่ 3
                                     การดาเนินการวิจัย
        ในการวิจัยและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Social Media “Kruchaiwat to teach
online.” โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเทคโนโลยี
รายวิชา คอมพิวเตอร์ เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก สาหรับ
นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ซึ่งมีรายละเอียดในการดาเนินการวิจัยดังนี้
        1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
        2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
        3. เครื่องมือในการวิจัย
        4. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย
        5. การออกแบบการวิจัย
        6. การเก็บรวบรวมข้อมูล
        7. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
        2.1 ตัวแปรอิสระ คือ สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social
Media)
        - Wordpress
        - Facebook
        - SlideShare
        - YouTube
        - Google docs
        - Flickr
        2.2 ตัวแปรตาม คือ
             2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ใช้ Social Media
Facebook เพื่อการเรียนรู้และใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้
จัดการตามกระบวนการเรียนรู้ในขณะเดียวกันศิษย์มีความแตกต่างกันในระดับความรู้ความเข้าใจ
การคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในนักเรียนที่มีผลการเรียนต่าได้สอนเสริมและแนะนาการเรียนรู้ให้
นักเรียนจนประสบผลสาเร็จมีผลการเรียนที่ดีขึ้น นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนสูงได้พัฒนาส่งเสริมให้
มีความสามารถสูงขึ้นไปอีกระดับ จากการจัดกระบวนการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
12

ทางการเรียนที่ดีขึ้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET)สูงขึ้น มีทักษะทางด้าน
เทคโนโลยี สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ในการสืบค้น ค้นคว้าข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ใน
การศึกษา เป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไปตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ได้อย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต
              2.2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) นักเรียนมีทักษะทางด้านการใช้เทคโนโลยีสามารถใช้ในการ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รู้จักการทางานเป็นทีม เป็นผู้นาผู้ตามที่ดีตามระบบประชาธิปไตย

3. เครื่องมือในการวิจัย
          เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก
ประกอบด้วย
          3.1 สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง
แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดง
บังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
         3.2 ข้อมูลจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) ดังนี้ word press comment , Facebook
pan page , Facebook group , Google docs
          3.2 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) ใน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26

4. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย
          4.1 การสร้างและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ “Social Media By Kruchaiwat”
โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บ
บล็อก กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเทคโนโลยี รายวิชา คอมพิวเตอร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ ที่ http:// chaiwat31.wordpress.com มีขั้นตอนการ
สร้างและพัฒนา 9 ขั้นตอนดังนี้

             1.0   ศึกษา ค้นคว้า อบรม เว็บไซต์ที่ใช้ในการสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์


                     2.0   วิเคราะห์เนื้อหาที่จะนามาสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์


                             3.0   ออกแบบกิจกรรมการเรียนผ่านออนไลน์


                                   4.0   แปลงบทเรียนเป็นสื่อออนไลน์
13




                               5.0   นาสื่อออนไลน์เข้าสู่เว็บไซต์


                           6.0   ทดลองระบบบทเรียนออนไลน์


                         7.0   ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ


            8.0   ทดสอบหาประสิทธิภาพในขั้นทดลองใช้เบื้องต้น


                        9.0 ปรับปรุง      แก้ไข และนาไปใช้สอนจริง

     ภาพที่ 3 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)

4.2 การสร้างและพัฒนาแบบบันทึกการสังเกต

                  1.0   ศึกษาทฤษฎีการสร้าง จากเอกสาร ตาราวิชาการ


                           2.0   กาหนดประเด็นที่ต้องการสังเกต


                         3.0    ตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญ


                               4.0   หาความเชื่อมั่น (Reliability)


                   5.0    สร้างเป็นแบบบันทึกการสังเกตที่สมบูรณ์


          ภาพที่ 4 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบบันทึกการสังเกต
14

       4.3 การสร้างและพัฒนาแบบสอบถามความคิดเห็น
                        1.0 ศึกษาทฤษฎีการสร้าง จากเอกสาร ตาราวิชาการ



                              2.0       กาหนดประเด็นที่ต้องการถาม


                            3.0    ตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญ


                                  4.0   หาความเชื่อมั่น (Reliability)


                             5.0    สร้างเป็นแบบสอบถามที่สมบูรณ์

                   ภาพที่ 5 ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามความคิดเห็น
5. การออกแบบการวิจัย
    การออกแบบการวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาก่อนการทดลองที่มีการทดสอบก่อนและหลังการ
ทดลอง (One group pretest-posttest Design) รูปแบบการวิจัยชนิดนี้เขียนเป็นแผนภูมิได้ดังนี้

                                           O1      X     O2

              เมื่อ O1 แทน การทดสอบก่อนเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
                           โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
                     X แทน การเรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
                           โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
                     O2 แทน การทดสอบหลังเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
                           โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
15

6. การเก็บรวบรวมข้อมูล

                                1.0   นาแบบสอบถามที่สมบูรณ์มา

                             2.0 ผู้ทาการประเมินนักเรียนชั้น ม.3,ม.5,ม.6


                             3.0 ส่งแบบสอบถามที่สมบูรณ์ให้ผประเมินทา
                                                           ู้


                               4.0 นาผลการประเมินที่ได้มารวมคะแนน


                                      5.0 วิเคราะห์ผลการประเมิน


                                 6.0 นาเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง

                             ภาพที่ 6 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล

7. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
        7.1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด
มหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊ก
ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ได้หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์
70/70 จากสูตร E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์ สมเชาว์ เนตรประเสริฐ และสุดา สินสกุล 2520:
136-137)
                                X
               สูตร     E1       N  100
                                  A
               เมื่อ   E1        คือ ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ
                       X        คือ คะแนนรวมของการตอบคาถามท้ายหน่วย
                       A         คือ คะแนนเต็มของคาถามท้ายหน่วย
                       N         คือ จานวนนักเรียน

                                F
               สูตร     E2       N  100
                                  B
                  เมื่อ E2       คือ ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์
16

                          F คือ คะแนนรวมของการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                          B      คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                          N     คือ จานวนนักเรียน
         7.2 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,5 ที่
เรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่
http://chaiwat31.wordpress.com โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทา
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน
โดยใช้ t-test (t-test for Dependent group) (ล้วน สายยศ 2540 : 301)
                 สูตร     t =              D                       เมื่อ df = n-1
                                    N  D 2  ( D ) 2
                                            N 1
                 เมื่อ    D เป็นความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่
                          N เป็นจานวนคู่

         7.3 การวิเคราะห์นักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บ
บล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ใช้ Social Media “Facebook” เพื่อการเรียนรู้และใช้ใน
การแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ โดยใช้แบบบันทึกการสังเกต การส่งงานใน
“Facebook group” Comdongbug ม.3, Comdongbug ม.5, Comdongbug ม.6 แบบมาตรส่วน
ประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ ดังนี้

นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้               มีค่าน้าหนัก    5
นักเรียนส่วนใหญ่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้            มีค่าน้าหนัก    4
นักเรียนครึ่งหนึ่งมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้          มีค่าน้าหนัก    3
นักเรียนมี“Facebook” ไม่ถึงครึ่งหนึ่งที่ใช้ในการส่งงานได้    มีค่าน้าหนัก    2
นักเรียนไม่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้                 มีค่าน้าหนัก    1

การนาคะแนนมาหาค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นา
ค่าเฉลี่ย (Mean) ดังนี้

ค่าเฉลี่ย (Mean) 4.50 – 5.00 หมายถึง นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้
ค่าเฉลี่ย (Mean) 3.50 – 4.49 หมายถึง นักเรียนส่วนใหญ่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้
ค่าเฉลี่ย (Mean) 2.50 – 3.49 หมายถึง นักเรียนครึ่งหนึ่งมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้
17

ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.50 – 2.49 หมายถึง นักเรียนมี“Facebook” ไม่ถึงครึ่งหนึ่งที่ใช้ในการส่งงานได้
ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.00 – 1.49 หมายถึง นักเรียนไม่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้
          เปรียบเทียบกับเกณฑ์ของเบสท์ (Best, 1970 อ้างถึงในบุญมี พันธุ์ไทย, 2545 : 60)
          7.4 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนว
การนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที่เรียนจากสื่อการ
เรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่
http://chaiwat31.wordpress.com โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นมีลักษณะที่ใช้มาตราส่วน
ประเมินค่าของลิเคิร์ต (Likert’s Rating Scale) มี 5 ระดับ ดังนี้

                เห็นด้วยอย่างยิ่ง       มีค่าน้าหนัก    5
                เห็นด้วย                มีค่าน้าหนัก    4
                ไม่แน่ใจ                มีค่าน้าหนัก    3
                ไม่เห็นด้วย             มีค่าน้าหนัก    2
                ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง    มีค่าน้าหนัก    1
            การนาคะแนนมาหาค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
นาค่าเฉลี่ย (Mean) ดังนี้
                ค่าเฉลี่ย (Mean) 4.50 – 5.00 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง
                ค่าเฉลี่ย (Mean) 3.50 – 4.49 หมายถึง เห็นด้วย
                ค่าเฉลี่ย (Mean) 2.50 – 3.49 หมายถึง ไม่แน่ใจ
                ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.50 – 2.49 หมายถึง ไม่เห็นด้วย
                ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.00 – 1.49 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
          เปรียบเทียบกับเกณฑ์ของเบสท์ (Best, 1970 อ้างถึงในบุญมี พันธุ์ไทย, 2545 : 60)

More Related Content

What's hot

การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนชิตชัย โพธิ์ประภา
 
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3Somporn Laothongsarn
 

What's hot (20)

สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
Instructional 1
Instructional 1Instructional 1
Instructional 1
 
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก  กภาคผนวก  ก
ภาคผนวก ก
 

Similar to บทที่ 3

วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act pptapiwat97
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...apiwat97
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera Supa CPC
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office ExcelKhon Kaen University
 
Projectm6 2-2555
Projectm6 2-2555Projectm6 2-2555
Projectm6 2-2555Ktmaneewan
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Nu_waew
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopcheekymoodygirl92
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopcheekymoodygirl92
 

Similar to บทที่ 3 (20)

วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
 
Projectm6 2-2555
Projectm6 2-2555Projectm6 2-2555
Projectm6 2-2555
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
World class
World classWorld class
World class
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 
เอ4bestp59
เอ4bestp59เอ4bestp59
เอ4bestp59
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 

More from chaiwat vichianchai

ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderchaiwat vichianchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกchaiwat vichianchai
 
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิกเรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิกchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier proใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier prochaiwat vichianchai
 
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)chaiwat vichianchai
 
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนคำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนchaiwat vichianchai
 
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)chaiwat vichianchai
 
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58chaiwat vichianchai
 
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558chaiwat vichianchai
 

More from chaiwat vichianchai (20)

ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
 
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
 
ใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ render
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
 
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
 
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
 
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิกเรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
 
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier proใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
 
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
 
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนคำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
 
ส่วนที่ ๔
ส่วนที่  ๔ส่วนที่  ๔
ส่วนที่ ๔
 
ส่วนที่ ๓
ส่วนที่  ๓ส่วนที่  ๓
ส่วนที่ ๓
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
 
ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
 
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
 
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

บทที่ 3

  • 1. บทที่ 3 การดาเนินการวิจัย ในการวิจัยและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Social Media “Kruchaiwat to teach online.” โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเทคโนโลยี รายวิชา คอมพิวเตอร์ เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก สาหรับ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ซึ่งมีรายละเอียดในการดาเนินการวิจัยดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 3. เครื่องมือในการวิจัย 4. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย 5. การออกแบบการวิจัย 6. การเก็บรวบรวมข้อมูล 7. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 2.1 ตัวแปรอิสระ คือ สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) - Wordpress - Facebook - SlideShare - YouTube - Google docs - Flickr 2.2 ตัวแปรตาม คือ 2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ใช้ Social Media Facebook เพื่อการเรียนรู้และใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ จัดการตามกระบวนการเรียนรู้ในขณะเดียวกันศิษย์มีความแตกต่างกันในระดับความรู้ความเข้าใจ การคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในนักเรียนที่มีผลการเรียนต่าได้สอนเสริมและแนะนาการเรียนรู้ให้ นักเรียนจนประสบผลสาเร็จมีผลการเรียนที่ดีขึ้น นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนสูงได้พัฒนาส่งเสริมให้ มีความสามารถสูงขึ้นไปอีกระดับ จากการจัดกระบวนการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
  • 2. 12 ทางการเรียนที่ดีขึ้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET)สูงขึ้น มีทักษะทางด้าน เทคโนโลยี สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ในการสืบค้น ค้นคว้าข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ใน การศึกษา เป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไปตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ได้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต 2.2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) นักเรียนมีทักษะทางด้านการใช้เทคโนโลยีสามารถใช้ในการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รู้จักการทางานเป็นทีม เป็นผู้นาผู้ตามที่ดีตามระบบประชาธิปไตย 3. เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ประกอบด้วย 3.1 สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดง บังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 3.2 ข้อมูลจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) ดังนี้ word press comment , Facebook pan page , Facebook group , Google docs 3.2 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) ใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 4. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย 4.1 การสร้างและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ “Social Media By Kruchaiwat” โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บ บล็อก กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเทคโนโลยี รายวิชา คอมพิวเตอร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ ที่ http:// chaiwat31.wordpress.com มีขั้นตอนการ สร้างและพัฒนา 9 ขั้นตอนดังนี้ 1.0 ศึกษา ค้นคว้า อบรม เว็บไซต์ที่ใช้ในการสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ 2.0 วิเคราะห์เนื้อหาที่จะนามาสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ 3.0 ออกแบบกิจกรรมการเรียนผ่านออนไลน์ 4.0 แปลงบทเรียนเป็นสื่อออนไลน์
  • 3. 13 5.0 นาสื่อออนไลน์เข้าสู่เว็บไซต์ 6.0 ทดลองระบบบทเรียนออนไลน์ 7.0 ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ 8.0 ทดสอบหาประสิทธิภาพในขั้นทดลองใช้เบื้องต้น 9.0 ปรับปรุง แก้ไข และนาไปใช้สอนจริง ภาพที่ 3 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) 4.2 การสร้างและพัฒนาแบบบันทึกการสังเกต 1.0 ศึกษาทฤษฎีการสร้าง จากเอกสาร ตาราวิชาการ 2.0 กาหนดประเด็นที่ต้องการสังเกต 3.0 ตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญ 4.0 หาความเชื่อมั่น (Reliability) 5.0 สร้างเป็นแบบบันทึกการสังเกตที่สมบูรณ์ ภาพที่ 4 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบบันทึกการสังเกต
  • 4. 14 4.3 การสร้างและพัฒนาแบบสอบถามความคิดเห็น 1.0 ศึกษาทฤษฎีการสร้าง จากเอกสาร ตาราวิชาการ 2.0 กาหนดประเด็นที่ต้องการถาม 3.0 ตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญ 4.0 หาความเชื่อมั่น (Reliability) 5.0 สร้างเป็นแบบสอบถามที่สมบูรณ์ ภาพที่ 5 ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามความคิดเห็น 5. การออกแบบการวิจัย การออกแบบการวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาก่อนการทดลองที่มีการทดสอบก่อนและหลังการ ทดลอง (One group pretest-posttest Design) รูปแบบการวิจัยชนิดนี้เขียนเป็นแผนภูมิได้ดังนี้ O1 X O2 เมื่อ O1 แทน การทดสอบก่อนเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) X แทน การเรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) O2 แทน การทดสอบหลังเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
  • 5. 15 6. การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.0 นาแบบสอบถามที่สมบูรณ์มา 2.0 ผู้ทาการประเมินนักเรียนชั้น ม.3,ม.5,ม.6 3.0 ส่งแบบสอบถามที่สมบูรณ์ให้ผประเมินทา ู้ 4.0 นาผลการประเมินที่ได้มารวมคะแนน 5.0 วิเคราะห์ผลการประเมิน 6.0 นาเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง ภาพที่ 6 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล 7. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 7.1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด มหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊ก ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ได้หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 จากสูตร E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์ สมเชาว์ เนตรประเสริฐ และสุดา สินสกุล 2520: 136-137) X สูตร E1  N  100 A เมื่อ E1 คือ ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ X คือ คะแนนรวมของการตอบคาถามท้ายหน่วย A คือ คะแนนเต็มของคาถามท้ายหน่วย N คือ จานวนนักเรียน F สูตร E2  N  100 B เมื่อ E2 คือ ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์
  • 6. 16 F คือ คะแนนรวมของการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน B คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน N คือ จานวนนักเรียน 7.2 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,5 ที่ เรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน โดยใช้ t-test (t-test for Dependent group) (ล้วน สายยศ 2540 : 301) สูตร t = D เมื่อ df = n-1 N  D 2  ( D ) 2 N 1 เมื่อ D เป็นความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่ N เป็นจานวนคู่ 7.3 การวิเคราะห์นักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บ บล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ใช้ Social Media “Facebook” เพื่อการเรียนรู้และใช้ใน การแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ โดยใช้แบบบันทึกการสังเกต การส่งงานใน “Facebook group” Comdongbug ม.3, Comdongbug ม.5, Comdongbug ม.6 แบบมาตรส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ ดังนี้ นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ มีค่าน้าหนัก 5 นักเรียนส่วนใหญ่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ มีค่าน้าหนัก 4 นักเรียนครึ่งหนึ่งมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ มีค่าน้าหนัก 3 นักเรียนมี“Facebook” ไม่ถึงครึ่งหนึ่งที่ใช้ในการส่งงานได้ มีค่าน้าหนัก 2 นักเรียนไม่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ มีค่าน้าหนัก 1 การนาคะแนนมาหาค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นา ค่าเฉลี่ย (Mean) ดังนี้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 4.50 – 5.00 หมายถึง นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 3.50 – 4.49 หมายถึง นักเรียนส่วนใหญ่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 2.50 – 3.49 หมายถึง นักเรียนครึ่งหนึ่งมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้
  • 7. 17 ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.50 – 2.49 หมายถึง นักเรียนมี“Facebook” ไม่ถึงครึ่งหนึ่งที่ใช้ในการส่งงานได้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.00 – 1.49 หมายถึง นักเรียนไม่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ เปรียบเทียบกับเกณฑ์ของเบสท์ (Best, 1970 อ้างถึงในบุญมี พันธุ์ไทย, 2545 : 60) 7.4 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนว การนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที่เรียนจากสื่อการ เรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นมีลักษณะที่ใช้มาตราส่วน ประเมินค่าของลิเคิร์ต (Likert’s Rating Scale) มี 5 ระดับ ดังนี้ เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าน้าหนัก 5 เห็นด้วย มีค่าน้าหนัก 4 ไม่แน่ใจ มีค่าน้าหนัก 3 ไม่เห็นด้วย มีค่าน้าหนัก 2 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าน้าหนัก 1 การนาคะแนนมาหาค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นาค่าเฉลี่ย (Mean) ดังนี้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 4.50 – 5.00 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง ค่าเฉลี่ย (Mean) 3.50 – 4.49 หมายถึง เห็นด้วย ค่าเฉลี่ย (Mean) 2.50 – 3.49 หมายถึง ไม่แน่ใจ ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.50 – 2.49 หมายถึง ไม่เห็นด้วย ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.00 – 1.49 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง เปรียบเทียบกับเกณฑ์ของเบสท์ (Best, 1970 อ้างถึงในบุญมี พันธุ์ไทย, 2545 : 60)