SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
บทที่ 3
                                    การดาเนินการวิจัย

ในการวิจัยและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์              Social Media “เรียนฟิสิกส์ง่ายๆ สไตล์
ครูตี๋” โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ซึ่งมี
รายละเอียดในการดําเนินการวิจัยดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
3. เครื่องมือในการวิจัย
          4. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย
          5. การออกแบบการวิจัย
6. การเก็บรวบรวมข้อมูล
7. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
         ประชากร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด
มหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
         กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด
มหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จํานวน 30 คน ได้มาจากวิธีการเลือก
แบบเจาะจง (Purposive Sampling)

2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
        2.1 ตัวแปรอิสระ คือ สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social
Media)
                 - Wordpress
                 - Facebook
                 - SlideShare
15

                  - YouTube
                  - Google docs
                  - Flickr
        2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอน
ผ่านเว็บบล็อก และรวมถึงการใช้ Facebook เป็น Social Media เพื่อการเรียนรู้และใช้ในการ
แลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้จัดการตามกระบวนการเรียนรู้ใน
ขณะเดียวกันศิษย์มีความแตกต่างกันในระดับความรู้ความเข้าใจ การคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ในนักเรียนที่มีผลการเรียนต่ําได้สอนเสริมและแนะนําการเรียนรู้ให้นักเรียนจนประสบผลสําเร็จ
มีผลการเรียนที่ดีขึ้น นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนสูงได้พัฒนาส่งเสริมให้มีความสามารถสูงขึ้นไป
อีกระดับ จากการจัดกระบวนการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี
มีทักษะทางด้านเทคโนโลยี สามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน ใช้ในการสืบค้น ค้นคว้าข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ ในการศึกษา เป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไปตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีใน
การเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

3. เครื่องมือในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเรื่อง       ไฟฟ้าสถิต การสอนผ่านเว็บบล็อก ประกอบด้วย
 3.1 สื่อการเรียนรู้ออนไลน์        (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง
ไฟฟ้าสถิต ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
          3.2 ข้อมูลจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) ดังนี้ word press comment ,
Facebook pan page , Facebook group , Google docs, SlideShare และ Flikr

4. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย
การสร้างและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์            “เรียนฟิสิกส์ง่ายๆ สไตล์ครูตี๋”
โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ ที่ http:// somporndb.wordpress.com มีขั้นตอนการสร้างและพัฒนา
9 ขั้นตอนดังนี้
16



1.0 ศึกษา ค้นคว้า อบรม เว็บไซต์ที่ใช้ในการสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์


       2.0 วิเคราะห์เนื้อหาที่จะนํามาสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์


             3.0 ออกแบบกิจกรรมการเรียนผ่านออนไลน์


                  4.0 แปลงบทเรียนเป็นสื่อออนไลน์


                   5.0 นําสื่อออนไลน์เข้าสู่เว็บไซต์


                  6.0 ทดลองระบบบทเรียนออนไลน์


                7.0 ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ



         8.0 ทดสอบหาประสิทธิภาพในขั้นทดลองใช้เบื้องต้น


              9.0 ปรับปรุง แก้ไข และนําไปใช้สอนจริง



  ภาพที่ 3 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
17

5. การออกแบบการวิจัย
   การออกแบบการวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาก่อนการทดลองที่มีการทดสอบก่อนและหลังการ
ทดลอง (One group pretest-posttest Design) รูปแบบการวิจัยชนิดนี้เขียนเป็นแผนภูมิได้ดังนี้

                                     O1      X    O2


              เมื่อ O1 แทน การทดสอบก่อนเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
                           โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
                    X แทน การเรียนจาก สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
                           โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
                    O2 แทน การทดสอบหลังเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
                           โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)

6. การเก็บรวบรวมข้อมูล


                       1.0 ทดสอบการใช้งานจริงบนระบบออนไลน์

                           2.0 นักเรียนชั้น ม.6 เข้าศึกษาบทเรียน


                           3.0 นักเรียนทําแบบทดสอบออนไลน์


                          4.0 ครูนําคะแนนที่ได้มาการประเมินผล


                                5.0 วิเคราะห์ผลการประเมิน


                             6.0 นําเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง

                           ภาพที่ 4 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
18

7. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
         7.1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยี
สื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด
มหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ด้วยการสอนผ่าน
เว็บบล็อก ที่ http://somporndb.wordpress.com ได้หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 จากสูตร E1/E2
(ชัยยงค์ พรหมวงศ์ สมเชาว์ เนตรประเสริฐ และสุดา สินสกุล 2520: 136-137)
                               X
               สูตร     E1     N  100
                                A
               เมื่อ   E1      คือ ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ
                       X      คือ คะแนนรวมของการตอบคําถามท้ายหน่วย
                       A       คือ คะแนนเต็มของคําถามท้ายหน่วย
                       N       คือ จํานวนนักเรียน
                               F
               สูตร     E2     N  100
                                B
                  เมื่อ E2 คือ ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์
                           F คือ คะแนนรวมของการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                           B คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                           N คือ จํานวนนักเรียน
         7.2 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียน
จากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่
http://somporndb.wordpress.com โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทํา
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและคะแนนที่ได้จากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลัง
เรียน โดยใช้ t-test (t-test for Dependent group) (ล้วน สายยศ 2540 : 301)
               สูตร    t =           D                   เมื่อ df = n-1
                               N  D 2  ( D ) 2
                                      N 1
               เมื่อ   D เป็นความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่
                       N เป็นจํานวนคู่

More Related Content

What's hot

บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาpanida428
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนชิตชัย โพธิ์ประภา
 

What's hot (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 

Viewers also liked

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำNan Su'p
 
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1thanakit553
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตthanakit553
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 

Viewers also liked (17)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
stem
stemstem
stem
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Similar to บทที่ 3

apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act pptapiwat97
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...apiwat97
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera Supa CPC
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...krupanisara
 
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...Saipanyarangsit School
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Nu_waew
 
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์peetchinnathan
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ Sathapron Wongchiranuwat
 
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office ExcelKhon Kaen University
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59Khemjira_P
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Similar to บทที่ 3 (20)

apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
 
เอ4bestp59
เอ4bestp59เอ4bestp59
เอ4bestp59
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
Title
TitleTitle
Title
 
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
 
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
9
99
9
 
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 

More from Somporn Laothongsarn

เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลตSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรดSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศSomporn Laothongsarn
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1Somporn Laothongsarn
 

More from Somporn Laothongsarn (15)

Physical quantity and units
Physical quantity and unitsPhysical quantity and units
Physical quantity and units
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
 
เรื่อง แสง
เรื่อง  แสงเรื่อง  แสง
เรื่อง แสง
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
 
Giftedfactors
GiftedfactorsGiftedfactors
Giftedfactors
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 

บทที่ 3

  • 1. บทที่ 3 การดาเนินการวิจัย ในการวิจัยและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Social Media “เรียนฟิสิกส์ง่ายๆ สไตล์ ครูตี๋” โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ซึ่งมี รายละเอียดในการดําเนินการวิจัยดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 3. เครื่องมือในการวิจัย 4. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย 5. การออกแบบการวิจัย 6. การเก็บรวบรวมข้อมูล 7. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด มหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด มหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จํานวน 30 คน ได้มาจากวิธีการเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling) 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 2.1 ตัวแปรอิสระ คือ สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) - Wordpress - Facebook - SlideShare
  • 2. 15 - YouTube - Google docs - Flickr 2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอน ผ่านเว็บบล็อก และรวมถึงการใช้ Facebook เป็น Social Media เพื่อการเรียนรู้และใช้ในการ แลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้จัดการตามกระบวนการเรียนรู้ใน ขณะเดียวกันศิษย์มีความแตกต่างกันในระดับความรู้ความเข้าใจ การคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในนักเรียนที่มีผลการเรียนต่ําได้สอนเสริมและแนะนําการเรียนรู้ให้นักเรียนจนประสบผลสําเร็จ มีผลการเรียนที่ดีขึ้น นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนสูงได้พัฒนาส่งเสริมให้มีความสามารถสูงขึ้นไป อีกระดับ จากการจัดกระบวนการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี มีทักษะทางด้านเทคโนโลยี สามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน ใช้ในการสืบค้น ค้นคว้าข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ ในการศึกษา เป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไปตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีใน การเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 3. เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเรื่อง ไฟฟ้าสถิต การสอนผ่านเว็บบล็อก ประกอบด้วย 3.1 สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 3.2 ข้อมูลจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) ดังนี้ word press comment , Facebook pan page , Facebook group , Google docs, SlideShare และ Flikr 4. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย การสร้างและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ “เรียนฟิสิกส์ง่ายๆ สไตล์ครูตี๋” โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ ที่ http:// somporndb.wordpress.com มีขั้นตอนการสร้างและพัฒนา 9 ขั้นตอนดังนี้
  • 3. 16 1.0 ศึกษา ค้นคว้า อบรม เว็บไซต์ที่ใช้ในการสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ 2.0 วิเคราะห์เนื้อหาที่จะนํามาสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ 3.0 ออกแบบกิจกรรมการเรียนผ่านออนไลน์ 4.0 แปลงบทเรียนเป็นสื่อออนไลน์ 5.0 นําสื่อออนไลน์เข้าสู่เว็บไซต์ 6.0 ทดลองระบบบทเรียนออนไลน์ 7.0 ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ 8.0 ทดสอบหาประสิทธิภาพในขั้นทดลองใช้เบื้องต้น 9.0 ปรับปรุง แก้ไข และนําไปใช้สอนจริง ภาพที่ 3 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
  • 4. 17 5. การออกแบบการวิจัย การออกแบบการวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาก่อนการทดลองที่มีการทดสอบก่อนและหลังการ ทดลอง (One group pretest-posttest Design) รูปแบบการวิจัยชนิดนี้เขียนเป็นแผนภูมิได้ดังนี้ O1 X O2 เมื่อ O1 แทน การทดสอบก่อนเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) X แทน การเรียนจาก สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) O2 แทน การทดสอบหลังเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) 6. การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.0 ทดสอบการใช้งานจริงบนระบบออนไลน์ 2.0 นักเรียนชั้น ม.6 เข้าศึกษาบทเรียน 3.0 นักเรียนทําแบบทดสอบออนไลน์ 4.0 ครูนําคะแนนที่ได้มาการประเมินผล 5.0 วิเคราะห์ผลการประเมิน 6.0 นําเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง ภาพที่ 4 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
  • 5. 18 7. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 7.1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยี สื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด มหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ด้วยการสอนผ่าน เว็บบล็อก ที่ http://somporndb.wordpress.com ได้หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 จากสูตร E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์ สมเชาว์ เนตรประเสริฐ และสุดา สินสกุล 2520: 136-137) X สูตร E1  N  100 A เมื่อ E1 คือ ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ X คือ คะแนนรวมของการตอบคําถามท้ายหน่วย A คือ คะแนนเต็มของคําถามท้ายหน่วย N คือ จํานวนนักเรียน F สูตร E2  N  100 B เมื่อ E2 คือ ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์ F คือ คะแนนรวมของการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน B คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน N คือ จํานวนนักเรียน 7.2 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียน จากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://somporndb.wordpress.com โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทํา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและคะแนนที่ได้จากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลัง เรียน โดยใช้ t-test (t-test for Dependent group) (ล้วน สายยศ 2540 : 301) สูตร t = D เมื่อ df = n-1 N  D 2  ( D ) 2 N 1 เมื่อ D เป็นความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่ N เป็นจํานวนคู่