SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ก

ชื่องานวิจย
ั

ที่ปรึ กษา
ผูวจย
้ิั
ปี ที่ศึกษา

การเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน่วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ระหว่างวิธีการ
จัดการเรี ยนรู้โดยใช้หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์และวิธีปกติ
ดร.เกื้อ กระแสโสม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ รินทร์
นางจีรา ศรี ไทย
2555
บทคัดย่อ

การวิจยในครั้งนี้ มีวตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
ั
ั
การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ก่อนเรี ยน
และหลังเรี ยนด้วยวิธีการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์และวิธีปกติ และ 2) เพื่อเปรี ยบเทียบ
ผลการเรี ยนรู้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์
ั
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ด้วยวิธีการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้หนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ กบวิธีปกติ กลุ่มตัวอย่าง
คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนนาดีวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 จานวน 2 ห้องเรี ยน ได้มาโดยการสุ่ มอย่างง่าย (Simple Random
Sampling) ด้วยวิธีจบฉลาก โดยกลุ่มทดลองสาหรับการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์
ั
เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/2 จานวน 31 คน และกลุ่มควบคุมสาหรับการจัดการเรี ยนรู้โดย
ใช้วธีปกติ เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3 จานวน 31 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยประกอบด้วย
ิ
ั
3 ชนิด ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรี ยนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี หน่วย
องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ประกอบด้วย 2 รู ปแบบ โดยแต่ละรู ปแบบ
มีจานวน 3 แผน แผนละ 2 ชัวโมง รวม 6 ชัวโมง คือ (1) แผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้หนังสื อ
่
่
อิเล็กทรอนิกส์ มีคุณภาพโดยรวมในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความสอดคล้อง และความเป็ นไปได้
่
อยูในระดับมากที่สุด และ (2) แผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้วิธีปกติ มีคุณภาพโดยรวมในด้านความถูกต้อง
่
ความเหมาะสม ความสอดคล้อง และความเป็ นไปได้อยูในระดับมากที่สุด 2) หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์
กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี หน่ วยองค์ป ระกอบหลัก ของคอมพิ วเตอร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จานวน 5 เรื่ อง มีคุณภาพโดยรวมในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม
่
ความสอดคล้อง และความเป็ นไปได้อยูในระดับดีมาก 3) เครื่ องมือวัดและประเมินผล ประกอบด้วย
(1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชี พและเทคโนโลยี
หน่ วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เป็ นแบบปรนัยชนิ ดเลือกตอบ
4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ มีคุณภาพด้านความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้
“ก รเปร บเ บ ก ร ดก รเร ร 2

ระห ก รใ e-book กบ ปก ” โดย ร ร ร

ร เร

ด

33 ร ร *
ข

่
เท่ากับ 1 ทุกข้อ มีความเหมาะสมในด้านความชัดเจนในการใช้ภาษาเข้าใจง่ายอยูในระดับมาก
มี คุณภาพด้า นความเป็ นปรนัย โดยมี ค วามเหมาะสมของเกณฑ์ก ารให้ค ะแนนอยู่ใ นระดับ มาก
่
ความเหมาะสมของเกณฑ์การแปลผลอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์การตัดสิ นอยู่ใน
ระดับมาก มีค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.39 ถึง 0.77 ค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.23 ถึง 1.00 และมีค่า
ความเชื่ อมันทั้งฉบับเท่ากับ 0.88 (2) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยน
่
กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี หน่ วยองค์ประกอบหลัก ของคอมพิ วเตอร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 1 ฉบับ
่
ข้อคาถามจานวน 15 ข้อ มีคุณภาพในด้านความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างอยูในระดับมาก มีความเหมาะสม
่
ของข้อคาถามในด้านความชัดเจนใช้ภาษาเข้าใจง่ายอยูในระดับมาก มีค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.28
ถึง 0.65 และค่าความเชื่ อมันทั้งฉบับเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลคือ ค่าเฉลี่ ย
้
่
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานด้วย t-test กรณี กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดี ยวไม่เป็ น
อิสระต่อกัน และกรณี กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นอิสระต่อกัน
ผลการวิจยพบดังนี้
ั
1) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี
หน่ วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้สถิติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่าง
ไม่เป็ นอิสระต่อกัน พบว่า กลุ่มทดลองมีผลการเรี ยนรู ้ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู ง
กว่า ก่ อนเรี ย นอย่า งมี นัย ส าคัญทางสถิ ติที่ ระดับ 0.05 โดยมี ค ะแนนพัฒ นาการอย่า งเห็ น ได้ชัด
( D = 2.32, S D =2.98) สาหรับกลุ่มควบคุมมีผลการเรี ยนรู ้ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลัง
เรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสาคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 โดยมีคะแนนพัฒนาการอย่างเห็นได้
ั
( D = 1.65, S D =3.14) เช่นเดียวกัน
2) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี
หน่ วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุ ม
โดยใช้สถิติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่างเป็ นอิสระต่อกัน
(1) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนระหว่าง
้
กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นอิสระต่อกัน พบว่า กรณี
ก่อนเรี ยนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีผลการเรี ยนรู ้ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแตกต่างกัน
อย่างไม่มีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ั

“ก รเปร บเ บ ก ร ดก รเร ร 2

ระห ก รใ e-book กบ ปก ” โดย ร ร ร

ร เร

ด

33 ร ร *
ค

(2) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนระหว่าง
้
กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นอิสระต่อกัน พบว่า กรณี หลังเรี ยน
กลุ่มทดลองมีผลการเรี ยนรู ้ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนยสาคัญทาง
ั
สถิติที่ระดับ 0.05
(3)
ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ ดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนระหว่างกลุ่ม
้
ทดลองกับกลุ่มควบคุม กรณี ใช้ผลต่างของคะแนนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โดยใช้สถิติ t-test ในกรณี
กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นอิสระต่อกัน พบว่ากลุ่มทดลองมีผลการเรี ยนรู ้ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่า
กลุ่มควบคุมอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ั
(4) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู้ดานความพึงพอใจต่อการเรี ยนหลังเรี ยนระหว่าง
้
กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม โดยใช้สถิ ติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่างเป็ นอิสระต่อกัน พบว่า โดยรวม
กลุ่ มทดลองมี ความพึงพอใจต่อการเรี ยนสู งกว่ากลุ่ มควบคุ ม ( X  4.83,4.72, S  0.15,0.16 ) อย่างมี
นัยสาคัญที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า ด้านที่กลุ่มทดลองมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนสู งกว่า
กลุ่ มควบคุ มอย่างมี นัยส าคัญทางสถิ ติที่ระดับ .05 ใน 3 ด้าน คื อ ด้านกิ จกรรมการเรี ยนการสอน
( X  4.82,4.71, S  0.23,0.27 ) ด้านสื่ อการเรี ยนการสอน ( X  4.95,4.72, S  0.11,0.36 ) และ
ด้านประโยชน์ที่ได้จากการเรี ยนการสอน ( X  4.68,4.54, S  0.32,0.16 ) ส่ วนด้านเนื้ อหาและด้านการวัด
และประเมินผล พบว่ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีความพึงพอใจแตกต่างกันอย่างไม่มีนยสาคัญทางสถิติ
ั
ที่ระดับ .05 และเมื่อพิจารณาที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในรายด้านพบว่า ด้านกิจกรรม
การเรี ยนการสอน กลุ่มทดลองมีความพึงพอใจสู งกว่ากลุ่มควบคุม 2 ข้อ คือ ข้อ 4 กิจกรรมการจัดการเรี ยนรู ้
โดยใช้หนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ ได้แก่ การศึกษาเนื้ อหา การทาแบบฝึ กหัด การทบทวนความรู้ และ
การทดสอบที่กาหนดในแต่ละครั้ง ( X  4.90,4.47, S  0.30,0.44) และข้อ 7 ครู เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้
ั
ทบทวนเนื้ อหาบทเรี ยน ทาใบงานด้วยคอมพิวเตอร์ และศึ กษาเพิ่มเติ มนอกเวลาเรี ยนสม่ าเสมอ
( X  4.80,4.55, S  0.47,0.68 ) ด้านสื่ อการเรี ยนการสอน กลุ่มทดลองมีความพึงพอใจสู งกว่า
กลุ่มควบคุม 2 ข้อ คือ ข้อ 8 สื่ อการเรี ยนการสอนตอบสนองการเรี ยนรู ้ในยุคปั จจุบนได้อย่างเหมาะสม
ั
( X  4.94,4.65, S  0.25,0.61 ) และข้อ 9 สื่ อการเรี ยนการสอนออกแบบได้เหมาะสม สวยงาม สร้างสรรค์
( X  5.00,4.71, S  0.00,0.53) และด้านประโยชน์ที่ได้จากการเรี ยนการสอน กลุ่ มทดลอง
มีความพึงพอใจสู งกว่ากลุ่มควบคุม 1 ข้อ คือ ข้อ 13 นักเรี ยนเกิดทักษะและความชานาญในการใช้
คอมพิวเตอร์ปฏิบติงาน ( X  4.65,4.35, S  0.49,0.80)
ั

“ก รเปร บเ บ ก ร ดก รเร ร 2

ระห ก รใ e-book กบ ปก ” โดย ร ร ร

ร เร

ด

33 ร ร *

More Related Content

What's hot

การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์Hami dah'Princess
 
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisการวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisTupPee Zhouyongfang
 
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรมการประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรมPrachyanun Nilsook
 
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3Jariya Jaiyot
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติJeeraJaree Srithai
 
การสอนแบบอิงประสบการณ์
การสอนแบบอิงประสบการณ์การสอนแบบอิงประสบการณ์
การสอนแบบอิงประสบการณ์narongsak promwang
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมNU
 

What's hot (16)

การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisการวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรมการประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
การประเมินผลตามกรอบTqf ด้านวิศวกรรม
 
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
 
การสอนแบบอิงประสบการณ์
การสอนแบบอิงประสบการณ์การสอนแบบอิงประสบการณ์
การสอนแบบอิงประสบการณ์
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
Grading1
Grading1Grading1
Grading1
 

Viewers also liked

สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์ms-word2010-preface
 
ลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacity
ลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacityลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacity
ลบเสียงรบกวนโปรแกรม AdacityJeeraJaree Srithai
 
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้น
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้นตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้น
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้นJeeraJaree Srithai
 
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมลJeeraJaree Srithai
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Kanda Runapongsa Saikaew
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 

Viewers also liked (9)

สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
สไลด์หน้าบทเรียนออนไลน์
 
Audacity use
Audacity useAudacity use
Audacity use
 
ลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacity
ลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacityลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacity
ลบเสียงรบกวนโปรแกรม Adacity
 
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้น
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้นตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้น
ตัวอย่างงานสร้างสรรค์งานสืบค้น
 
คู่มือ Courselab
คู่มือ Courselabคู่มือ Courselab
คู่มือ Courselab
 
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
02ใบความรู้ที่2.1 อีเมล
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 

Similar to บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-book กับวิธีปกติ โ

2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียนJeeraJaree Srithai
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยsuthida
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...Kruthai Kidsdee
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลีบทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลี12251600
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstractskruwaeo
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 

Similar to บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-book กับวิธีปกติ โ (20)

2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัย
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
 
Abstarct
AbstarctAbstarct
Abstarct
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลีบทคัดย่อ มาลี
บทคัดย่อ มาลี
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstracts
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
Mcatesting program
Mcatesting programMcatesting program
Mcatesting program
 
B1
B1B1
B1
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 

บทคัดย่องานวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบวิธีการจัดการเรียนรู้ 2 วิธี ระหว่าง e-book กับวิธีปกติ โ

  • 1. ก ชื่องานวิจย ั ที่ปรึ กษา ผูวจย ้ิั ปี ที่ศึกษา การเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ระหว่างวิธีการ จัดการเรี ยนรู้โดยใช้หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์และวิธีปกติ ดร.เกื้อ กระแสโสม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ รินทร์ นางจีรา ศรี ไทย 2555 บทคัดย่อ การวิจยในครั้งนี้ มีวตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ั ั การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ก่อนเรี ยน และหลังเรี ยนด้วยวิธีการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์และวิธีปกติ และ 2) เพื่อเปรี ยบเทียบ ผลการเรี ยนรู้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ั ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ด้วยวิธีการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้หนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ กบวิธีปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนนาดีวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 จานวน 2 ห้องเรี ยน ได้มาโดยการสุ่ มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยวิธีจบฉลาก โดยกลุ่มทดลองสาหรับการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ ั เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/2 จานวน 31 คน และกลุ่มควบคุมสาหรับการจัดการเรี ยนรู้โดย ใช้วธีปกติ เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3 จานวน 31 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยประกอบด้วย ิ ั 3 ชนิด ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรี ยนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี หน่วย องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ประกอบด้วย 2 รู ปแบบ โดยแต่ละรู ปแบบ มีจานวน 3 แผน แผนละ 2 ชัวโมง รวม 6 ชัวโมง คือ (1) แผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้หนังสื อ ่ ่ อิเล็กทรอนิกส์ มีคุณภาพโดยรวมในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความสอดคล้อง และความเป็ นไปได้ ่ อยูในระดับมากที่สุด และ (2) แผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้วิธีปกติ มีคุณภาพโดยรวมในด้านความถูกต้อง ่ ความเหมาะสม ความสอดคล้อง และความเป็ นไปได้อยูในระดับมากที่สุด 2) หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี หน่ วยองค์ป ระกอบหลัก ของคอมพิ วเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จานวน 5 เรื่ อง มีคุณภาพโดยรวมในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ่ ความสอดคล้อง และความเป็ นไปได้อยูในระดับดีมาก 3) เครื่ องมือวัดและประเมินผล ประกอบด้วย (1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้การงานอาชี พและเทคโนโลยี หน่ วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เป็ นแบบปรนัยชนิ ดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ มีคุณภาพด้านความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ “ก รเปร บเ บ ก ร ดก รเร ร 2 ระห ก รใ e-book กบ ปก ” โดย ร ร ร ร เร ด 33 ร ร *
  • 2. ข ่ เท่ากับ 1 ทุกข้อ มีความเหมาะสมในด้านความชัดเจนในการใช้ภาษาเข้าใจง่ายอยูในระดับมาก มี คุณภาพด้า นความเป็ นปรนัย โดยมี ค วามเหมาะสมของเกณฑ์ก ารให้ค ะแนนอยู่ใ นระดับ มาก ่ ความเหมาะสมของเกณฑ์การแปลผลอยูในระดับมาก ความเหมาะสมของเกณฑ์การตัดสิ นอยู่ใน ระดับมาก มีค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.39 ถึง 0.77 ค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.23 ถึง 1.00 และมีค่า ความเชื่ อมันทั้งฉบับเท่ากับ 0.88 (2) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยน ่ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี หน่ วยองค์ประกอบหลัก ของคอมพิ วเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 1 ฉบับ ่ ข้อคาถามจานวน 15 ข้อ มีคุณภาพในด้านความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างอยูในระดับมาก มีความเหมาะสม ่ ของข้อคาถามในด้านความชัดเจนใช้ภาษาเข้าใจง่ายอยูในระดับมาก มีค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.28 ถึง 0.65 และค่าความเชื่ อมันทั้งฉบับเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลคือ ค่าเฉลี่ ย ้ ่ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานด้วย t-test กรณี กลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดี ยวไม่เป็ น อิสระต่อกัน และกรณี กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นอิสระต่อกัน ผลการวิจยพบดังนี้ ั 1) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี หน่ วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยใช้สถิติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่าง ไม่เป็ นอิสระต่อกัน พบว่า กลุ่มทดลองมีผลการเรี ยนรู ้ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู ง กว่า ก่ อนเรี ย นอย่า งมี นัย ส าคัญทางสถิ ติที่ ระดับ 0.05 โดยมี ค ะแนนพัฒ นาการอย่า งเห็ น ได้ชัด ( D = 2.32, S D =2.98) สาหรับกลุ่มควบคุมมีผลการเรี ยนรู ้ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลัง เรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสาคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 โดยมีคะแนนพัฒนาการอย่างเห็นได้ ั ( D = 1.65, S D =3.14) เช่นเดียวกัน 2) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี หน่ วยองค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุ ม โดยใช้สถิติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่างเป็ นอิสระต่อกัน (1) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนเรี ยนระหว่าง ้ กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นอิสระต่อกัน พบว่า กรณี ก่อนเรี ยนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีผลการเรี ยนรู ้ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแตกต่างกัน อย่างไม่มีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ั “ก รเปร บเ บ ก ร ดก รเร ร 2 ระห ก รใ e-book กบ ปก ” โดย ร ร ร ร เร ด 33 ร ร *
  • 3. ค (2) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนระหว่าง ้ กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นอิสระต่อกัน พบว่า กรณี หลังเรี ยน กลุ่มทดลองมีผลการเรี ยนรู ้ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนยสาคัญทาง ั สถิติที่ระดับ 0.05 (3) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู ้ ดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนระหว่างกลุ่ม ้ ทดลองกับกลุ่มควบคุม กรณี ใช้ผลต่างของคะแนนก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โดยใช้สถิติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นอิสระต่อกัน พบว่ากลุ่มทดลองมีผลการเรี ยนรู ้ในด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ั (4) ผลการเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู้ดานความพึงพอใจต่อการเรี ยนหลังเรี ยนระหว่าง ้ กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม โดยใช้สถิ ติ t-test ในกรณี กลุ่มตัวอย่างเป็ นอิสระต่อกัน พบว่า โดยรวม กลุ่ มทดลองมี ความพึงพอใจต่อการเรี ยนสู งกว่ากลุ่ มควบคุ ม ( X  4.83,4.72, S  0.15,0.16 ) อย่างมี นัยสาคัญที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านพบว่า ด้านที่กลุ่มทดลองมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนสู งกว่า กลุ่ มควบคุ มอย่างมี นัยส าคัญทางสถิ ติที่ระดับ .05 ใน 3 ด้าน คื อ ด้านกิ จกรรมการเรี ยนการสอน ( X  4.82,4.71, S  0.23,0.27 ) ด้านสื่ อการเรี ยนการสอน ( X  4.95,4.72, S  0.11,0.36 ) และ ด้านประโยชน์ที่ได้จากการเรี ยนการสอน ( X  4.68,4.54, S  0.32,0.16 ) ส่ วนด้านเนื้ อหาและด้านการวัด และประเมินผล พบว่ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีความพึงพอใจแตกต่างกันอย่างไม่มีนยสาคัญทางสถิติ ั ที่ระดับ .05 และเมื่อพิจารณาที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในรายด้านพบว่า ด้านกิจกรรม การเรี ยนการสอน กลุ่มทดลองมีความพึงพอใจสู งกว่ากลุ่มควบคุม 2 ข้อ คือ ข้อ 4 กิจกรรมการจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้หนังสื ออิเล็กทรอนิ กส์ ได้แก่ การศึกษาเนื้ อหา การทาแบบฝึ กหัด การทบทวนความรู้ และ การทดสอบที่กาหนดในแต่ละครั้ง ( X  4.90,4.47, S  0.30,0.44) และข้อ 7 ครู เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนได้ ั ทบทวนเนื้ อหาบทเรี ยน ทาใบงานด้วยคอมพิวเตอร์ และศึ กษาเพิ่มเติ มนอกเวลาเรี ยนสม่ าเสมอ ( X  4.80,4.55, S  0.47,0.68 ) ด้านสื่ อการเรี ยนการสอน กลุ่มทดลองมีความพึงพอใจสู งกว่า กลุ่มควบคุม 2 ข้อ คือ ข้อ 8 สื่ อการเรี ยนการสอนตอบสนองการเรี ยนรู ้ในยุคปั จจุบนได้อย่างเหมาะสม ั ( X  4.94,4.65, S  0.25,0.61 ) และข้อ 9 สื่ อการเรี ยนการสอนออกแบบได้เหมาะสม สวยงาม สร้างสรรค์ ( X  5.00,4.71, S  0.00,0.53) และด้านประโยชน์ที่ได้จากการเรี ยนการสอน กลุ่ มทดลอง มีความพึงพอใจสู งกว่ากลุ่มควบคุม 1 ข้อ คือ ข้อ 13 นักเรี ยนเกิดทักษะและความชานาญในการใช้ คอมพิวเตอร์ปฏิบติงาน ( X  4.65,4.35, S  0.49,0.80) ั “ก รเปร บเ บ ก ร ดก รเร ร 2 ระห ก รใ e-book กบ ปก ” โดย ร ร ร ร เร ด 33 ร ร *