SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
การยศาสตร์
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
7/21/2014 1
การยศาสตร์
 ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างคนกับ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
 นาไปประยุกต์หรือปรับปรุงสภาพของงานให้
เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน และทาให้งานเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ
 ผู้ปฏิบัติงานมีความเป็นอยู่และมีสุขภาพอนามัยที่ดี
7/21/2014 2
การยศาสตร์ให้อะไรบ้าง
7/21/2014 3
ปัจจัยเสี่ยงทางด้านการยศาสตร์
7/21/2014 4
ปรัชญาของการยศาสตร์
 คิดถึงคนเป็นศูนย์กลาง
 ออกแบบให้สะดวกต่อผู้ใช้
 ออกแบบงานให้เหมาะกับคน
 เลือกคนให้เหมาะกับงาน
7/21/2014 5
หลักการพื้นฐานของการออกแบบ
ทางการยศาสตร์
7/21/2014 6
สาเหตุการบาดเจ็บจากการทางาน
1.สภาพการทางานไม่เหมาะสม ได้แก่
• แสงสว่าง
• เสียงดัง
• อุณหภูมิ
• ความสั่นสะเทือน ความเร็วของเครื่องจักร
• งานซ้าซากจาเจ
7/21/2014 7
สาเหตุการบาดเจ็บจากการทางาน
2. อุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือต่างๆ ที่มี
ขนาดไม่เหมาะสมกับขนาด สัดส่วนของ
ร่างกายผู้ปฏิบัติงาน
7/21/2014 8
สาเหตุการบาดเจ็บจากการทางาน
3.ลักษณะงานที่ทาด้วยท่าทางอิริยาบถที่
ฝืนธรรมชาติ ได้แก่
• งานที่ต้องมีการบิดโค้งงอของข้อมือ งอแขน
งอข้อศอก การจับ โดยเฉพาะนิ้วมือซ้าๆ
• งานที่ต้องก้มศีรษะ ก้มหลัง บิดเอี้ยวตัว เอื้อม
หรือยกสิ่งของขึ้นสุดแขน
7/21/2014 9
ปัญหาการยศาสตร์ในสถานประกอบการ
1. การประสบอันตรายจากการยกหรือ
เคลื่อนย้ายของหนัก
2. การประสบอันตรายจากท่าทางการทางาน
3. อาการเจ็บป่วยจากการเคลื่อนย้ายของหนัก
4. อาการเจ็บป่วยจากท่าทางการทางาน
7/21/2014 10
ท่าทางที่ไม่เหมาะสม
คอ
• ช่วงการเคลื่อนไหวที่มากกว่า 15 องศา
• กล้ามเนื้อจะล้าได้ง่าย
• กล้ามเนื้อเอ็นรอบข้อกระดูกสันหลัง
ส่วนคอ ถูกยืดมากเกินไป
7/21/2014 11
ท่าทางที่ไม่เหมาะสม
หลัง
• ก้มมากกว่า 20 องศา แอ่นหลัง หมุน
หรือ เอียงตัว หลายกิจกรรมร่วมกัน
เนื่องจากเกิดแรงกดที่กระดูกสันหลัง
7/21/2014 12
วิธีการยกที่ควรแนะนา
1. ทดสอบน้าหนักก่อน ถ้าหนักเกินไป ควรขอความ
ช่วยเหลือ
2. อย่ายกแบบกระตุก หรือกระชาก การยกต้องควบคุมได้
3. ยกอยู่ในแนวระนาบหน้า - หลัง ไม่บิด ใช้การก้าว แทน
การหมุนตัว เวลาเปลี่ยนทิศทาง
4. ระยะทางในการยกไม่ควรมากเกินไป
5. พัก เมื่อมีอาการเหนื่อย หรือล้า
7/21/2014 13
ท่ายกของที่ถูกวิธี
7/21/2014 14
การปรับปรุงสภาพการทางาน
1. ไม่ยกของหนักเกินกาลัง
2. ใช้คนช่วย หรือเครื่องมือ
3. ของที่หนักไม่ควรวางบนพื้น
7/21/2014 15
ท่าทางการนั่งทางานคอมพิวเตอร์ที่ถูกต้อง
1. ตาแหน่งของคอมพิวเตอร์ ไม่ควรวางคอมพิวเตอร์
ไว้ในที่มีแสงสะท้อนมาก
2. ระดับของจอภาพ ควรปรับระดับจอภาพให้อยู่ใน
แนวต่ากว่าระดับสายตาเล็กน้อย
3. การนั่ง ควรนั่งห่างจากตัวเครื่องประมาณ 2 – 2.5
ฟุต นั่งลาตัวให้ตรง แผ่นหลังพอดีกับพนักพิงเก้าอี้
7/21/2014 16
ท่าทางการนั่งทางานคอมพิวเตอร์ที่ถูกต้อง
4. การวางข้อศอก ควรวางข้อศอกให้อยู่ในแนว
เดียวกับระดับการพิมพ์
5. การวางเท้า ควรวางเท้าให้พอดีกับพื้นราบ
6. การพักสายตา ในระหว่างที่ใช้เครื่องควรมี
การพักสายตาเป็นระยะ
7/21/2014 17
ท่าทางการใช้งานที่ถูกต้อง ท่าทางการทางานที่ไม่ถูกต้อง
7/21/2014 18
โรคทางการยศาสตร์
7/21/2014 19
• ท่าทางการทางาน
• การทางานซ้าซาก
• ปริมาณงาน
7/21/2014 20
ท่านี้ทาเกิดโรคอะไรค่ะ
จากการทางาน
7/21/2014 21
งานบางประเภททาให้เกิดอันตรายจาก
• การยก
• ท่าทางที่น่าเกลียด
• การออกแรงจับหรือหยิบ
• การเคลื่อนไหวซ้าๆกัน
• การสั่นสะเทือนที่แขน และมือ
7/21/2014 22
โรคเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ
• ส่วนบน ได้แก่ มือ แขน ไหล่
คอ หลังส่วนต้น
• หลัง
• ขา และ เท้า
7/21/2014 23
อันตรายต่อไหล่ แขนส่วนต้น หลังส่วนบน
คอ ศีรษะ
• การยืดแขนจนสุด
• การยกแขนเพื่อทางาน
• การไขว้แขนไปด้านหลังหรือเอื้อมข้ามลาตัว
• การโยน
• การเงยศีรษะค้างไว้
• ความเครียด
7/21/2014 24
อันตรายต่อหลังส่วนล่าง
• การยกของหนัก
• การเอี้ยวตัวซ้าซาก
• การบิดตัว
• การอยู่ในท่าเดิมนานๆ
7/21/2014 25
อันตรายต่อหลังส่วนล่าง
• ปวดหลัง
• กระดูกสันหลังเคลื่อน
• เอ็นอักเสบ
• กล้ามเนื้ออักเสบ
• ปวดกระดูก
7/21/2014 26
อาการปวดหลัง
1. อาการปวดหลังเป็นอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นได้กับ
ทุกคน ทุกอาชีพ เกือบจะทุกอายุ
2. ในวัยรุ่นมักเกิดจากการเล่นกีฬา
3. ในวัยทางานเกิดจากการปฏิบัติงาน, อุบัติเหตุ
4. ในผู้ที่มีอายุสูงขึ้นมักเกิดจากความเสื่อมของ
กระดูกและข้อของกระดูกสันหลัง
7/21/2014 27
การทางานในลักษณะต่างๆจะมีผลในเกิดแรงกระทาต่อ
กระดูกสันหลัง
7/21/2014 28
นั่งหลังค่อมเก้าอี้ห่างโต๊ะ
ปวดหลังได้
7/21/2014 29
นั่งหลังตรงมีพนักดันหลังและนั่งใกล้โต๊ะ
ทาให้ไม่ปวดหลัง
7/21/2014 30
สาเหตุการปวดหลัง
7/21/2014 31
อันตรายต่อเท้าและขา
• การยืนนาน การใช้เท้าเหยียบ
กระเดื่องบ่อยๆ
• การยกหรือบิดขาเพื่อกดปุ่ม
• ทาให้เกิดเส้นเลือดขอด
7/21/2014 32
อันตรายต่อเท้าและขา
• หลอดเลือดดาอักเสบ
• ปวดเอ็นข้อเท้า
• ปวดขา
• เท้าบวม
7/21/2014 33
การยกที่ปลอดภัย
การยกที่ปลอดภัย: เคล็ดลับที่ทาให้หลังของ
คุณปลอดภัย คุณเคยตรวจสอบของที่คุณจะ
ยกหรือไม่?
• ทดสอบอย่างง่ายๆโดยการผลักด้วยมือหรือเท้าเบาๆ
เราจะทราบว่าของ ที่จะยกหนักเท่าไร
• จาไว้ว่าของขนาดเล็กไม่ได้หมายความว่าจะมีน้าหนัก
เบา
7/21/2014 34
• ให้แน่ใจว่ามันไม่เคลื่อนที่ไปมา และมีการ
กระจายน้าหนักอย่างสมดุลย์
• ของที่มีขนาดเล็กกว่าบรรจุภัณฑ์ อาจทาให้เกิด
อุบัติเหตุ ถ้ากล่องไม่สมดุลย์
ของที่คุณจะยกได้รับการบรรจุ
อย่างถูกต้องหรือไม่?
7/21/2014 35
• ให้แน่ใจว่าสามารถหยิบจับได้ถนัดมือ และ
แน่นหนา ก่อนที่จะยก
• การเพิ่มที่จับ (หูจับ) จะช่วยให้ยกง่ายขึ้น และ
ปลอดภัย ยิ่งขึ้น
ของที่จะยกนั้นหยิบจับถนัดมือหรือไม่?
7/21/2014 36
• คุณอาจบาดเจ็บเขย่งหรือเอื้อมมือเพื่อยกของ
เหนือศีรษะของคุณ
• พยายามใช้บันใดเมื่อยกของที่อยู่เหนือศีรษะของ
คุณ
ต้องเขย่งตัวเพื่อเข้าไปยกสิ่งของนั้นหรือไม่?
7/21/2014 37
การยกของหนัก
ไปหรือไม่ครับ
7/21/2014 38
7/21/2014 39
ท่ายกของที่ถูกต้อง
7/21/2014 40
เปรียบเทียบท่านั่งทางานกับท่ายกของที่ถูกต้อง
7/21/2014 41
7/21/2014 42
ตัวอย่างแบบสารวจทางด้านการยศาสตร์
ในสถานประกอบการ
7/21/2014 43
7/21/2014 44
7/21/2014 45
7/21/2014 46
7/21/2014 47
โรคออฟฟิศซินโดรม
โรคออฟฟิศซินโดรม
"Office Syndrome"
• เป็นโรคร้ายสาหรับคนที่กินเงินเดือน
• คุณอาจเป็นคนหนึ่งที่ชอบปวดหัว ปวดหัวตา
ปวดหลัง ปวดไหล่บ่อยๆ
7/21/2014 48
โรคออฟฟิศซินโดรม
• เป็นกลุ่มอาการที่พบบ่อยในคนวัยทางาน
ออฟฟิศที่สภาพแวดล้อมในที่ทางานไม่
เหมาะสม
• ไม่ว่าจะเป็นการนั่งทางานตลอดเวลา
• หรือไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย
7/21/2014 49
โรคออฟฟิศซินโดรม
• ส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบและปวดเมื่อย
ตามอวัยวะต่างๆ
• อาทิ หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ
• สาหรับประเทศไทยเคยสารวจในคนทางานที่
สานักพิมพ์แห่งหนึ่งจานวน 400 คนพบว่าร้อยละ
60 มีภาวะดังกล่าว
7/21/2014 50
กลุ่มอาการ Office Syndrome
7/21/2014 51
ปรับพฤติกรรม
• กะพริบตาบ่อยๆ
• ยืดเหยียดกล้ามเนื้อมือและแขนทุกๆ 1 ชั่วโมง
• พักสายตาจากจอคอมพิวเตอร์ทุกๆ 10 นาที
•
ออฟฟิศซินโดรม...เลี่ยงได้ไม่ยาก
7/21/2014 52
ปรับพฤติกรรม
• เปลี่ยนท่าการทางานทุก 20 นาที
• นั่งหลังตรงชิดขอบด้านในของเก้าอี้
• วางข้อมือในตาแหน่งตรง ไม่บิด หรืองอข้อมือขึ้นหรือลง
ออฟฟิศซินโดรม...เลี่ยงได้ไม่ยาก
7/21/2014 53
ออฟฟิศซินโดรม...เลี่ยงได้ไม่ยาก
ปรับอุปกรณ์เครื่องใช้สานักงาน
1. คอมพิวเตอร์
• ตั้งจอคอมพิวเตอร์และคีย์บอร์ดไว้ในแนวตรงกับหน้า
• ขอบบนของจอคอมพิวเตอร์ ควรอยู่ระดับสายตา ในท่า
นั่งที่คุณรู้สึกสบาย
7/21/2014 54
ออฟฟิศซินโดรม...เลี่ยงได้ไม่ยาก
1. คอมพิวเตอร์
• จอคอมพิวเตอร์ควรอยู่ห่างเท่ากับความยาวแขน ซึ่งเป็น
ระยะที่อ่านสบายตา
• ควรให้จออยู่ในมุมที่เหนือกว่าระดับตาเล็กน้อย
•ใช้เมาส์ โดยพักข้อศอกบนที่รองแขน และสามารถ
เคลื่อนไหวได้แบบไม่จากัดพื้นที่
7/21/2014 55
ออฟฟิศซินโดรม...เลี่ยงได้ไม่ยาก
2. โต๊ะ-เก้าอี้
• ควรปรับให้ขอบของเบาะเก้าอี้ต่ากว่าระดับเข่า
• ลองนั่งบนเก้าอี้แล้ววางเท้าลงบนพื้น ให้ขาทามุมประมาณ
90 องศา
• ปรับพนักพิงให้รองรับกับหลังส่วนล่าง ถ้าไม่สามารถทาได้
ใช้หมอนหนุนหลังส่วนล่าง
7/21/2014 56
ออฟฟิศซินโดรม...เลี่ยงได้ไม่ยาก
2. โต๊ะ-เก้าอี้
• ปรับที่รองแขนให้อยู่ระดับข้อศอกและไหล่อยู่ในระดับที่
ผ่อนคลาย
• ปรับให้มีช่องว่างระหว่างขอบเก้าอี้กับขาด้านหลัง
• ปรับที่วางคีย์บอร์ดให้อยู่ในระดับข้อศอก ทามุม 90
องศา
7/21/2014 57
ออฟฟิศซินโดรม...เลี่ยงได้ไม่ยาก
7/21/2014 58
เคล็ดลับการป้ องกันโรคออฟฟิศซินโดรม
1. ออกกาลังกายสม่าเสมอ
2. ระวังเรื่องท่าทางและบุคลิกภาพ อย่านั่งไหล่ห่อ หลัง
ค่อม
3. ยกของหนักจากพื้น ไม่ควรใช้วิธีก้มแล้วยก แต่ควรใช้วิธี
ย่อตัวแล้วยก ให้หลังตั้งฉากอยู่เสมอ เพื่อป้ องกันโรคหมอน
รองกระดูกเคลื่อน
7/21/2014 59
เคล็ดลับการป้ องกันโรคออฟฟิศซินโดรม
4. เมื่อเกิดอาการปวดเมื่อย อย่าฝืนร่างกาย ให้เดินออกไป
ทาอะไรสัก 3-5 นาที เช่น เดินไปดื่มน้า เข้าห้องน้า
5. ระมัดระวังการใส่ส้นสูง อย่าใส่ให้สูงเกินไป ความสูงที่
เหมาะสมคือ ไม่เกิน 2 นิ้ว แต่หากมีความจาเป็นจริงๆ ต้อง
ใส่เพื่อออกงาน ก็ควรเตรียมรองเท้าไว้เปลี่ยนเมื่อถึงเวลา
พัก
6. ระมัดระวังอย่าให้เครียดจนเกินไป
7/21/2014 60
7/21/2014 61
12 ท่ายืดเส้นยืดสายป้ องกันโรค ออฟฟิศซินโดรม
วิธีสร้างภูมิคุ้มกันโรคออฟฟิศซินโดรม
1. ปรับ work station ให้เหมาะสม เปลี่ยนอิริยาบถทุก
15-20 นาที
2. ควรเปิดหน้าต่างออฟฟิศให้อากาศได้ระบาย อย่างน้อย
ในตอนเช้าที่อากาศยังไม่ร้อนมาก
3. ควรปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกครั้งที่ไม่ได้ใช้งาน เพื่อลด
ระยะเวลาในการรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
7/21/2014 62
วิธีสร้างภูมิคุ้มกันโรคออฟฟิศซินโดรม
4. หาต้นไม้ในร่มมาปลูก เพื่อช่วยดูดซับสารพิษและเป็นที่
พักสายตา
5. ควรติดตั้งเครื่องฟอกอากาศและจะดียิ่งขึ้นถ้ามีตู้ปลา
ขนาดใหญ่ๆ สักตู้ เพื่อช่วยคืนสมดุลความชื้นที่เสียไปกับ
เครื่องปรับอากาศ
6. หมั่นทาความสะอาดโต๊ะทางานของคุณเอง ด้วย
แอลกอฮอล์เพื่อฆ่าเชื้อโรค
7/21/2014 63
วิธีสร้างภูมิคุ้มกันโรคออฟฟิศซินโดรม
7. ถ้าอยู่หน้าคอมพิวเตอร์นานๆ ให้เงยหน้าขึ้นมอง
ออกไปไกลๆ ทุกๆ 20 นาที เพื่อบรรเทาความเหนื่อย
ล้าของสายตา
8.ปรับระดับเก้าอี้และจอคอมพิวเตอร์ให้สมดุลกับ
ระดับสายตา
7/21/2014 64
วิธีสร้างภูมิคุ้มกันโรคออฟฟิศซินโดรม
9. ปรับโต๊ะทางานให้มีระดับพอดีกับข้อศอก เพื่อจะ
ได้กดแป้ นคีย์บอร์ดได้ถนัด
10. ควรมีที่รองรับข้อมือ เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิด
อาการกระดกข้อมือซ้าๆ
7/21/2014 65
7/21/2014 66
ช่องทางการติดต่อ….
 facebook:
prachaya56@hotmail.com
เข้าร่วมในกลุ่มคลินิกอาชีวอนามัย
7/21/2014 67

More Related Content

What's hot

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
Dashodragon KaoKaen
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
Yanee Tongmanee
 
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
Siririn Noiphang
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
taem
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
maethaya
 

What's hot (20)

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการการประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
ทฤษฏีความต้องการพื้นฐาน(มาสโลว์)
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Ppt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อมPpt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อม
 
หน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไกหน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไก
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 

Viewers also liked

โรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่างโรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่าง
Aoom Sam
 
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
Sureerut Physiotherapist
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
Viam Manufacturing
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
wattumplavittayacom
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
Janjira Majai
 

Viewers also liked (19)

โรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่างโรคปวดหลังส่วนล่าง
โรคปวดหลังส่วนล่าง
 
คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานคู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
 
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมี
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมีอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมี
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในการทำงานกับสารเคมี
 
แนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลัง
แนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลังแนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลัง
แนวทางปฏิบัติในผู้ป่วยอาการปวดหลัง
 
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
ท่าทางกับปัญหาปวดหลัง(รพ.ทัพทัน)
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
 
Minggu3 biomechanics telkom university
Minggu3 biomechanics telkom universityMinggu3 biomechanics telkom university
Minggu3 biomechanics telkom university
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
งานที่4 powerpoint
งานที่4 powerpointงานที่4 powerpoint
งานที่4 powerpoint
 
ปวดหลัง
ปวดหลังปวดหลัง
ปวดหลัง
 
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)
 
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagiaClinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
 
Chronic Back Pain
Chronic Back PainChronic Back Pain
Chronic Back Pain
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
cloning and sub-cloning
cloning and sub-cloningcloning and sub-cloning
cloning and sub-cloning
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
Heatstroke update
Heatstroke update Heatstroke update
Heatstroke update
 

Similar to Ppt+การยศ..

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
sonsukda
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
supap6259
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
Watcharin Chongkonsatit
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
Watcharin Chongkonsatit
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
sonsukda
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
Nok Tiwung
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
kungcomedu
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
sonsukda
 
File เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญาFile เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญา
Monthon Sorakraikitikul
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
anira143 anira143
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
Ipst Thailand
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Nan Natni
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
tassanee chaicharoen
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ya035
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
NusaiMath
 

Similar to Ppt+การยศ.. (20)

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
การแนะแนว
การแนะแนวการแนะแนว
การแนะแนว
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
การจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนวการจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนว
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
 
56540121
5654012156540121
56540121
 
งานท Template 5
งานท   Template 5งานท   Template 5
งานท Template 5
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
 
File เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญาFile เพาะพันธุ์ปัญญา
File เพาะพันธุ์ปัญญา
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 

More from Prachaya Sriswang

โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
Prachaya Sriswang
 

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 

Ppt+การยศ..

Editor's Notes

  1. ผู้ปฏิบัติงานมีความเป็นอยู่และมีสุขภาพอนามัยที่ดี ซึ่ง สภาพแวดล้อมในการทำงาน ได้แก่ สิ่งแวดล้อม วัสดุสิ่งของ เครื่องมือ วิธี/ท่าทางการทำงาน ขั้นตอนการทำงาน และขนาดสัดส่วนร่างกาย
  2. 1. ตำแหน่งของคอมพิวเตอร์ ไม่ควรวางคอมพิวเตอร์ไว้ในที่มีแสงสะท้อนมากเนื่องจากแสงสะท้อนเข้าตาทาให้เสียสายตาได้ 2. ระดับของจอภาพ ควรปรับระดับจอภาพให้อยู่ในแนวต่ำกว่าระดับสายตาเล็กน้อยจะได้มองหน้าจอได้อย่างสบายตา 3. การนั่ง ควรนั่งห่างจากตัวเครื่องประมาณ 2 – 2.5 ฟุต นั่งลาตัวให้ตรง ในท่าที่สบายให้แผ่นหลังพอดีกับพนักพิงเก้าอี้