SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ที่ปรึกษา
อาจารย์ ทัศณุ เรืองสุวรรณ์
โดย
นายอิสระภาพ โพธิ์ศรี รหัสนักศึกษา 52118627
นางสาวนริศรา พรหมอารักษ์ รหัสนักศึกษา 52145802 1
10/10/57
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ที่มาและความสาคัญ
2
ประเมินความ
เสี่ยงด้าน
อัคคีภัยของ
B.WU
ตัวอย่าง
ปัจจัย
เพื่อ
Lab สหเวชฯ
จุฬาฯ ไฟไหม้
2555
Lab เทคนิค
การแพทย์ มวล.
ไฟไหม้ 2545
ห้องอบยา
เภสัช มข.
ระเบิด2554
แก๊ส ไฟฟ้ า
สารเคมี
มาตรการป้ องกัน
และควบคุมความ
เสี่ยง
ระดับความเสี่ยง
สภาพการณ์ที่ไม่
ปลอดภัยไม่
สอดคล้องตาม
กฎหมาย
10/10/57
2.1 เพื่อสำรวจสภำพกำรณ์ที่ไม่ปลอดภัยของอำคำรศูนย์เครื่องมือ
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
2.2 เพื่อประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยที่อำจเกิดข้นนของอำคำรศูนย์
เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
2.3 เพื่อเสนอแนะมำตรกำรและแผนงำนกำรจัดกำรควำมเสี่ยงด้ำน
อัคคีภัยของอำคำรศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
3
วัตถุประสงค์
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
กำรชีนบ่งอันตรำยด้วยเทคนิคChecklist
- อุปกรณ์ป้ องกันและระงับอัคคีภัย
- กำรใช้และเก็บรักษำสำรเคมี สำรไวไฟ สิ่งที่ทำให้เกิดอัคคีภัย
- ไฟฟ้ ำ 4
กรอบแนวคิด
- สภำพกำรณ์ที่ไม่ปลอดภัย
ไม่สอดคล้องตำมกฎหมำย
- ระดับควำมเสี่ยงด้ำน
อัคคีภัย
- มำตรกำรควบคุมควำม
เสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- อำคำรศูนย์เครื่องมือ
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
- ประเภทของห้องปฏิบัติ
10/10/57
กำรศ้กษำครันงนีนเป็นกำรประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยของอำคำร
ศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์โดย
ใช้เทคนิค Checklist มีระยะเวลำกำรศ้กษำตันงแต่เดือนตุลำคม
พ.ศ.2556 ถ้ง เดือนมีนำคม 2557
5
ขอบเขตการศึกษา
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
4.1 เพื่อทรำบถ้งสภำพกำรณ์ที่ไม่ปลอดภัยของอำคำรศูนย์เครื่องมือ
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
4.2 เพื่อทรำบถ้งควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยที่อำจเกิดของอำคำรศูนย์
เ ค รื่ อ ง มื อ
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
4.3 เพื่อนำผลกำรประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยไปใช้เป็นทำงในกำร
ควบคุมควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยของอำคำรศูนย์เครื่องมือ
วิ ท ย ำ ศ ำ ส ต ร์
และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
6
ประโยชน์ที่คาดว่าจะ
ได้รับ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
7
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
นิยามศัพท์เฉพาะ
ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ หมายถึง
หน่วยงานที่มีหน้าที่ให้บริการการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และทรัพยากรต่าง ๆ เพื่อการเรียน
การสอน การวิจัยแก่นักศึกษาและคณาจารย์ ในทุกสาขาวิชา รวมทั้งการให้บริการ
วิเคราะห์ทดสอบ และบริการวิชาการ แก่หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
การชี้บ่งอันตรายด้วยเทคนิคChecklist หมายถึง วิธีการชี้บ่งอันตรายโดยการนาแบบ
ตรวจไปใช้ในการตรวจเพื่อค้นหาอันตราย แบบตรวจประกอบด้วยหัวข้อคาถามที่เกี่ยวข้อง
กับการดาเนินงานต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบว่าได้ปฏิบัติตามมาตรฐานหรือกฎหมาย หรือไม่
10/10/57
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผู้วิจัย ชื่อเรื่อง เครื่องมือที่
ใช้
ผลการศึกษา
ไพโรจน์ บุญยิ่ง
2554
ก ำ ร ป ร ะ เ มิ น
ควำมปลอดภัย
ด้ำนอัคคีภัยใน
อำคำรกรณีศ้กษำ
อ ำ ค ำ ร บ ริ ษั ท
บริหำรสินทรัพย์
กรุงเทพพำณิชย์
จำกัด
แบบตรวจ
Checkli
อำคำรมีข้อบกพร่องในเรื่องของ
กำรออกแบบอำคำร อุปกรณ์
และระบบป้ องกันอัคคีภัย ซ้่งมี
ข้อบกพร่องทันงหมด 13 ข้อ
8
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
ผู้วิจัย ชื่อเรื่อง เครื่องมือที่ใช้ ผลการศึกษา
วิชัย สุขคลีวนัติ
และ
อภิชาต แจ้งบารุง
2555
การศึกษาและวิเคราะห์
วิเคราะห์ระบบป้ องกัน
ป้ องกันอัคคีภัยใน
อาคารขนาดใหญ่พิเศษ
พิเศษกรณีศึ กษา:
อ า ค า ร คุ้ม เ ก ล้า
โรงพยาบาลภูมิพลอ
ดุลยเดช
แบบสารวจโดย
โดยพิจารณา
เฉพาะส่วนที่
เกี่ยวข้องกับ
ระบบป้ องกัน
อัคคีภัย
อาคารมีระบบความ
ปลอดภัยจากอัคคีภัยไม่
ครบตามมาตรฐาน และ
ระบบแจ้งเตือนอัคคีภัย
ต้องบารุงรักษาให้ใช้งาน
ได้เหมือนเดิม ซึ่งมีขอ
บกพร่องทั้งหมด 13 ข้อ
9
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
รูปแบบการศึกษา
กำรศ้กษำนีนเป็นกำรวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้เทคนิค
checklist เพื่อประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยของอำคำรศูนย์เครื่องมือ
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
ประชากร
การศึกษาประชำกรที่จะทำกำรศ้กษำในครันงนีน คือ พืนนที่อำคำรศูนย์เครื่องมือ
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์ มีทันงหมด 6 อำคำร
10
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
กลุ่มตัวอย่าง
อำคำรศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
จำนวน6 อำคำร และพืนนที่สำรวจจำนวน 33 ส่วน
10/10/57
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
แบบตรวจควำมปลอดภัยด้ำนอัคคีภัย แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนีน
ส่วนที่ 1 รำยกำรตรวจสอบที่เกี่ยวกับอุปกรณ์ป้ องกันและระงับ
อัคคีภัย ได้แก่ ระบบสัญญำณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ อุปกรณ์ดับเพลิง เครื่อง
ดับเพลิงแบบมือถือ ระบบนนำดับเพลิง ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ อำคำรและ
ทำงหนีไฟ วัตถุไวไฟและวัตถุระเบิด กำรตรวจสอบ ทดสอบ และ
บำรุงรักษำระบบและอุปกรณ์ต่ำงๆ กำรฝ้กอบรมเรื่องป้ องกันและระงับ
อัคคีภัย ส่วนอื่นๆ ประกอบด้วย คำถำมจำนวน 42 ข้อ
11
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ)
ส่วนที่ 2 รำยกำรตรวจสอบที่เกี่ยวกับกำรใช้และเก็บรักษำสำรเคมี
สำรไวไฟ สิ่งที่ทำให้เกิดอัคคีภัยได้ง่ำย ได้แก่ กำรเก็บรักษำซ้่งสิ่งที่ทำ
อัคคีภัยได้ง่ำย ประกอบด้วย คำถำมจำนวน 8 ข้อ
ส่วนที่ 3 รำยกำรตรวจสอบที่เกี่ยวกับไฟฟ้ ำ ได้แก่ ระบบไฟฟ้ ำ
ประกอบด้วย คำถำมจำนวน 7 ข้อ
12
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ)
เกณฑ์การประเมินความเสี่ยง (อ้ำงอิงดังต่อไปนีนตำมระเบียบกรมโรงงำน
อุตสำหกรรมว่ำด้วยหลักเกณฑ์กำรชีนบ่งอันตรำย กำรประเมินควำมเสี่ยงและกำร
จัดทำแผนงำนบริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง พ.ศ. 2543)
1) เกณฑ์กำรพิจำรณำโอกำส
พิจำรถ้งโอกำสในกำรเกิดเหตุกำรณ์ต่ำงๆ ว่ำมีมำกน้อยเพียงใด โดย
แบ่ง
ระดับโอกำสเป็น 4 ระดับ ดังตำรำงต่อไปนีน
13
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
14
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ)
ระดับ รำยละเอียด
1 มีโอกำสในกำรเกิดยำก เช่น ไม่เคยเกิดเลยในช่วงเวลำตันงแต่ 10 ปีข้นนไป
2 มีโอกำสในกำรเกิดน้อย เช่น ควำมถี่ในกำรเกิด เกิดข้นน 1 ครันง ในช่วง 5-10
ปี
3 มีโอกำสในกำรเกิดปำนกลำง เช่น ควำมถี่ในกำรเกิด เกิดข้นน 1 ครันง ในช่วง 1-
5 ปี
4 มีโอกำสในกำรเกิดสูง เช่น ควำมถี่ในกำรเกิด เกิดมำกกว่ำ 1 ครันง ใน 1 ปี
กำรจัดระดับโอกำสในกำรเกิดเหตุกำรณ์ต่ำงๆ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ)
15
2) เกณฑ์กำรพิจำรณำควำมรุนแรง
จะพิจำรณำถ้งควำมรุนแรงของเหตุกำรณ์ต่ำงๆ ว่ำจะก่อให้เกิดถ้ง
ผลกระทบที่อำจเกิดต่อบุคคล ชุมชน ทรัพย์สิน หรือสิ่งแวดล้อมมำกน้อย
เพียงใด โดยจัดระดับควำมรุนแรงเป็น 4 ระดับดังนีน
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
16
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ)
1.กำรจัดระดับควำมรุนแรงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อบุคคล
ระดับ ควำม
รุนแรง
รำยละเอียด
1 เล็กน้อย มีกำรบำดเจ็บเล็กน้อยในระดับปฐมพยำบำล
2 ปำนกลำง มีกำรบำดเจ็บที่ต้องได้รับกำรรักษำทำงกำรแพทย์
3 สูง มีกำรบำดเจ็บหรือเจ็บป่วยที่รุนแรง
4 สูงมำก ทุพลภำพหรือเสียชีวิต
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
17
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ)
ระดับ ควำมรุนแรง รำยละเอียด
1 เล็กน้อย ไม่มีผลกระทบต่อชุมชนรอบโรงงำน หรือมีผลกระทบเล็กน้อย
2 ปำนกลำง มีผลกระทบต่อชุมชนรอบโรงงำน และแก้ไขได้ในระยะเวลำสันน
3 สูง มีผลกระทบต่อชุมชนรอบโรงงำน และต้องใช้เวลำในกำรแก้ไข
4 สูงมำก มีผลกระทบรุนแรงต่อชุมชนเป็นบริเวณกว้ำง หรือหน่วยงำนของ
รัฐต้องเข้ำดำเนินกำรแก้ไข
2.กำรจัดระดับควำมรุนแรงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
18
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ)
ระดับ ควำมรุนแรง รำยละเอียด
1 เล็กน้อย ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเล็กน้อย สำมำรถควบคุมหรือแก้ไข
ได้
2 ปำนกลำง มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมปำนกลำง สำมำรถแก้ไขได้ใน
ระยะเวลำสันน
3 สูง มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมรุนแรง ต้องใช้เวลำในกำรแก้ไข
4 สูงมำก มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมรุนแรงมำก ต้องใช้ทรัพยำกรและ
เวลำนำนในกำรแก้ไข
3. กำรจัดระดับควำมรุนแรงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
19
ระดับ ควำมรุนแรง รำยละเอียด
1 เล็กน้อย ทรัพย์สินเสียหำยน้อยมำกหรือไม่เสียหำยเลย
2 ปำนกลำง ทรัพย์สินเสียหำยปำนกลำงและสำมำรถดำเนินกำร
ผลิตต่อไปได้
3 สูง ทรัพย์สินเสียหำยมำกและต้องหยุดกำรผลิตใน
บำงส่วน
4 สูงมำก ทรัพย์สินเสียหำยมำกและต้องหยุดกำรผลิตทันงหมด
4.กำรจัดระดับควำมรุนแรงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อทรัพย์สิน
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ)
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
20
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ)
3) กำรประมำณระดับควำมเสี่ยง
จัดระดับควำมเสี่ยง โดยพิจำรณำถ้งผลลัพธ์ของระดับโอกำสคูณกับระดับ
ค ว ำ ม
รุนแรงที่มีผลต่อกระทบต่อบุคคล ชุมชน ทรัพย์สิน หรือสิ่งแวดล้อม ระดับ
ค ว ำ ม
เสี่ยงจัดเป็น 4 ระดับดังรำยละเอียดในตำรำง
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
21
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา (ต่อ)
ระดับ
ควำมเสี่ยง
ผลลัพธ์ ควำมหมำย
1 1-2 ควำมเสี่ยงเล็กน้อย
2 3-6 ควำมเสี่ยงที่ยอมรับได้ ต้องมีกำรทบทวนมำตรกำร
ควบคุม
3 8-9 ควำมเสี่ยงสูง ต้องมีกำรดำเนินงำนเพื่อลดควำมเสี่ยง
4 12-16 ควำมเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้ ต้องหยุดดำเนินกำรและ
ปรับปรุงแก้ไขเพื่อลดควำมเสี่ยงลงทันที
กำรจัดระดับควำมเสี่ยงอันตรำย
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
22
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
(ต่อ)
4.หลักเกณฑ์ในการพิจารณาระดับความร้ายแรงของอัคคีภัย
สถานที่เสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย ลักษณะ
อย่างเบา สถานที่ซึ่งมีวัตถุซึ่งไม่ติดไฟเป็นส่วนใหญ่ หรือมี
วัตถุติดไฟได้ในปริมาณน้อย หรือมีวัตถุไวไฟใน
ปริมาณน้อยที่เก็บไว้ในภาชนะปิดสนิท
อย่างปานกลาง สถานที่ซึ่งมีวัตถุติดไฟได้หรือวัตถุไวไฟปริมาณไม่
มาก
อย่างร้ายแรง สถานที่ซึ่งมีวัตถุติดไฟได้หรือวัตถุไวไฟปริมาณมาก
10/10/57
ขั้นตอนการศึกษา
1. ขันนเตรียมกำร
1) ศ้กษำและรวบรวมข้อมูลพืนนฐำนเกี่ยวกับอำคำรศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
2) ศ้กษำข้อมูลแบบสอบถำมที่ใช้ในกำร ตรวจสอบควำมปลอดภัยโดยศ้กษำจำกงำนวิจัยและ
ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
3) ศ้กษำทบทวนกฎหมำยและมำตรฐำนที่เกี่ยวข้อง เพื่อหำมำตรกำรควำมปลอดภัยด้ำน
อัคคีภัย
4) จัดทำเครื่องมือในกำรศ้กษำ คือ แบบตรวจควำมปลอดภัยที่ใช้ในกำรประเมินควำมเสี่ยง
ด้ ำ น
อัคคีภัย โดย Checklist ในกำรลงพืนนที่
5) ติดต่อประสำนงำนกับฝ่ำยอำคำรสถำนที่ของมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์เกี่ยวกับข้อมูลของ
อำคำร 23
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
ขั้นตอนการศึกษา
(ต่อ)
2. ขันนดำเนินกำรตรวจวัด/แบบสอบถำม
1) ทำกำรเดินสำรวจพืนนที่ทันงอำคำรตำมแบบตรวจควำมปลอดภัย Checklist ที่ได้
จั ด ท ำ ข้น น
โดยผู้วิจัยเดินตรวจสอบด้วยตนเอง
2) เก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่ำงจำกแบบตรวจควำมปลอดภัย Checklist
3 ขันนวิเครำะห์ข้อมูลและสรุปผล
1) เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จำกแบบตรวจควำมปลอดภัย Checklist
2) ตรวจสอบควำมถูกต้องของข้อมูล
3) สรุปผลที่ได้จำกกำรสำรวจจำกแบบตรวจควำมปลอดภัย Checklist
4) วิเครำะห์และหำแนวทำงในกำรแก้ไขปรับปรุงสิ่งที่พบ
24
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
การวิเคราะห์ข้อมูล
25
1) ใช้ตำรำงประเมินควำมเสี่ยงของระเบียบกรมโรงงำนอุตสำหกรรมว่ำด้วย
หลักเกณฑ์กำรชีนบ่งอันตรำย กำรประเมินควำมเสี่ยงและกำรจัดทำแผนงำน
บริหำรจัดกำรควำมเสี่ยง พ.ศ. 2543
คะแนนระดับควำมเสี่ยง = โอกำสของกำรเกิด x ระดับควำมรุนแรง
2) ร้อยละของผลกำรประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยของอำคำรศูนย์เครื่อง
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์จำนวนทันงหมด 6
อำคำรที่สอดคล้องตำมกฎหมำย
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
26
ผลการศึกษา
1. ข้อมูลทั่วไป
2. ผลกำรตรวจสอบที่สอดคล้องตำมกฎหมำย
3. ผลกำรประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยของศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์
และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
4. มำตรกำรป้ องกัน/แก้ไข
5. ผลกำรประเมินควำมสอดคล้องตำมกฎหมำยของจำนวนถังดับเพลิงต่อ
พืนนที่
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
27
ผลการศึกษา
(ต่อ)
1.ข้อมูลทั่วไป
จำกผลกำรประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยของอำคำรศูนย์เครื่องวิทยำศำสตร์
และเทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์ จำนวนทันงหมด 6 อำคำรดังนีน
อำคำรศูนย์เครื่องวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 2 มีพืนนที่สำรวจ 4 ส่วน
อำคำรศูนย์เครื่องวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 3 มีพืนนที่สำรวจ 5 ส่วน
อำคำรศูนย์เครื่องวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 5 มีพืนนที่สำรวจ 4 ส่วน
อำคำรศูนย์เครื่องวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 6 มีพืนนที่สำรวจ 6 ส่วน
อำคำรศูนย์เครื่องวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 7 มีพืนนที่สำรวจ 8 ส่วน
อำคำรศูนย์เครื่องวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 8 มีพืนนที่สำรวจ 6 ส่วน
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
28
ผลการศึกษา(ต่อ)
2.ผลกำรตรวจสอบที่สอดคล้องตำมกฎหมำย
อาคาร
ผลการตรวจสอบที่สอดคล้องตามกฎหมาย (ร้อยละ)
1.1ระบบสัญญำณแจ้งเหตุ
เพลิงไหม้
1.2อุปกรณ์ดับเพลิง
1.3เครื่องดับเพลิงแบบมือ
ถือ1.4ระบบนนำดับเพลิง
1.5ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
1.6อำคำรและทำงหนีไฟ
1.7วัตถุไวไฟและวัตถุ
ระเบิด1.8กำรตรวจสอบอุปกรณ์
ต่ำงๆ
1.9กำรฝ้กอบรมเรื่องกำร
ป้องกันและระงับอัคคีภัย
1.10อื่นๆ
2.1กำรเก็บรักษำซ้่งสิ่งที่
ทำให้เกิดอัคคีภัยได้ง่ำย
3.1ระบบไฟฟ้ำ
B2 100 6 80 50 33 55 10
0
100 100 80 100 10
0
B3 100 20 84 50 33 78 10
0
100 100 80 100 10
0
B5 100 25 87 50 33 72 10
0
100 100 80 100 10
0
10/10/57
29
ผลการศึกษา(ต่อ)
2.ผลกำรตรวจสอบที่สอดคล้องตำมกฎหมำย (ต่อ)
อาคาร
ผลการตรวจสอบที่สอดคล้องตามกฎหมาย (ร้อยละ)
1.1ระบบสัญญำณแจ้งเหตุ
เพลิงไหม้
1.2อุปกรณ์ดับเพลิง
1.3เครื่องดับเพลิงแบบมือ
ถือ1.4ระบบนนำดับเพลิง
1.5ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
1.6อำคำรและทำงหนีไฟ
1.7วัตถุไวไฟและวัตถุ
ระเบิด1.8กำรตรวจสอบอุปกรณ์
ต่ำงๆ
1.9กำรฝ้กอบรมเรื่องกำร
ป้องกันและระงับอัคคีภัย
1.10อื่นๆ
2.1กำรเก็บรักษำซ้่งสิ่งที่
ทำให้เกิดอัคคีภัยได้ง่ำย
3.1ระบบไฟฟ้ำ
B6 100 25 87 50 33 78 10
0
100 100 80 100 10
0
B7 100 18 87 50 33 78 10
0
100 100 78 80 10
0
B8 100 25 87 50 33 78 10
0
100 100 80 100 10
0
10/10/57
30
ผลการศึกษา(ต่อ)
3.ผลกำรประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยของศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และ
เทคโนโลยีมหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
อาคาร
ระดับความเสี่ยง (ร้อยละ)
ความเสี่ยงน้อย ความเสี่ยงที่ยอมรับได้
B2 11 89
B3 10 90
B5 10 90
B6 10 90
B7 9 91
B8 10 90
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
31
ผลการศึกษา(ต่อ)
4.มำตรกำรป้ องกัน/แก้ไข
มาตรการป้ องกัน/แก้ไข
จานวนพื้นที่ที่ต้องดาเนินการปรับปรุง/แก้ไข จานวน
รวม
(พื้นที่)
B2
(n=4)
B3
(n=5)
B5
(n=4
)
B6
(n=6)
B7
(n=
8)
B8
(n=
5)
1.ให้ดาเนินการติดตั้งป้ ายหรือ
สัญลักษณ์เหนือเครื่องดับเพลิงที่สามารถ
มองเห็นได้อย่างชัดเจนเพื่อเป็ นการระบุ
ตาแหน่งเครื่องดับเพลิง
4 5 4 6 8 5 32
2.ต้องมีการดูแลรักษา ตรวจสอบสภาพ
ของเครื่องดับเพลิงแบบให้มีความพร้อม
ในการใช้งานได้ตลอดเวลา โดยต้อง
ตรวจสอบเครื่องดับเพลิงแบบมือถืออย่าง
น้อยทุกๆ 6 เดือนพร้อมติดป้ ายแสดงผล
การตรวจสอบและวันที่ทาการตรวจสอบ
ไว้ที่อุปกรณ์ดังกล่าว
4 5 4 6 8 5 32
10/10/57
32
ผลการศึกษา(ต่อ)
4.มำตรกำรป้ องกัน/แก้ไข(ต่อ)
มาตรการป้ องกัน/แก้ไข
จานวนพื้นที่ที่ต้องดาเนินการปรับปรุง/แก้ไข จานวน
รวม
(พื้นที่)
B2
(n=
4)
B3
(n=
5)
B5
(n=4
)
B6
(n=
6)
B7
(n=8
)
B8
(n=
5)
3.จัดให้มีอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วน
บุคคลที่ใช้ในการดับเพลิง 4 5 4 6 8 5 32
4.จัดให้มีระบบน้าดับเพลิงที่จะใช้ในการดับเพลิง
ขั้นต้นได้อย่างเพียงพอพอที่จะส่งจ่ายน้าให้กับ
อุปกรณ์ฉีดน้าดับเพลิงได้อย่างต่อเนื่องเป็ นเวลา
ไม่น้อยกว่า 30 นาที
4 5 4 6 8 5 32
5.ให้ดาเนินการติดตั้งระบบหัวกระจายน้า
ดับเพลิงอัตโนมัติ ที่เป็ นไปตามมาตรฐานสากลที่
ยอมรับ เช่น มาตรฐาน NFPA 13
Standard forInstallation of
4 5 4 6 8 5 32
10/10/57
33
ผลการศึกษา(ต่อ)
4.มำตรกำรป้ องกัน/แก้ไข(ต่อ)
มาตรการป้ องกัน/แก้ไข
จานวนพื้นที่ที่ต้องดาเนินการปรับปรุง/แก้ไข จานวน
รวม
(พื้นที่)
B2
(n=4
)
B3
(n=
5)
B5
(n=
4)
B6
(n=
6)
B7
(n=
8)
B8
(n=
5)
6.ประตูทางหนีไฟต้องทาด้วยวัสดุทนไฟ ไม่มีธรณี
ประตูหรือขอบกั้น และเป็ นชนิดที่เปิ ดออกไปตาม
ทิศทางของการหนีไฟ โดยบานประตูต้องติด
อุปกรณ์ที่บังคับให้บานประตูปิ ดได้เอง ห้ามใช้
ประตูเลื่อน ประตูม้วน หรือประตูหมุน และห้ามปิ ด
ตาย
ใส่กลอน กุญแจ หรือล่ามโซ่
4 5 4 6 8 5 32
7.ให้ดาเนินการจัดทาป้ ายข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการ
ดับเพลิงและการอพยพหนีไฟ ปิ ดประกาศให้เห็น
ได้อย่างชัดเจน
4 5 4 6 8 5 32
10/10/57
34
ผลการศึกษา(ต่อ)
5.ผลกำรประเมินควำมสอดคล้องตำมกฎหมำยของจำนวนถังดับเพลิงต่อพืนนที่
อาคาร พื้นที่ส่วน
สภาพ
เสี่ยงต่อ
การเกิด
อัคคีภัย
ขนาด
พื้นที่
(ตาราง
เมตร)
ขนาด
พื้นที่ต่อถัง
ดับเพลิง
1 ถัง ตาม
กฎหมาย
ผลการสารวจถังดับเพลิง ผลการ
ประเมินชนิด ขนำด จำน
วน
พืนนที่/ถัง
B2
1.ห้องปฏิบัติกำรชลศำสตร์ เบำ 896 1,050 ผงเคมีแห้ง 6A 3 299 ผ่ำน
2.โรงฝ้กวิศวกรรม เบำ 1,152 1,050 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
3.ห้องปฏิบัติกำรคอนกรีตและ
เทคโนโลยี
เบำ 896 1,050 ผงเคมีแห้ง 6A 4 224 ผ่ำน
4.ห้องวิจัยไม้และวิศวกรรมไม้ ปำน
กลำง
1,152 840 ผงเคมีแห้ง 6A 4 288 ผ่ำน
B3
ชั้น1
1.ห้องปฏิบัติกำรบำบัดของเสีย
โดยกระบวนกำรชีวภำพ
ปำน
กลำง
1,152 840 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
2.โรงงำนแปรรูปนม ปำน
กลำง
1,152 840 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
3.ห้องทดลองสำหรับกำรวิจัย เบำ 896 1,050 ผงเคมีแห้ง 6A 3 299 ผ่ำน
4.ห้องปฏิบัติกำรเครื่องมือรวม ปำน
กลำง
1,152 840 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
B3ชั้น 1.ห้องทดลองสำหรับกำรวิจัย เบำ 700 1,050 ผงเคมีแห้ง 6A 3 233 ผ่ำน
10/10/57
35
ผลการศึกษา(ต่อ)
5.ผลกำรประเมินควำมสอดคล้องตำมกฎหมำยของจำนวนถังดับเพลิงต่อพืนนที่
(ต่อ)
อาคาร พื้นที่ส่วน
สภาพ
เสี่ยงต่อ
การเกิด
อัคคีภัย
ขนาด
พื้นที่
(ตาราง
เมตร)
ขนาดพื้นที่
ต่อถัง
ดับเพลิง 1
ถัง ตาม
กฎหมาย
ผลการสารวจถังดับเพลิง ผลการ
ประเมิน
ชนิด ขนำด จำนวน พืนนที่/ถัง
B5
1.บริกำรวิเครำะห์ทดสอบ ปำนกลำง 80 ม. 9 ม./ระยะ
เข้ำถ้ง
CO2 15
lbs
10 8 ม./ระยะ
เข้ำถ้ง
ผ่ำน
บริกำรวิเครำะห์ทดสอบ ปำนกลำง 320 840 ผงเคมีแห้ง 6A 2 160 ผ่ำน
2.หน่วยวิจัยฟิสิกส์ทดลอง เบำ 960 1050 ผงเคมีแห้ง 6A 3 320 ผ่ำน
3.ธุรกำร เบำ 759 1050 ผงเคมีแห้ง 6A 1 759 ผ่ำน
4.ศูนย์ซ่อมสร้ำงส่วนกลำง เบำ 792 1050 ผงเคมีแห้ง 6A 1 792 ผ่ำน
B6 ชั้น
1
1.เภสัช1 เบำ 1,15
2
1050 ผงเคมีแห้ง 6A 4 288 ผ่ำน
2.แพทย์1 เบำ 1,15
2
1050 ผงเคมีแห้ง 6A 4 288 ผ่ำน
3.แพทย์2 เบำ 1,15
2
1050 ผงเคมีแห้ง 6A 4 288 ผ่ำน
10/10/57
36
อาคาร พื้นที่ส่วน
สภาพเสี่ยง
ต่อการเกิด
อัคคีภัย
ขนาด
พื้นที่
(ตาราง
เมตร)
ขนาดพื้นที่
ต่อถัง
ดับเพลิง 1
ถัง ตาม
กฎหมาย
ผลการสารวจถังดับเพลิง ผลการ
ประเมิน
ชนิด ขนำด จำนวน พืนนที่/ถัง
B7 ชั้น
1
1.ห้องปฏิบัติกำรฟิสิกส์ เบำ 1,152 1050 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
2.ห้องปฏิบัติกำรเคมี1-4 ปำนกลำง 1,152 840 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
3.ห้องปฏิบัติกำรวิศวกรรม เบำ 1,152 1050 ผงเคมีแห้ง 6A 4 288 ผ่ำน
4.ห้องปฏิบัติกำรชีววิทยำ ปำนกลำง 1,152 840 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
B7 ชั้น
2
1.ห้องปฏิบัติกำร
เทคโนโลยีกำรเกษตร
เบำ 1152 1050 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
2.ห้องปฏิบัติกำรเคมี5-8 ปำนกลำง 1152 840 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
3.ห้องปฏิบัติกำรวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์
เบำ 1152 1050 ผงเคมีแห้ง 6A 2 576 ผ่ำน
4.ห้องปฏิบัติกำรจุลชีววิทยำ ปำนกลำง 1152 840 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
ผลการศึกษา(ต่อ)
5.ผลกำรประเมินควำมสอดคล้องตำมกฎหมำยของจำนวนถังดับเพลิงต่อพืนนที่
(ต่อ)
10/10/57
37
ผลการศึกษา(ต่อ)
5.ผลกำรประเมินควำมสอดคล้องตำมกฎหมำยของจำนวนถังดับเพลิงต่อพืนนที่
(ต่อ)
อาคาร พื้นที่ส่วน
สภาพเสี่ยง
ต่อการเกิด
อัคคีภัย
ขนาด
พื้นที่
(ตาราง
เมตร)
ขนาดพื้นที่
ต่อถัง
ดับเพลิง 1
ถัง ตาม
กฎหมาย
ผลการสารวจถังดับเพลิง ผลการ
ประเมิน
ชนิด ขนำด จำนวน พืนนที่/
ถัง
B8 ชั้น 1 1.ห้องปฏิบัติกำรคอมพิวเตอร์ เบำ 1,408 1,050 ผงเคมีแห้ง 6A 7 201 ผ่ำน
2.สำธำรณสุขและศูนย์บริกำร
สุขภำพ
ปำนกลำง 1,408 840 ผงเคมีแห้ง 6A 7 201 ผ่ำน
3.ห้องวิจัยวิทยำศำสตร์
ชีวภำพ
เบำ 872 1,050 ผงเคมีแห้ง 6A 1 872 ผ่ำน
4.ห้องเทคนิคกำรแพทย์ ปำนกลำง 1,344 840 ผงเคมีแห้ง 6A 6 224 ผ่ำน
B8 ชั้น 2 1.ห้องวิจัยวิทยำศำสตร์
กำยภำพ
เบำ 872 1050 ผงเคมีแห้ง 6A 1 872 ผ่ำน
2.ห้องปฏิบัติกำรพยำบำล
ศำสตร์
เบำ 1,152 1050 ผงเคมีแห้ง 6A 6 192 ผ่ำน
10/10/57
38
สรุปผลการศึกษา
จำกผลกำรศ้กษำประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยของอำคำรศูนย์
เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์ พบว่ำอำคำร
ที่มีควำมสอดคล้องตำมกฎหมำยมำกที่สุดคือ อำคำรศูนย์เครื่องมือ
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 7 และอำคำรที่สอดคล้องตำมกฎหมำยน้อย
ที่สุดคือ อำคำรศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 2 จำกกำร
วิเครำะห์ระดับควำมเสี่ยงพบว่ำทันง 6 อำคำรมีระดับควำมเสี่ยงเพียง 2
ระดับคือ ระดับควำมเสี่ยงเพียงเล็กน้อย และระดับควำมเสี่ยงที่ยอมรับได้
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
10/10/57
39
สรุปผลการศึกษา(ต่อ)
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผลกำรตรวจสอบที่ไม่สอดคล้องตำมกฎหมำยของแต่ละส่วนอำคำร ทันง 6
อำคำรได้แก่
อำคำรศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 2 คือส่วนห้องปฏิบัติกำรชล
ศำสตร์
อำคำรศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 3 คือส่วนห้องปฏิบัติกำรบำบัด
ของเสียโดยกระบวนกำรชีวภำพ
อำคำรศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 5 คือส่วนธุรกำร
อำคำรศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 6 ทุกส่วนมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกันหมด
อำคำรศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 7 คือส่วนห้องปฏิบัติกำร
ชีววิทยำ
อำคำรศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 8 ทุกส่วนมีค่ำเฉลี่ยเท่ำกันหมด
10/10/57
40
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สรุปผลการศึกษา(ต่อ)
โดยทั้ง 6 อาคารไม่สอดคล้องในหัวข้อเรื่ องอุปกรณ์ดับเพลิงมากที่สุด
รองลงมาเป็นหัวข้อเรื่องอาคารและทางหนีไฟ และผลการตรวจสอบที่สอดคล้อง
กับกฎหมายของทั้ง 6 อาคาร คือหัวข้อเรื่องระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
รองลงมาเป็นหัวข้อเรื่องระบบไฟฟ้ า
จากผลการประเมินความเสี่ยงทางผู้จัดทานาผลการประเมินความเสี่ยงด้าน
อัคคีภัยไปใช้เป็นทางในการควบคุมความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของอาคารศูนย์เครื่องมือ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยจัดทามาตรการการแก้ไข
และป้ องกัน
10/10/57
41
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สรุปผลการศึกษา(ต่อ)
มีข้อที่ควรได้รับการแก้ไขก่อน 7 ข้อ คือ
1. ให้ดาเนินการติดตั้งป้ ายหรือ สัญลักษณ์เหนือเครื่ องดับเพลิงที่สามารถ
มองเห็นได้อย่างชัดเจนเพื่อเป็นการระบุตาแหน่งเครื่องดับเพลิง
2. ให้ดาเนินการตรวจสอบสภาพของเครื่องดับเพลิงแบบให้มีความพร้อมในการใช้
งานได้ตลอดเวลา โดยต้องตรวจสอบเครื่องดับเพลิงแบบมือถืออย่างน้อยทุกๆ 6
เดือนพร้อมติดป้ ายแสดงผลการตรวจสอบและวันที่ทาการตรวจสอบไว้ที่
อุปกรณ์ดังกล่าว
3. ให้ดาเนินการจัดให้มีอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในการ
ดับเพลิง
10/10/57
42
4. จัดให้มีระบบนนำดับเพลิงที่จะใช้ในกำรดับเพลิงขันนต้นได้อย่ำงเพียงพอ
พอที่จะส่งจ่ำยนนำให้กับอุปกรณ์ฉีดนนำดับเพลิงได้อย่ำงต่อเนื่องเป็นเวลำ
ไม่น้อยกว่ำ 30 นำที
5. ให้ดำเนินกำรติดตันงระบบหัวกระจำยนนำดับเพลิงอัตโนมัติ ที่เป็นไปตำม
มำตรฐำนสำกลที่ยอมรับ เช่น มำตรฐำน NFPA 13 Standard
forInstallation of Sprinkler Systems
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สรุปผลการศึกษา(ต่อ)
10/10/57
43
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สรุปผลการศึกษา(ต่อ)
6. ให้ดาเนินจัดให้มีประตูทางหนีไฟต้องทาด้วยวัสดุทนไฟ ไม่มีธรณีประตู
หรือขอบกั้น และเป็นชนิดที่เปิดออกไปตามทิศทางของการหนีไฟ โดย
บานประตูต้องติดอุปกรณ์ที่บังคับให้บานประตูปิดได้เอง ห้ามใช้ประตู
เลื่อน ประตูม้วน หรือประตูหมุน และห้ามปิดตาย ใส่กลอน กุญแจ หรือ
ล่ามโซ่
7. ให้ดาเนินการจัดทาป้ ายข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการดับเพลิงและการอพยพหนี
ไฟ ปิดประกาศให้เห็นได้อย่างชัดเจน
10/10/57
44
อภิปรายผล
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
กำรศ้กษำครันงนีนมีผลสอดคล้องกับกำรศ้กษำของ คุณ ไพโรจน์ บุญยิ่ง เรื่อง กำร
ประเมินควำมปลอดภัยด้ำนอัคคีภัย ที่ศ้กษำถ้งปัจจัยต่ำงๆ ที่มีผลต่อระดับควำม
ปลอดภัยด้ำนอัคคีภัย รวมถ้งข้อบกพร่องในกำรป้ องกันอัคคีภัย เพื่อหำแนวทำงใน
กำรแก้ไขและปรับปรุง ข้อบกพร่องที่พบ เพิ่มระดับควำมปลอดภัยด้ำนอัคคีภัย ผู้ศ้กษำ
ได้จัดทำแบบประเมินเป็นแบบ Check-list ตำมกฎกระทรวงฉบับที่ 33
(พ.ศ.2535) เป็นเกณฑ์กำรประเมิน ดำเนินกำรเก็บข้อมูลโดยกำรสัมภำษณ์ และ
กำรเดินสำรวจพืนนที่ต่ำงๆ ภำยในอำคำร ผลกำรศ้กษำพบว่ำอำคำรยังมีควำมเสี่ยง
ต่อกำรเกิดอัคคีภัยได้ โดยไม่ผ่ำนกำรตรวจประเมินรวม 13 รำยกำร จำกรำยกำรที่ทำ
กำรตรวจประเมินทันงหมด 45 รำยกำร โดยที่ผ่ำนเป็นไปตำมข้อกำหนดรวม 32
รำยกำร 10/10/57
45
อภิปรายผล(ต่อ)
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
และสอดคล้องกับกำรศ้กษำของคุณ วิชัย สุขคลีวนัติ และคุณ อภิชำต แจ้ง
บำรุง (2555) ได้ทำกำรศ้กษำและวิเครำะห์ระบบป้ องกันอัคคีภัย พบว่ำมี
ข้อบกพร่องทันงหมด 13 ข้อ ที่แสดงให้เห็นถ้งข้อบกพร่องในระบบอำนวยควำม
สะดวกของอำคำร เช่น ระบบป้ องกันอัคคีภัย ระบบดับเพลิงด้วยนนำที่ทำงำนได้ไม่
สมบูรณ์ หรือระบบแจ้งเตือนอัคคีภัยอัตโนมัติที่ไม่สำมำรถทำงำนได้ ยังขำดกำร
ซ่อม และบำรุงรักษำประจำเดือนและประจำปี ผลกำรสำรวจในครันงนีนสำมำรถ
นำไปใช้เป็นข้อมูลพิจำรณำซ่อมบำรุงระบบต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรป้ องกัน
อัคคีภัย และยังเป็นเป็นกรณีศ้กษำสำมำรถใช้กับอำคำรที่มีลักษณะเดียวกันให้
เป็นไปตำมข้อกำหนดของกฎหมำยเพื่อยกระดับควำมปลอดภัยของอำคำร และผู้
มำใช้อำคำรให้ปลอดภัยมำกข้นน
10/10/57
46
ข้อเสนอแนะ
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ควรมีกำรตรวจสอบและประเมินควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัยทุกๆ ปีเพื่อจะได้
ทรำบถ้งสภำพกำรใช้งำนของอำคำรในปัจจุบันมีระดับควำมเสี่ยงด้ำนอัคคีภัย
ระดับใด มีข้อบกพร่องหรือจุดเสี่ยงใดบ้ำงเพื่อที่จะได้ดำเนินกำรปรับปรุงแก้ไข
เพื่อให้มีควำมปลอดภัยด้ำนอัคคีภัยอยู่ในเกณฑ์ที่กฎหมำยกำหนด
10/10/57
47
การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยของ
อาคารศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
อ้างอิง
คู่มือการปฏิบัติงาน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่ อง การป้ องกันเเละระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ.2552. (2552).
กาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
เกี่ ยวกับการป้ องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕. (2555).
กนกอร ไชยคา. (2553). การดาเนินงานป้ องกันความเสี่ ยงด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการนักศึกษา โดยกระบวนการมี
ส่วนร่วมของนักศึกษาแพทย์: กรณีศึกษาภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สาธารณสุขศาสต
รมหาบัณฑิต วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนเเก่น.
เกษมศานต์ ปทุมารักษ์. (2550). การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัย. วารสารเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์อัคคีภัย, 1(1), 69-
74.
วราภรณ์ ศรีมูล, & นิยมวรรณ์, ศ. (2554). การประเมินความเสี่ ยงในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, กรุงเทพมหานคร
วิชัย สุขคลีวนัติ, & อภิชาติ แจ้งบารุง. (2555). การศึกษาและวิเคราะห์ระบบป้ องกันอัคคีภัยในอาคารขนาดใหญ่พิเศษ
กรณีศึกษา: อาคารคุ้มเกล้าโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช. วิศวกรรมสาร มก., 25(82), 117-126.
10/10/57

More Related Content

What's hot

โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014Hospital for Health
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16Bios Logos
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงานWijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4mrtv3mrtv4
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014Jiraporn Promsit
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.Worrachet Boonyong
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าkrupornpana55
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมNATTAWANKONGBURAN
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลังWijitta DevilTeacher
 
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศกระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศAnuchitKongsui
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553สำเร็จ นางสีคุณ
 
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่Wichai Likitponrak
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศPatzuri Orz
 

What's hot (20)

โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16
 
Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..
 
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
 
04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง04แผน เรื่อง กำลัง
04แผน เรื่อง กำลัง
 
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศกระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงลมฟ้าอากาศ
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป.6 2553
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.6 2553
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
 
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
13ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 

Viewers also liked

การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง9tong30
 
Fire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & CodesFire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & Codesqcstandard
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
Berau Coal Loss Control & Risk Management Systems
Berau Coal Loss Control & Risk Management SystemsBerau Coal Loss Control & Risk Management Systems
Berau Coal Loss Control & Risk Management SystemsMuhammad Ector Prasetyo
 
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัยคู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัยSupakarn Yimchom
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมApichaya Savetvijit
 
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpmการจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ DdpmPongsatorn Sirisakorn
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]Viam Manufacturing
 

Viewers also liked (11)

การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง
 
ดับเพลิง
ดับเพลิงดับเพลิง
ดับเพลิง
 
Fire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & CodesFire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & Codes
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
Berau Coal Loss Control & Risk Management Systems
Berau Coal Loss Control & Risk Management SystemsBerau Coal Loss Control & Risk Management Systems
Berau Coal Loss Control & Risk Management Systems
 
แผนอพยพหนีไฟ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
แผนอพยพหนีไฟ  คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.แผนอพยพหนีไฟ  คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
แผนอพยพหนีไฟ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ.
 
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
 
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัยคู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpmการจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
การจัดทำแผนเผชิญเหตุ Ddpm
 
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]
 

การประเมินความเสี่ยงด้านอัคคีภัยในห้องปฏิบัติการ