SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
หลักการสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
และการประยุกต์ใช้ Root cause analysis
ในการสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
วงศกร อังคะคามูล
นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ
กลุ่มข่าวกรองและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค
1
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีมปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
ระหว่างวันที่ 14 – 16 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมโกลเด้น ซิตี้อาเภอเมือง จังหวัดระยอง
เนื้อหา
วัตถุประสงค์การสอบสวนโรค Envocc
ความรู้พื้นฐานที่ควรรู้และการเข้าถึงแหล่งข้อมูล
ขั้นตอนการสอบสวนโรค Envocc
Root Cause Analysis: Why ? analysis
2
Host
EnvironmentAgent
Disease
- Individual worker
- Family
- Community
- Hazardous microbes
- Physical hazard
- Chemicals
- Psychosocial
- Etc.
- Work environment
- External environment
Applied from; Robert H. Friis. Occupational Health and Safety for the 21st Century. California State University: California.
Host
EnvironmentAgent
Silicosis
- คนงาน / ผู้ปฏิบัติงาน (ไม่ป้องกัน)
- การสูดหายใจเอาฝุ่น
ซิลิกอนไดออกไซด์หรือ
เรียกว่าผลึกซิลิก้าซึ่ง
ส่วนมากจะพบในหิน
ทรายเข้าไป
- สิ่งแวดล้อมการทางานที่ไม่เหมาะสม
- มีความเข้มข้นของฝุ่นซิลิก้า
- ฐานะทางเศรษฐกิจ/ สังคม
- อุตสาหกรรมเหมืองแร่ งานตัดหิน สกัดหิน
โรงงานโม่บดย่อยหิน ฯลฯ
เมื่อไหร่ต้องสอบสวนโรค ?
ไม่จำเป็นต้องเกิดโรค
– โรค
– กำรสัมผัสกับควำมเสี่ยง (ยังไม่ป่วย)
– กำรเกิดควำมเสี่ยง
– เหตุกำรณ์ที่เกือบเกิดควำมเสี่ยง (Near missed)
วัตถุประสงค์การสอบสวนโรคฯ
หาสาเหตุของการบาดเจ็บ/ ป่วยด้านโรคจากการ
ประกอบอาชีพ
เพื่อกาจัด หรือควบคุมสาเหตุที่ก่อให่เกิดโรค
เพื่อป้ องกัน/ ควบคุม/ ลดความรุนแรง ของโรคใน
ผู้ป่วยหรือผู้ที่เสี่ยงต่อการป่วย
เพื่อตอบสนองต่อเหตุร้องเรียน ความต้องการทาง
กฏหมายและข้อบังคับด้านความปลอดภัย
สิ่งควรรู้มาก่อน
หลักการสอบสวนโรคด้านระบาดวิทยา
ความรู้ด้านอาชีวอนามัย เช่น การ
ป้ องกันอันตราย การประเมินความเสี่ยง
พิษวิทยา
สิ่งควรได้รับเพิ่ม
การทา Root Cause Analysis
การจาลองเหตุการณ์
Work process
7
พิบูล อิสสระพันธุ์. เอกสารประกอบการพัฒนาหลักสูตรสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. 2560
แนวทางการสอบสวนโรคจากการทางานและสิ่งแวดล้อม
8
เกณฑ์การสอบสวน
โรค/ ภัยสุขภาพ
ขั้นตอนการสอบสวนโรค
ทีมสอบสวนโรค ประกอบด้วยใครบ้าง ?
แบบสอบสวนโรคที่ใช้บ่อยในพื้นที่
ช่องทางรายงาน/ สื่อสารข้อมูล
หน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องที่ให้การ
สนับสนุนในการดาเนินงาน เช่น สถานที่
ส่งตัวอย่างวิเคราะห์ ศูนย์แนะนาทาง
พิษวิทยา
 ขั้นที่ 1 ตรวจสอบ/ ยืนยัน
 ขั้นที่ 2 การเตรียมการ
 ขั้นที่ 3 ยืนยันการวินิจฉัยและการเก็บ
รวบรวมข้อมูล/ การค้นหาผู้ป่วยเพิ่ม
 ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยาย
 ขั้นที่ 5 การสร้างและพิสูจน์สมมติฐาน
 ขั้นที่ 6 การควบคุม ป้ องกันโรค
 ขั้นที่ 7 สรุปผล และเขียนรายงาน
 ขั้นที่ 8 การสื่อสารให้ผู้อื่นทราบ
เกณฑ์การสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพฯ
เกณฑ์สาหรับเหตุการณ์ที่มีความสาคัญสูง (DCIR)
เกณฑ์ที่เพิ่มเติมจาก DCIR
(ไม่เข้า DCIR แต่เข้าเกณฑ์ของสานักระบาดวิทยา)
โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
 การเสียชีวิตในเหตุการณ์เดียวกัน ในสถาน
ประกอบการเดียวกันตั้งแต่ 5 รายขึ้นไป
 ผู้ป่วยสงสัยโรค silicosis โรคจากแร่ใยหินเอสเบสตอส ที่มีผู้ป่วยตั้งแต่ 1 รายขึ้นไป
และอยู่ในสถานที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
 ผู้ป่วยสงสัยโรคพิษตะกั่ว ที่มีผู้ป่วยตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป ด้วยอาการที่คล้ายกัน และอยู่
ในสถานที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ในช่วงเวลา 12 เดือน
 ผู้ป่วยสงสัยโรคพิษสารกาจัดศัตรูพืช ที่มีผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อนตั้งแต่ 5 รายขึ้นไป ด้วย
อาการที่คล้ายกัน และอยู่ในสถานที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
 เหตุการณ์ที่มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยสารเคมีและรังสี
ภัยสุขภาพ
 โรงงาน สถานประกอบการ เหมืองแร่ บ่อขยะ ที่เกิด
ระเบิด ไฟไหม้ กัมมันตรังสี สารพิษหรือสารเคมีรั่วไหล ที่
ทาให้มีผู้เสียชีวิต หรือ ต้องมีการอพยพประชากรไปอยู่
ศูนย์พักพิงชั่วคราว
*DCIR: Director Critical Information Requirement =ข้อมูลสาคัญ
ของเหตุการณ์ที่มีผลกระทบหรืออาจมีผลกระทบต่อสาธารณสุขในวง
กว้าง/มีความรุนแรงสูงต้องการการตอบสนองเร่งด่วนภายใน 24 ชั่วโมง
ต้องแจ้งให้ผู้บริหารระดับสูงทราบ
ขั้นตอนการสอบสวนโรค envocc
 Verify เหตุการณ์
 เตรียมคน เงิน ของ
ทบทวนวรรณกรรม (มาตรฐานความปลอดภัย ความเป็นพิษ การ
เก็บตัวอย่าง PPE กฎหมาย)
 ลงพื้นที่ ประชุมกับผู้เกี่ยวข้อง/ ผู้ได้รับผลกระทบ
 สรุปสิ่งที่พบเห็น และข้อเสนอแนะ
 ทารายงาน คืนข้อมูล สื่อสาร
10
แหล่งข้อมูล
ความปลอดภัย
สารเคมี
WISER
ICSC card
NRHChem
DIW GHS
WISER APPLICATION/ Online
12NRHChem application/ online
ICSC database
International Chemical Safety Cards (ICSC)
โปรแกรมจาแนกวัตถุอันตรายภาคอุตสาหกรรมตามระบบ
Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals(GHS)
http://envocc.ddc.moph.go.th/uploads/media/manual/book_final__1.pdf
การเก็บตัวอย่าง
สิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
 รายการวิเคราะห์
 วิธีวิเคราะห์
 สิ่งส่งตรวจ
 วิธีเก็บตัวอย่าง
 วิธีการส่งสิ่งส่งตรวจ
 ราคาวิเคราะห์
การตรวจประเมินสภาพแวดล้อม
 รายการวิเคราะห์
 เครื่องมือที่ใช้
 วิธีวิเคราะห์
http://envocc.ddc.moph.go.th/p/ศูนย์บริการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบแบบสอบถาม/ แบบสารวจ
ชื่อ – สกุล, เพศ, อายุ, อาชีพ, รายได้, การสมรส, ที่อยู่, การศึกษา ฯลฯ
ข้อมูลบุคคล
อาชีพ, ลักษณะงาน, อายุงาน, สถานที่ทางาน, ประเภทกิจการ, ประวัติการทางาน
ในอดีต ฯลฯ
ประวัติการทางาน
โรคประจาตัว, พันธุกรรม, การรับประทานยาประจา, การเจ็บป่วยในอดีต ฯลฯ
ประวัติการเจ็บป่วย
การสูบบุหรี่, การดื่มสุรา, การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ฯลฯ
พฤติกรรมสุขภาพ
สภาพที่อยู่อาศัย, ระบบสาธารณูปโภค ฯลฯ
วิถีชีวิตและความเป็นอยู่
ประวัติการรับสัมผัสสิ่งคุกคาม, การทางานที่เสี่ยงต่อสุขภาพ, สภาพแวดล้อมการ
ทางาน
การสัมผัสปัจจัยเสี่ยงและ
สิ่งคุกคาม
ช่องทางรับสัมผัส, อาการแสดง, ระยะเวลาเริ่มมีอาการ, การรักษา ฯลฯ
ลักษณะอาการ/ การ
เจ็บป่วย/ การบาดเจ็บ
การเก็บข้อมูลและรายงานผลการสอบสวนโรค
ตั้งคาถาม และตอบคาถาม “5 W 1 H”
ที่มา: International Labour Office (ILO). Investigation of occupational accidents and diseases. Geneva: ILO, 2014.
Person
Time
Place
การเก็บข้อมูลและรายงานผลการสอบสวนโรค (ต่อ)
Who ผู้ประกอบการ ผู้ได้รับบาดเจ็บ ผู้มีส่วนร่วมในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น, พยาน,
รวมทั้งตัวบุคคลที่ดาเนินการตรวจสอบเองก็ต้องระบุอย่างชัดเจน
การเก็บข้อมูลและรายงานผลการสอบสวนโรค (ต่อ)
20
Where
• สถานที่,
• ตาแหน่งที่เกิดเหตุที่เกิดขึ้น,
• แผนที่ของที่เกิดเหตุ,
• แผนกงาน,
• ค่า Latitude และ Longitude
• ฯลฯ
การเก็บข้อมูลและรายงานผลการสอบสวนโรค (ต่อ)
When วันที่และเวลาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ถ้าเป็นไปได้ควรทา
Timeline เพื่อจัดเรียงลาดับเหตุการณ์อย่างถูกต้อง
06.00 น. ผสมสารเคมี
กับน้าเล็กน้อยและเม็ด
ข้าวโพดโดยมือเปล่า
07.00 น. ขุดหลุ่มและ
หยอดเมล็ด มีคนขุด 20
คน และคนหยอด 22 คน
11.30 น. หยุดพัก
รับประทานอาหารและ
กาแฟ
13.00 ผู้ป่วยรายแรกเริ่มเวียน
ศีรษะ และกลับบ้าน (ไม่ได้ทาน
อาหารเพราะรู้สึกไม่สบาย)
หลัง 13.00 น. เริ่มมีคนป่วยมากขึ้น
รวมทั้งผู้ผสมสารเคมีและเจ้าของไร่ก็
เริ่มมีอาการเวลา 15.00 น.
19.00 น. ผู้ป่วยรายแรก
ไปโรงพยาบาล
การเก็บข้อมูลและรายงานผลการสอบสวนโรค (ต่อ)
What
สิ่งที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลา ของการเกิด
โรค/ อุบัติเหตุ ?
- กระบวนการ (Process) อะไรที่กาลัง
ดาเนินการอยู่ก่อน
- ชนิดของสิ่งคุกคาม/ สารเคมีที่รั่วไหล
อะไร
- สิ่งแวดล้อม เช่น อากาศ ดิน หรือน้าที่
ได้รับผลกระทบ อะไรที่ได้รับผลกระทบ
- มีการอพยพเกิดขึ้นหรือไม่ ?
- หน่วยงานอะไรบ้างที่เกี่ยวกับข้อง ?
การเก็บข้อมูลและรายงานผลการสอบสวนโรค (ต่อ)
How
• เหตุการณ์เกิดขึ้นได้อย่างไร ? (การจาลองเหตุการณ์ถ้า
จาเป็น)
• กิจกรรมที่นามาสู่การเกิดโรค/ภัย?
• ก่อนเกิดมีกระบวนการใดที่ถูกละเลยไปหรือไม่?
• สภาพอากาศบริเวณสถานที่ตั้งของเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นเป็นอย่างไร?
• ขนาดของพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบเป็นอย่างไร
(ความเสียหาย)
• ปัจจัยส่วนบุคคลที่กระตุ้นให้เกิดอุบัติภัยขึ้น?
การเก็บข้อมูลและรายงานผลการสอบสวนโรค (ต่อ)
24
Why
 ทาไมถึงเกิด
เหตุการณ์ขึ้นได้ ?
 นาไปสู่ root
cause analysis
25
เป็นแผลเล็กน้อย ติดเชื้อ HIV/ HB, C
ไม่สวม PPEไม่มี
ไม่งบ
.........
ไม่มีนโยบาย
.........
ไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนการ
ทางานที่ปลอดภัย
ไม่มีคู่มือ
............
ไม่ได้ประเมินความเสี่ยง
ต้องการวันหยุดไปเที่ยว
แลกวันหยุด
ควงกะนอนไม่พอ
ประยุกต์มาจาก: ณัฐพงศ์ แหละหมัน. หลักความปลอดภัยและการป้ องกันอุบัติเหตุการทางานในโรงพยาบาล,2560.
Why ?
กิจกรรมที่ต้องทาในการสอบสวน
1) การระบุสิ่งที่เป็นอันตราย (Hazard Identification)
2) การให้คาปรึกษา (Consultation)
3) การบริการทางระบาดวิทยา (Epidemiological services)
4) การประเมินความจาเป็นทางการแพทย์และสุขภาพ (Health and
medical needs assessment)
5) การระบุบุคคลที่ได้รับผลกระทบ (Identification of affected individuals)
กรณีตัวอย่าง (1)
• ไฟไหม้โรงงานบรรจุข้าว นิคมอุตสาหกรรมหนองแค สระบุรี
(Aluminum phosphide)
34
http://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/@ed_dialogue/@lab_admin/documents/publication/wcms_346714.pdf
http://envocc.ddc.moph.go.th/uploads/media/manual/k3.pdf
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis Applied

More Related Content

What's hot

Ppt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อมPpt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อมPrachaya Sriswang
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง9tong30
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.Pongsatorn Sirisakorn
 

What's hot (20)

การยศาสตร์ (Ergonomics)
การยศาสตร์ (Ergonomics)การยศาสตร์ (Ergonomics)
การยศาสตร์ (Ergonomics)
 
Ppt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อมPpt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อม
 
Ppt. ปอด
Ppt. ปอดPpt. ปอด
Ppt. ปอด
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง
 
Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
Ppt.office syndrome
Ppt.office syndromePpt.office syndrome
Ppt.office syndrome
 
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
คู่มือการฝึกซ้อมแผน ปภ.
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 

Similar to Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis Applied

"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคnoodeejideenoodeejid
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์nawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคLoadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคnawaporn khamseanwong
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยUtai Sukviwatsirikul
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรคnoodeejideenoodeejid
 
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...BAINIDA
 
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนดการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนดงานควบคุมโรคต รพ.ธรรมศาสตร์
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี... Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...nawaporn khamseanwong
 
ฐานข้อมูล Procedures Consult
ฐานข้อมูล Procedures Consultฐานข้อมูล Procedures Consult
ฐานข้อมูล Procedures ConsultAkarimA SoommarT
 
แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อดูแลสุขภาพเด็กจากปัญหาสิ่งแวดล้อม
แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อดูแลสุขภาพเด็กจากปัญหาสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อดูแลสุขภาพเด็กจากปัญหาสิ่งแวดล้อม
แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อดูแลสุขภาพเด็กจากปัญหาสิ่งแวดล้อม csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรคnawaporn khamseanwong
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Yuwadee
 
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพWanchana Pontongmak
 
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfOldcat4
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์nawaporn khamseanwong
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Loadแนวข้อสอบ นายช่างโยธา กรมควบคุมโรค
 Loadแนวข้อสอบ นายช่างโยธา กรมควบคุมโรค Loadแนวข้อสอบ นายช่างโยธา กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นายช่างโยธา กรมควบคุมโรคnawaporn khamseanwong
 

Similar to Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis Applied (20)

Nopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat PreparednessNopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat Preparedness
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคLoadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
 
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
 
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนดการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี... Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 
ESPReL Policy at University Level
ESPReL Policy at University LevelESPReL Policy at University Level
ESPReL Policy at University Level
 
ฐานข้อมูล Procedures Consult
ฐานข้อมูล Procedures Consultฐานข้อมูล Procedures Consult
ฐานข้อมูล Procedures Consult
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อดูแลสุขภาพเด็กจากปัญหาสิ่งแวดล้อม
แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อดูแลสุขภาพเด็กจากปัญหาสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อดูแลสุขภาพเด็กจากปัญหาสิ่งแวดล้อม
แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อดูแลสุขภาพเด็กจากปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1
 
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
ประเมินระบบทะเบียนราษฏร์และสถิติชีพ
 
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานธุรการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Loadแนวข้อสอบ นายช่างโยธา กรมควบคุมโรค
 Loadแนวข้อสอบ นายช่างโยธา กรมควบคุมโรค Loadแนวข้อสอบ นายช่างโยธา กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นายช่างโยธา กรมควบคุมโรค
 

Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis Applied