SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549                        1 

                      การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝาเทา 
                                                 
                    Development of Educational Media for the Blinds on Foot Massage 

                                                                        เปยทิพย พัวพันธ*  อรรถพร ฤทธิเกิด**  สุพิทย กาญจนพันธุ** 


                                                                       บทคัดยอ 
     การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้  มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของสื่อเพื่อการเรียนรูสาหรับคนตาบอด  เรื่อง  การ 
                                                                                                    ํ
นวดฝาเทา ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 : 80 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน กอนและหลังเรียนดวย 
สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอดที่ผูวิจัยสรางขึ้น 
                    
     กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนคนตาบอดที่เรียนเรื่อง การนวดฝาเทา 2 แหง ไดแก สมาคมคนตาบอดแหงประเทศ 
ไทย และศูนยพัฒนาสมรรถภาพคนตาบอด ปากเกร็ด จํานวน 50 คน แลวทําการเลือกตัวอยางโดยวิธีการสุมแบบงาย (Simple 
Random Sampling) ดวยวิธีจับฉลาก ไดกลุมตัวอยางประกอบดวย คนตาบอดจากสมาคมคนตาบอดแหงประเทศไทย และจาก 
ศูนยพัฒนาสมรรถภาพคนตาบอด ปากเกร็ด จํานวน 30 คน 
     ผลการวิจัยครั้งนี้ สรุปไดวา 
     1. สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝาเทา มีประสิทธิภาพเทากับ 84.33 : 82.17 เปนไปตามเกณฑที่กําหนด 
                           
     2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนกอนและหลังเรียนดวยสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝาเทา มี 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว 
คําสําคัญ : สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝาเทา 


                                                                       Abstract 
    The purposes of this research study were to construct and find out the efficiency of Educational Media for the Blinds on 
Foot  Massage in order to have 80 : 80 effectiveness standard, and to compare learning achievement between pre-test and 
post-test scores of students who studied with this package. 
     The sampling group were 50 visual disabilities that learned Foot Massage at Thailand Association of the Blind and Thai 
Disabled Development Pakkred Foundation . The 30 samples was selected by simple random sampling method. 
     The results of this research were as follows: 
    1. The Educational Media for The Blinds on Foot Massage had the efficiency at 84.33 : 82.17 according to the 80 : 80 
effectiveness standard. 
    2. The comparison of learning achievement of the Blinds between pre-test and post-test was found that post-test scores 
were statistically higher than the pre-test scores at 0.05 level of significant. 

Keyword: Educational Media for the blinds on Foot massage 


*นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 
**รองศาสตราจารย ประจําภาควิชาครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549 


1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา                                         ดํารงชี วิตในสั งคมรว มกับคนปกติได   โดยไมเปน ภาระแก 
       คนตาบอดสามารถรับรูและเรียนรูดวยวิธีตางจากคนตา                   ผู อื่ น   สามารถเข า รั บ การศึ ก ษาจนถึ ง ขั้ น สู งสุ ด ได   และ 
ดี การจัดการศึกษาใหแกคนตาบอดเกิดการรับรูได  จะตอง                     ประกอบอาชีพ ไดเ ชน เดีย วกับ คนปกติ   การให โอกาสคน 
อาศั ย ประสาทส ว นที่ เ หลื อ อยู    คื อ   การได ยิ น หรื อ การ        พิ ก ารได มี งานทํ า   โดยการพั ฒ นาทั ก ษะฝ มือ ให ต รงกั บ 
สัมผัสทางการฟง  การสัมผัสทางกาย  การดมกลิ่น  และ                          ความสามารถและความต อ งการของตลาดนั บ เป น การ 
การชิมรส ในจํานวนประสาทที่เหลืออยูนี้  ประสาทที่คน                        ช ว ยเหลื อ แบบยั่ ง ยื น  ที่ ค นพิ ก ารต อ งการมากกว า การ 
ตาบอดใชมากที่สุดคือ  การสัมผัสทางการฟง (Tactile) และ                     ชวยเหลือดานอื่นๆ 
การเคลื่อนไหวของอวัยวะ  (Kinesthetic)  หรือการใชการ                                ปจ จุ บัน การนวดแผนไทยกํ า ลังเป นที่ ส นใจอย างมาก 
สัมผัส หลายๆ ดา นพร อมกัน   จากการศึก ษาพบว า คนตา                      เปนอาชีพที่คนตาบอดสามารถนําไปประกอบอาชีพได  และ 
บอด  จํ าเป นตอ งใช สื่อการเรียนที่ได ลูบคลํา  สัมผัส  ใน              ไมต องใช อุป กรณมาก เนื่อ งดว ยในการเรี ยนการสอนการ 
วิชาตางๆ  ซึ่งจะชวยใหเพิ่มพูนความรูและทักษะได วิธีการ                 นวดฝาเทาสําหรับคนตาบอดนั้น  ยังเปนการเรียนการสอน 
จัดการเรียนการสอนที่ผูเชี่ยวชาญทางดานการสอนตางให                       แบบมีผูสอนเปนผูอธิบาย  และใหคนตาบอดจับคูกันในการ 
ความเห็ น ตรงกั น ว า เป น ลั ก ษณะการสอนที่ เ อื้ อ ต อ การ            ฝกนวด จึงทําใหตองใชระยะเวลาพอสมควรในการเรียน 
เรียนรูของผูเรียนที่สําคัญประการหนึ่ง คือ การสงเสริมให                 การสอน  ไมสามารถทบทวนไดตลอดเวลา  อีกทั้งยังเสีย 
ผูเรียนมีประสบการณตรงมากที่สุด  โดยใหผูเรียนไดลงมือ                   คาใชจายในการจางบุคลากร  ตลอดจนสถานที่ในการเรียน 
กระทําดวยตนเอง จึงไดมีการผลิตหุนจําลองฝาเทาเพื่อให                   การสอน 
คนตาบอดสามารถจินตนาการไดเร็วยิ่งขึ้น ทั้งไดรับความ                                ดังนั้นผูวิจัยจึงตระหนักถึงประโยชนของการพัฒนาสื่อ 
เขาใจที่จะชวยสรางความคิดรวบยอดจากประสบการณการ                          เพื่อการเรียนรูสาหรับคนตาบอด  เรื่อง  นวดฝาเทา  โดย 
                                                                                                   ํ
เรียนการสอนไดดียิ่งขึ้นดวยหุนจําลองที่ใชเปนสื่อการเรียน               จัดทําเปนหนังสือเสียง  (Talking  Book)  และมีหุนจําลอง 
การสอนนี้   หุน จํา ลองมีลั กษณะ  3  มิ ติ  สามารถจั บต อ ง              ฝาเทา  เพื่อใหคนตาบอดสามารถเรียนรู   จดจํา  และสามารถ 
และพิจารณารายละเอียดได เหมาะสําหรับการแสดงที่ไ ม                         ทบทวนความรูไดดวยตนเอง  เปนการสงเสริมใหคนตาบอด 
สามารถมองเห็นดวยตาเปลา สามารถใชแสดงหนาที่และ                           ไดมีงานทํา  และเปนการชวยเหลือคนตาบอดแบบยั่งยืน 
ลักษณะสว นประกอบ  ชว ยในการเรีย นรูแ ละการปฏิบั ติ 
ทั ก ษะชนิ ด ต า งๆ  [1] หนั ง สื อ เสี ย ง สื่ อ ที่ ทํ า หนั ง สื อ     2. วัตถุประสงคของการวิจัย 
แบบเรียนหรือสื่อสิ่งพิมพตางๆ  มาอานบันทึกเสียงเพื่อเพิ่ม                      1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของสื่อเพื่อการเรียนรู 
โอกาสการรับ รู ข าวสารข อ มู ลเพิ่ มขึ้น คุ ณสมบั ติข องสื่ อ           สําหรับคนตาบอดเรื่อง  การนวดฝาเทา 
ประเภทเทปบันทึกเสียง  คือ สามารถเปดรับฟงซ้ําไดหรือ                            2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลัง 
เปดฟงทบทวนได เปนสื่อที่สามารถทําใหผูฟงเกิดภาพพจน                   เรียนจากการเรียนดวยสื่อเพื่อการเรียนรูสาหรับคนตาบอด 
                                                                                                                    ํ
ในจินตนาการไดอยางดี [4] หุนจําลอง  หนังสือเสียง  และ                    เรื่อง  การนวดฝาเทา 
อักษรเบรลลจึงจัดเปนสื่อการเรียนการสอน  ประเภทหนึ่ง 
ของคนตาบอด  ที่จ ะชวยให คนตาบอดเกิดความเขาใจได                         3. สมมติฐานการวิจัย 
เร็วยิ่งขึ้น                                                                    1. สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง  การนวดฝา 
                                                                                                      
       จาก คว ามพ ยา ยามขอ งภา ครั ฐที่ ต อ งการ ฟ น ฟู                 เทา  มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด 
สมรรถภาพคนพิการ ทั้งการแพทย  การศึกษา อาชีพและ                                  2.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนดวยสื่อเพื่อการ 
สังคม  คือ  จะทํ า อย า งไรที่จ ะจัด หาหรื อ พัฒ นาเครื่อ งมื อ           เรียนรูสําหรับคนตาบอดเรื่อง  การนวดฝาเทา  สูงกวากอน 
อุ ป กรณ ที่ จ ะสนั บ สนุ น  ส ง เสริ ม คนพิ ก ารให ส ามารถ             เรียน
วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549                               3 

4. ขอบเขตของการวิจัย                                                      ผูทรงคุณวุฒิทั้ง 6  ทานไดประเมินประสิทธิภาพของสื่ออยู 
       สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝา                ในระดับดี  และผลการหาประสิทธิภาพของสื่อเทากับ 84.33 
เทา ใชหลักการพัฒนาสื่อ  ADDIE  Model  ของ  Seels and                    : 82.17 เปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว คือ 80:80 
Glasgow  ตามขั้นตอน  คือ  การวิเคราะห  การออกแบบ                               2.  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน  แบงเป น 
การผลิต/การพัฒนา การนําไปใช และการปรับปรุง [5]                           แบบทดสอบความรู ก อ นเรี ย น 20  ข อ  และแบบทดสอบ 
       เนื้อหาที่ใชในการวิจัย เปนเนื้อหาเรื่อง การนวดฝาเทา            ความรูหลังเรียน 20 ขอ ซึ่งแบบทดสอบคํานวณหาคาความ 
ประกอบด ว ยเรื่ อ งเขตสะท อ นและหลั ก ในการแบ งเขต                     ยากงาย ไดคาแบบทดสอบอยูในชวง 0.20 - 0.75 คาอํานาจ 
สะทอน และตําแหนงและขอบงใชของเขตสะทอนตางๆ                           จํ า แนกอยู ใ นช ว ง 0.20  -  0.50 และค า ความเชื่ อ มั่ น ของ 
       ตัวแปรที่ศึกษา ไดแก ตัวแปรตน คือ การเรียนดวยสื่อ               แบบทดสอบเทากับ 0.83 
เพื่ อ การเรี ย นรู สํ า หรั บ คนตาบอด เรื่ อ ง การนวดฝ า เท า               3. แบบประเมินคุณภาพของสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับ 
สว นตั ว แปรตาม  คือ   ผลสัมฤทธิ์ ท างการเรี ย นก อ นและ                คนตาบอด  เรื่อง การนวดฝาเทา ผูทรงคุณวุฒิดานเนื้อหาและ 
หลั งเรีย นด ว ยสื่ อ เพื่ อการเรีย นรู สํ าหรั บ คนตาบอด เรื่ อ ง      ผูทรงคุณ วุฒิ ดานเทคนิค ประเมิ นประสิ ทธิ ภาพของสื่อ ซึ่ ง 
การนวด                                                                    ผูทรงคุณวุฒิทั้ง 6  ทานไดประเมินประสิทธิภาพของสื่ออยู 
ฝาเทาของคนตาบอด                                                         ในระดับดี 


5. วิธีดําเนินการวิจัย                                                    6. ผลการวิจัย 
5.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง                                                     ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิจัยตามวัตถุประสงคของการ 
     ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนคนตาบอด สมาคม                    วิจัยดังนี้ 
คนตาบอดแหงประเทศไทย และ ศูนยพั ฒนาสมรรถภาพ                              ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาประสิทธิภาพ 
คน                                                                                      ของสื่อเพื่อการเรียนรูสาหรับคนตาบอดของ 
                                                                                                                ํ
ตาบอด ปากเกร็ ด ที่เ ลือกเรียนการนวดฝา เทา จํานวน 50                                  นักเรียนกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน โดยใช 
คน                                                                                      ขอสอบ จํานวน 20 ขอ 
     กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนคนตาบอด                    การหาประสิทธิภาพ  จํานวน            คะแนนเต็ม     ผลรวมคะแนน  ผลรวม 
                                                                             ของบทเรียน     ผูเรียน             ของ          ที่ตอบถูก  คะแนน 
สมาคมคนตาบอดแห ง ประเทศไทย และศู น ย พั ฒ นา 
                                                                                                              แบบทดสอบ                     เปน 
สมรรถภาพคนตาบอด ปากเกร็ ด  ที่ เลื อ กเรีย นเรื่ อง  การ                                                                                 รอยละ 
นวดฝาเทา จํานวน 30 คน ไดมาโดยการสุมตัวอยางอยาง                      แบบทดสอบระหวาง          30            20               506     84.33 
งาย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับฉลาก                           เรียน (E 1 ) 
5.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย                                            แบบทดสอบหลัง             30            20              493           82.17 
                                                                          เรียน (E 2 ) 
       การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ในที่นี้หมายถึงการ 
พัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด  เรื่อง การนวด 
                                                                               ตารางที่  1  แสดงผลการหาประสิทธิภาพของสื่อเพื่อการ 
ฝาเทา โดยผูวิจัยแบงการสรางเครื่องมือออกเปน 3 ประเภท 
                                                                          เรียนรูสําหรับคนตาบอด  จากการทดสอบกับคนตาบอดที่ 
คือ 
                                                                          เปนกลุมตัวอยางจํานวน  30  คน  ไดคาประสิทธิภาพของ 
       1. สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด  เรื่อง การนวด 
                                                                          กระบวนการตอคาประสิทธิภาพของผลลัพธ  (E 1 :E 2 )  เทากับ 
ฝาเท า  ผู วิจัย ไดนํ าสื่อ เพื่อ การเรียนรูสํา หรับ คนตาบอด 
                                                                          84.33:82.17 เปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว คือ 80:80
เรื่ อ ง การนวดฝ า เท า  ให ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด า นเนื้ อ หาและ 
ผูทรงคุณวุฒิดานเทคนิคประเมินประสิทธิภาพของสื่อ ซึ่ง 
4                                 วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549 


ตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาผลการ                                 2.  ผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนกอนและหลังเรียนดวยสื่ อ 
           เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนที่                เพื่ อ การเรี ย นรู สํ า หรั บ คนตาบอด เรื่ อ ง การนวดฝ า เท า  มี 
           เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน โดยใชขอสอบ                   ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวาก อนเรียน อยางมี 
           จํานวน 20 ขอ                                                 นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้ง 
    การเปรียบเทียบ          N        X         S.D       t-test          ไว 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 
แบบทดสอบกอนเรียน  30  12.77  1.57 
                                                                         8. อภิปรายผลการวิจัย 
(Pre-Test) 
                                                        10.28                   1. ประสิทธิภาพของสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด 
แบบทดสอบหลังเรียน           30  16.43  1.61 
(Post-Test)                                                              มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของกระบวนการเท า กั บ  84.33  และ 
มีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 (µ=0.05, df=29 , t=1.699)                       ประสิทธิภาพของผลลัพธเทากับ 82.17 กลาวคือ เมื่อคนตา 
                                                                         บอดเรียนรูจากสื่อดังกลาวแลวทําแบบทดสอบระหวางเรียน 
      จากตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาผล                    (E 1 ) ไดคะแนนมากกวาคะแนนจากการทําแบบทดสอบหลัง 
การเปรีย บเทีย บผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผู เรี ยนกอ น               เรียน (E 2 ) เปนไปตามเกณฑที่กําหนด  80  :  80  แสดงวาสื่อ 
และหลังเรียนดวยสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง                เพื่ อ การเรี ย นรู สํ า หรั บ คนตาบอดที่ ผู วิ จั ย สร า งขึ้ น  มี 
การนวด                                                                   ประสิทธิ ภาพทางการเรียน  โดยใชหลักการพัฒนาสื่อตาม 
ฝาเทา พบวาค าเฉลี่ย คะแนนสอบกอ นเรียนเทากับ 12.77                  ขั้น ตอนการออกแบบระบบการสอนของ ADDIE  Model 
คะแนน ค า เฉลี่ ย คะแนนสอบหลั ง เรี ย นเท า กั บ  16.43                เปนหลักในการดําเนินการ และขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา 
คะแนน คาสวนเบี่ ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบกอ น                           ทางการศึกษา  คือในขั้นตอนการพัฒนาสื่อการสอนกับคนตา 
เรียนเทา กับ 1.57 คาส วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน                      บอดแบบหนึ่ ง ต อ หนึ่ ง  และทํ า การทดลองกั บ กลุ ม ย อ ย 
สอบหลังเรียนเทากับ 1.61 จากนั้นไดหาคาสถิติโดยใชสูตร                  จํานวน 3-6 คน ทั้งนี้เพื่อเปนการตรวจสอบสื่อการสอนใน 
t-test (Dependent Group) ที่ df=29 ไดคาเทากับ 10.28 เมื่อ             เชิ ง คุ ณ ภาพ โดยใช วิ ธี ก ารสั ง เกตและสั ม ภาษณ ใ นขณะ 
นํามาเปรียบเทียบคา t จากตารางที่ไดเทากับ 1.699 พบวาคา               ดํ า เนิ น การทดลอง แล ว นํ า มาปรั บ ปรุ งสื่ อ การสอนให มี 
t จากการคํานวณมีคามากกวาคา t จากตาราง จึงสรุปไดวา                   คุณภาพที่ดีก อนนําไปใช จริง ในสว นของเนื้อหาวิชาไดรั บ 
คาเฉลี่ยคะแนนหลังเรียนกับคะแนนกอนเรียนมีคาแตกตาง                     การตรวจสอบจากผูทรงคุณวุ ฒิทางดานเนื้อหา การพัฒนา 
กัน อย างมีนั ยสํ าคั ญทางสถิติ ที่ร ะดั บ 0.05 เมื่ อพิ จารณาดู        หุนจําลองฝาเทาไดรั บการตรวจสอบจากผู ทรงคุณ วุฒิดา น 
คะแนนเฉลี่ยทั้งกอนเรียนและหลังเรียน พบวาคะแนนหลัง                      เทคนิ ค การผลิ ต สื่ อ  อาจารย ผู ค วบคุ ม วิ ท ยานิ พ นธ   และ 
เรี ย นมี ค า มากกว า คะแนนก อ นเรี ย น จึ ง สรุ ป ผลได ว า         อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธรวม ไดชวยตรวจสอบคุณภาพ 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวาผลสัมฤทธิ์ทางการ                    การออกแบบสื่อการสอนมาตลอดในขณะดําเนินการวิจัย 
เรียนกอนเรียนดวยสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด ที่                        2. การเปรียบเทียบเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอน 
ระดับความมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05                                        และหลังเรียนดวยสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอดที่ได 
                                                                         ทดลองกั บ กลุ มตั ว อย าง ได คา คะแนนเฉลี่ ยก อ นการเรี ย น 
7. สรุปผลการวิจัย                                                        เทากับ 12.77 และคาคะแนนเฉลี่ยหลังการเรียน เทากับ 16.43 
     ผลการวิจัยครั้งนี้ สรุปไดวา                                       ซึ่ ง ค า คะแนนเฉลี่ ย ดั ง กล า วมี ค วามแตกต า งกั น อย า งมี 
     1. สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวด                 นัย สํา คัญทางสถิ ติที่ ระดับ 0.05  แสดงว าคนตาบอดที่เ ป น 
ฝาเท า มีป ระสิ ทธิภาพเทา กับ 84.33  : 82.17  เปนไปตาม               กลุมตัว อยา ง มีค วามรูเ พิ่มมากขึ้น หลั งจากไดเ รียนดว ยสื่ อ 
เกณฑที่กําหนด                                                           เพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝาเทา
วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549                                           5 

       เนื่องจากสื่อที่ผูวิจัยสรางเปนการนําหุนจําลองฝาเทามา          หุน จํา ลองที่ ใช กับ คนตาบอด ส วนมากจะเปน สื่ อประเภท 
ประกอบการเรี ยนรู  เรื่ อง การนวดฝ าเทา  ซึ่ งทํ าใหค นตา              ภาพนูน และหนังสือเสียง จึงอยากใหบุคคลหันมาสนใจทํา 
บอดสามารถจินตนาการไดเร็วยิ่งขึ้น ทั้งไดรับความเขาใจที่                  สื่อการสอนประเภทนี้ใหมากขึ้น 
จะชวยสร างความคิดรวบยอดจากประสบการณ การเรีย น                                   3. ในสวนของหุนจําลองฝาเทา ในขั้นตอนการพัฒนา 
การสอนไดดียิ่งขึ้นดวย ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สินี                    ตัวอักษรและตัวเลขเบรลลที่ใชกํากับจุดตางๆ บนฝาเทา ใช 
ภรณ ออนดี [2] ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์                  เปนเดโมเทปแปะติดกับตนแบบที่เปนปูนปลาสเตอร ซึ่ง 
ทางการเรียนวิชาวิ ทยาศาสตรของนัก เรียนตาบอดที่เรีย น                      เดโมเทปที่พิมพตัวอักษรและตัวเลขเบรลลลงไปนั้น มีความ 
จากแบบเรียนที่มีและไมมีภาพประกอบ นักเรียนตาบอดที่                         นู น ไม ม ากเท า ที่ ค วร ทํ า ให ตั ว อั ก ษรและตั ว เลขเบรลล 
เรี ย นจากแบบเรี ยนเบรลล ที่ มีภ าพประกอบมี ผ ลสั มฤทธิ์                  บิด เบื อนไปได  รวมทั้งอาจทํ าใหไ มส ามารถอ านตัว อัก ษร 
ทางการเรียนสูงกวานักเรียนตาบอดที่เรี ยนจากแบบเรีย น                       และตัวเลขเบรลลไดในบางจุด ซึ่งถาเปลี่ยนไปใชวัสดุอยาง 
เบรลล ที่ไ มมีภาพประกอบ  กล าวคือ  ในการผลิต สื่อ การ                   อื่น เชน เบรลลลอน หรือพลาสติกที่สามารถพิมพตัวอักษร 
เรียนการสอนสําหรับคนตาบอด ควรคํานึงถึงการทําใหเกิด                        และตัวเลขเบรลลลงไปได และนําไปแปะติดกับตนแบบได 
การเรียนรูโดยใชประสาทสั มผัสทั้งหมดที่เ ขาเหลืออยูใ ห                  คงทน ก็ จ ะทํ า ให ตั ว อั ก ษรและตั ว เลขเบรลล ชั ด เจนขึ้ น 
เปนประโยชนมากที่สุด เชน ประสาทสัมผัสทางกาย  และ                         สามารถอานไดงาย และคงทนขึ้นกวาเดิม 
ประสาทสัมผัสความรูสึกทางสภาพแวดลอม ความรูสึกทาง                         9.2 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 
ขนาดและปริมาณ และยังสอดคลองกับงานวิจัยของ [3] ได                                1. งานวิจัยเกี่ยวกับคนตาบอดทางดานอาชีพ ยังไมมีการ 
ศึกษาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู  และความ                       นํามาใชอยางแพรหลาย สื่อที่ผลิตมา สวนมากมุงเนนใหคน 
คงทนในการจํา  โดยใชภาพนูนประกอบการฟงเสียงจาก                             ตาบอดไดเรียนรูทางดานวิชาการมากกวา แตมีการพัฒนาสื่อ 
หนังสื อเสี ยง  พบวาผลสัมฤทธิ์ท างการเรี ยนรู และความ                    ทางด า นอาชี พ ที่ เ ป น ที่ ย อมรั บ ทั่ ว ไปน อ ยมาก จึ งอยากให 
คงทนในการจําของนักเรียนตาบอดที่เรียนโดยการสัมผัส                           บุคคลหันมาสนใจทําสื่อการสอนประเภทนี้ใหมากขึ้น เพื่อ 
ภาพนูนระกอบการฟงเสียงจากหนังสือเสียง มีคะแนนเกาะ                          เปนการยืนยันถึงประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 
กลุมกันมากกวานักเรียนตาบอดที่เรียนโดยการฟงเสียงจาก                      ใหมากขึ้น ตามไปด วย รวมทั้ งคนตาบอดสามารถประกอบ 
หนังสือเสียงเพียงอยางเดียว ซึ่งสรุปไดวาคนตาบอดจะเกิด                    อาชีพไดเชนเดียวกับคนปกติ เปนการใหโอกาสคนพิการได 
การเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น ตองอาศัยการเรียนรู                  มีงานทํา  โดยการพัฒนาทักษะฝมือ ใหตรงกับความสามารถ 
โดยใชประสาทสัมผัสที่เหลืออยูรวมกัน ทําใหคนตาบอด                        และความต อ งการของตลาด  นั บ เป น การชว ยเหลื อคนตา 
สามารถเรียนรูไดมากกวาการฟงเสียงเพียงอยางเดียว                         บอดแบบยั่งยืน 
                                                                                  2.  จากการดํ าเนิน การวิ จัย และผลการทดลองทั้งหมด 
9. ขอเสนอแนะในการวิจัย                                                    กล าวได ว าสื่ อเพื่ อการเรี ย นรู สํา หรับ คนตาบอด เรื่ อง การ 
9.1 ขอเสนอแนะทั่วไป                                                       นวดฝ า เท า  ที่ ผู วิ จั ย สร า งขึ้ น มี คุ ณ ภาพและมี คุ ณ สมบั ติ ที่ 
       1. จากการทดลองพบวา ควรจัดสถานที่ใหเปนสัดสว น                    สามารถนําไปประกอบการเรียนการสอนไดเปนอยางดี และ 
และมีความสงบ เพื่อ ใหผู เรีย นมีส มาธิ ในการฟ งบทเรีย น                 เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนสําหรับ 
และทําแบบฝกหัด เปนสิ่งที่ชวยใหการเรียนของผูเรียนเกิด                  คนตาบอดอันเปนเปาหมายสําคัญในการวิจัย 
ประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น                                    3. ในการวิจัยครั้งนี้ ใชเทปเสียงอธิบายประกอบการใช 
       2. จากการสืบคนเพื่อหาขอมูลที่เกี่ยวของกับงานวิจัย                หุนจําลองฝาเทา ซึ่งเปนสื่อการเรียนการสอนที่ตองใชควบคู 
นั้ น  พบว า ยั ง ไม มี ที่ ใ ดที่ นํ า หุ น จํ า ลอง มาทํ า การหา      กั น  ซึ่ งผู วิ จั ย คาดว า ผู ที่ จ ะมาพั ฒ นาต อ ๆ ไป จะได ศึ ก ษา 
ประสิทธิภาพหรือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยสื่อประเภท                         เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาหุ น จํ า ลองฝ า เท า ให ส ามารถ
6                              วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549 


ตอบสนองตอการสัมผัสได อยางเชน หุนจําลองฝาเทาที่มี 
เสียงอธิบายเมื่อกดหรือสัมผัส 

เอกสารอางอิง 
[1]  กิดานันท มลิทอง. 2543. เทคโนโลยีการศึกษาและ 
     นวัตกรรม. (พิมพครั้งที่สอง). กรุงเทพฯ: หางหุนสวน 
     จํากัดอรุณการพิมพ. 
[2]  สินีภรณ  ออนดี. 2536.  "การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ 
     ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนตาบอดชั้น 
     ประถมศึกษาปที่ 5  ที่เรียนจากแบบเรียนที่มีและไมมี 
     ภาพประกอบ".  ปริ ญ ญาครุ ศ าสตรมหาบั ณ ฑิ ต 
     ภาควิชาโสตทัศนศึกษา  บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ 
     มหาวิทยาลัย. 
[3]  สุพจน  เครือหงส . 2531.  "การศึกษาเปรียบเทียบ 
     ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูและความคงทนในการจํา 
     โดยใช ภาพนู นประ กอบกา รฟ ง เ สี ย งจ ากเท ป 
     บั น ทึ ก เสี ย งและการฟ ง จากเทปบั น ทึ ก เสี ย งของ 
     นักเรียนตาบอดชั้นประถมศึกษาปที่ 5". วิทยานิพนธ 
     ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต ,  มหาวิทยาลัยศรีนคริ 
     นทรวิโรฒประสานมิตร. 
[4]  Dale, E. 1955. Audio-Visual Method in Teaching. 
     (3d ed.) New York : Dryden Press. 
[5]  Seels,  B.,  and  Glasgow,  Z.  1998.  Making 
     Instructional        Design  Decisions.  (2nd  ed.). 
     Columbus, Ohio : 
     Prentice-Hall. 

ประวัติผูเขียน 
นางสาวเปยทิพย พัวพันธ สําเร็จการศึกษาปริญญาโท สาขา 
เทคโนโลยีการศึกษาทางการอาชีวะและเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร 
อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร 
ลาดกระบัง ปจจุบันเปนนักวิชาการ สาขาเทคโนโลยี 
ทางการศึกษา สถาบันสงเสริมการสอน 
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

More Related Content

What's hot

สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)sonsukda
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4sonsukda
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & FreewareBoonlert Aroonpiboon
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 

What's hot (20)

สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
1ปกสอน
1ปกสอน1ปกสอน
1ปกสอน
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
Backward design
Backward designBackward design
Backward design
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 

Similar to การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า

แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2sonsukda
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยAekapong Hemathulin
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 

Similar to การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า (20)

09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
06chap4
06chap406chap4
06chap4
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
ไฟล์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยบูรณาการ
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 

การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า

  • 1. วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549  1  การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝาเทา   Development of Educational Media for the Blinds on Foot Massage  เปยทิพย พัวพันธ*  อรรถพร ฤทธิเกิด**  สุพิทย กาญจนพันธุ**  บทคัดยอ  การวิจัยและพัฒนาครั้งนี้  มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของสื่อเพื่อการเรียนรูสาหรับคนตาบอด  เรื่อง  การ  ํ นวดฝาเทา ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 : 80 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน กอนและหลังเรียนดวย  สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอดที่ผูวิจัยสรางขึ้น   กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนคนตาบอดที่เรียนเรื่อง การนวดฝาเทา 2 แหง ไดแก สมาคมคนตาบอดแหงประเทศ  ไทย และศูนยพัฒนาสมรรถภาพคนตาบอด ปากเกร็ด จํานวน 50 คน แลวทําการเลือกตัวอยางโดยวิธีการสุมแบบงาย (Simple  Random Sampling) ดวยวิธีจับฉลาก ไดกลุมตัวอยางประกอบดวย คนตาบอดจากสมาคมคนตาบอดแหงประเทศไทย และจาก  ศูนยพัฒนาสมรรถภาพคนตาบอด ปากเกร็ด จํานวน 30 คน  ผลการวิจัยครั้งนี้ สรุปไดวา  1. สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝาเทา มีประสิทธิภาพเทากับ 84.33 : 82.17 เปนไปตามเกณฑที่กําหนด   2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนกอนและหลังเรียนดวยสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝาเทา มี  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว  คําสําคัญ : สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝาเทา  Abstract  The purposes of this research study were to construct and find out the efficiency of Educational Media for the Blinds on  Foot  Massage in order to have 80 : 80 effectiveness standard, and to compare learning achievement between pre-test and  post-test scores of students who studied with this package.  The sampling group were 50 visual disabilities that learned Foot Massage at Thailand Association of the Blind and Thai  Disabled Development Pakkred Foundation . The 30 samples was selected by simple random sampling method.  The results of this research were as follows:  1. The Educational Media for The Blinds on Foot Massage had the efficiency at 84.33 : 82.17 according to the 80 : 80  effectiveness standard.  2. The comparison of learning achievement of the Blinds between pre-test and post-test was found that post-test scores  were statistically higher than the pre-test scores at 0.05 level of significant.  Keyword: Educational Media for the blinds on Foot massage  *นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง  **รองศาสตราจารย ประจําภาควิชาครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
  • 2. วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549  1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา  ดํารงชี วิตในสั งคมรว มกับคนปกติได   โดยไมเปน ภาระแก  คนตาบอดสามารถรับรูและเรียนรูดวยวิธีตางจากคนตา  ผู อื่ น   สามารถเข า รั บ การศึ ก ษาจนถึ ง ขั้ น สู งสุ ด ได   และ  ดี การจัดการศึกษาใหแกคนตาบอดเกิดการรับรูได  จะตอง  ประกอบอาชีพ ไดเ ชน เดีย วกับ คนปกติ   การให โอกาสคน  อาศั ย ประสาทส ว นที่ เ หลื อ อยู    คื อ   การได ยิ น หรื อ การ  พิ ก ารได มี งานทํ า   โดยการพั ฒ นาทั ก ษะฝ มือ ให ต รงกั บ  สัมผัสทางการฟง  การสัมผัสทางกาย  การดมกลิ่น  และ  ความสามารถและความต อ งการของตลาดนั บ เป น การ  การชิมรส ในจํานวนประสาทที่เหลืออยูนี้  ประสาทที่คน  ช ว ยเหลื อ แบบยั่ ง ยื น  ที่ ค นพิ ก ารต อ งการมากกว า การ  ตาบอดใชมากที่สุดคือ  การสัมผัสทางการฟง (Tactile) และ  ชวยเหลือดานอื่นๆ  การเคลื่อนไหวของอวัยวะ  (Kinesthetic)  หรือการใชการ  ปจ จุ บัน การนวดแผนไทยกํ า ลังเป นที่ ส นใจอย างมาก  สัมผัส หลายๆ ดา นพร อมกัน   จากการศึก ษาพบว า คนตา  เปนอาชีพที่คนตาบอดสามารถนําไปประกอบอาชีพได  และ  บอด  จํ าเป นตอ งใช สื่อการเรียนที่ได ลูบคลํา  สัมผัส  ใน  ไมต องใช อุป กรณมาก เนื่อ งดว ยในการเรี ยนการสอนการ  วิชาตางๆ  ซึ่งจะชวยใหเพิ่มพูนความรูและทักษะได วิธีการ  นวดฝาเทาสําหรับคนตาบอดนั้น  ยังเปนการเรียนการสอน  จัดการเรียนการสอนที่ผูเชี่ยวชาญทางดานการสอนตางให  แบบมีผูสอนเปนผูอธิบาย  และใหคนตาบอดจับคูกันในการ  ความเห็ น ตรงกั น ว า เป น ลั ก ษณะการสอนที่ เ อื้ อ ต อ การ  ฝกนวด จึงทําใหตองใชระยะเวลาพอสมควรในการเรียน  เรียนรูของผูเรียนที่สําคัญประการหนึ่ง คือ การสงเสริมให  การสอน  ไมสามารถทบทวนไดตลอดเวลา  อีกทั้งยังเสีย  ผูเรียนมีประสบการณตรงมากที่สุด  โดยใหผูเรียนไดลงมือ  คาใชจายในการจางบุคลากร  ตลอดจนสถานที่ในการเรียน  กระทําดวยตนเอง จึงไดมีการผลิตหุนจําลองฝาเทาเพื่อให  การสอน  คนตาบอดสามารถจินตนาการไดเร็วยิ่งขึ้น ทั้งไดรับความ  ดังนั้นผูวิจัยจึงตระหนักถึงประโยชนของการพัฒนาสื่อ  เขาใจที่จะชวยสรางความคิดรวบยอดจากประสบการณการ  เพื่อการเรียนรูสาหรับคนตาบอด  เรื่อง  นวดฝาเทา  โดย  ํ เรียนการสอนไดดียิ่งขึ้นดวยหุนจําลองที่ใชเปนสื่อการเรียน  จัดทําเปนหนังสือเสียง  (Talking  Book)  และมีหุนจําลอง  การสอนนี้   หุน จํา ลองมีลั กษณะ  3  มิ ติ  สามารถจั บต อ ง  ฝาเทา  เพื่อใหคนตาบอดสามารถเรียนรู   จดจํา  และสามารถ  และพิจารณารายละเอียดได เหมาะสําหรับการแสดงที่ไ ม  ทบทวนความรูไดดวยตนเอง  เปนการสงเสริมใหคนตาบอด  สามารถมองเห็นดวยตาเปลา สามารถใชแสดงหนาที่และ  ไดมีงานทํา  และเปนการชวยเหลือคนตาบอดแบบยั่งยืน  ลักษณะสว นประกอบ  ชว ยในการเรีย นรูแ ละการปฏิบั ติ  ทั ก ษะชนิ ด ต า งๆ  [1] หนั ง สื อ เสี ย ง สื่ อ ที่ ทํ า หนั ง สื อ  2. วัตถุประสงคของการวิจัย  แบบเรียนหรือสื่อสิ่งพิมพตางๆ  มาอานบันทึกเสียงเพื่อเพิ่ม  1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของสื่อเพื่อการเรียนรู  โอกาสการรับ รู ข าวสารข อ มู ลเพิ่ มขึ้น คุ ณสมบั ติข องสื่ อ  สําหรับคนตาบอดเรื่อง  การนวดฝาเทา  ประเภทเทปบันทึกเสียง  คือ สามารถเปดรับฟงซ้ําไดหรือ  2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลัง  เปดฟงทบทวนได เปนสื่อที่สามารถทําใหผูฟงเกิดภาพพจน  เรียนจากการเรียนดวยสื่อเพื่อการเรียนรูสาหรับคนตาบอด  ํ ในจินตนาการไดอยางดี [4] หุนจําลอง  หนังสือเสียง  และ  เรื่อง  การนวดฝาเทา  อักษรเบรลลจึงจัดเปนสื่อการเรียนการสอน  ประเภทหนึ่ง  ของคนตาบอด  ที่จ ะชวยให คนตาบอดเกิดความเขาใจได  3. สมมติฐานการวิจัย  เร็วยิ่งขึ้น  1. สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง  การนวดฝา   จาก คว ามพ ยา ยามขอ งภา ครั ฐที่ ต อ งการ ฟ น ฟู  เทา  มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด  สมรรถภาพคนพิการ ทั้งการแพทย  การศึกษา อาชีพและ  2.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนดวยสื่อเพื่อการ  สังคม  คือ  จะทํ า อย า งไรที่จ ะจัด หาหรื อ พัฒ นาเครื่อ งมื อ  เรียนรูสําหรับคนตาบอดเรื่อง  การนวดฝาเทา  สูงกวากอน  อุ ป กรณ ที่ จ ะสนั บ สนุ น  ส ง เสริ ม คนพิ ก ารให ส ามารถ  เรียน
  • 3. วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549  3  4. ขอบเขตของการวิจัย  ผูทรงคุณวุฒิทั้ง 6  ทานไดประเมินประสิทธิภาพของสื่ออยู  สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝา  ในระดับดี  และผลการหาประสิทธิภาพของสื่อเทากับ 84.33  เทา ใชหลักการพัฒนาสื่อ  ADDIE  Model  ของ  Seels and  : 82.17 เปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว คือ 80:80  Glasgow  ตามขั้นตอน  คือ  การวิเคราะห  การออกแบบ  2.  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน  แบงเป น  การผลิต/การพัฒนา การนําไปใช และการปรับปรุง [5]  แบบทดสอบความรู ก อ นเรี ย น 20  ข อ  และแบบทดสอบ  เนื้อหาที่ใชในการวิจัย เปนเนื้อหาเรื่อง การนวดฝาเทา  ความรูหลังเรียน 20 ขอ ซึ่งแบบทดสอบคํานวณหาคาความ  ประกอบด ว ยเรื่ อ งเขตสะท อ นและหลั ก ในการแบ งเขต  ยากงาย ไดคาแบบทดสอบอยูในชวง 0.20 - 0.75 คาอํานาจ  สะทอน และตําแหนงและขอบงใชของเขตสะทอนตางๆ  จํ า แนกอยู ใ นช ว ง 0.20  -  0.50 และค า ความเชื่ อ มั่ น ของ  ตัวแปรที่ศึกษา ไดแก ตัวแปรตน คือ การเรียนดวยสื่อ  แบบทดสอบเทากับ 0.83  เพื่ อ การเรี ย นรู สํ า หรั บ คนตาบอด เรื่ อ ง การนวดฝ า เท า  3. แบบประเมินคุณภาพของสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับ  สว นตั ว แปรตาม  คือ   ผลสัมฤทธิ์ ท างการเรี ย นก อ นและ  คนตาบอด  เรื่อง การนวดฝาเทา ผูทรงคุณวุฒิดานเนื้อหาและ  หลั งเรีย นด ว ยสื่ อ เพื่ อการเรีย นรู สํ าหรั บ คนตาบอด เรื่ อ ง  ผูทรงคุณ วุฒิ ดานเทคนิค ประเมิ นประสิ ทธิ ภาพของสื่อ ซึ่ ง  การนวด  ผูทรงคุณวุฒิทั้ง 6  ทานไดประเมินประสิทธิภาพของสื่ออยู  ฝาเทาของคนตาบอด  ในระดับดี  5. วิธีดําเนินการวิจัย  6. ผลการวิจัย  5.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง  ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิจัยตามวัตถุประสงคของการ  ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนคนตาบอด สมาคม  วิจัยดังนี้  คนตาบอดแหงประเทศไทย และ ศูนยพั ฒนาสมรรถภาพ  ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาประสิทธิภาพ  คน  ของสื่อเพื่อการเรียนรูสาหรับคนตาบอดของ  ํ ตาบอด ปากเกร็ ด ที่เ ลือกเรียนการนวดฝา เทา จํานวน 50  นักเรียนกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน โดยใช  คน  ขอสอบ จํานวน 20 ขอ  กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนคนตาบอด  การหาประสิทธิภาพ  จํานวน  คะแนนเต็ม  ผลรวมคะแนน  ผลรวม  ของบทเรียน  ผูเรียน  ของ  ที่ตอบถูก  คะแนน  สมาคมคนตาบอดแห ง ประเทศไทย และศู น ย พั ฒ นา  แบบทดสอบ  เปน  สมรรถภาพคนตาบอด ปากเกร็ ด  ที่ เลื อ กเรีย นเรื่ อง  การ  รอยละ  นวดฝาเทา จํานวน 30 คน ไดมาโดยการสุมตัวอยางอยาง  แบบทดสอบระหวาง  30  20  506  84.33  งาย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับฉลาก  เรียน (E 1 )  5.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย  แบบทดสอบหลัง  30  20  493  82.17  เรียน (E 2 )  การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ในที่นี้หมายถึงการ  พัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด  เรื่อง การนวด  ตารางที่  1  แสดงผลการหาประสิทธิภาพของสื่อเพื่อการ  ฝาเทา โดยผูวิจัยแบงการสรางเครื่องมือออกเปน 3 ประเภท  เรียนรูสําหรับคนตาบอด  จากการทดสอบกับคนตาบอดที่  คือ  เปนกลุมตัวอยางจํานวน  30  คน  ไดคาประสิทธิภาพของ  1. สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด  เรื่อง การนวด  กระบวนการตอคาประสิทธิภาพของผลลัพธ  (E 1 :E 2 )  เทากับ  ฝาเท า  ผู วิจัย ไดนํ าสื่อ เพื่อ การเรียนรูสํา หรับ คนตาบอด  84.33:82.17 เปนไปตามเกณฑที่กําหนดไว คือ 80:80 เรื่ อ ง การนวดฝ า เท า  ให ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด า นเนื้ อ หาและ  ผูทรงคุณวุฒิดานเทคนิคประเมินประสิทธิภาพของสื่อ ซึ่ง 
  • 4. วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549  ตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาผลการ  2.  ผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนกอนและหลังเรียนดวยสื่ อ  เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนที่  เพื่ อ การเรี ย นรู สํ า หรั บ คนตาบอด เรื่ อ ง การนวดฝ า เท า  มี  เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน โดยใชขอสอบ  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวาก อนเรียน อยางมี  จํานวน 20 ขอ  นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้ง  การเปรียบเทียบ  N  X  S.D  t-test  ไว  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  แบบทดสอบกอนเรียน  30  12.77  1.57  8. อภิปรายผลการวิจัย  (Pre-Test)  10.28  1. ประสิทธิภาพของสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด  แบบทดสอบหลังเรียน  30  16.43  1.61  (Post-Test)  มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของกระบวนการเท า กั บ  84.33  และ  มีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 (µ=0.05, df=29 , t=1.699)  ประสิทธิภาพของผลลัพธเทากับ 82.17 กลาวคือ เมื่อคนตา  บอดเรียนรูจากสื่อดังกลาวแลวทําแบบทดสอบระหวางเรียน  จากตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาผล  (E 1 ) ไดคะแนนมากกวาคะแนนจากการทําแบบทดสอบหลัง  การเปรีย บเทีย บผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผู เรี ยนกอ น  เรียน (E 2 ) เปนไปตามเกณฑที่กําหนด  80  :  80  แสดงวาสื่อ  และหลังเรียนดวยสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง  เพื่ อ การเรี ย นรู สํ า หรั บ คนตาบอดที่ ผู วิ จั ย สร า งขึ้ น  มี  การนวด  ประสิทธิ ภาพทางการเรียน  โดยใชหลักการพัฒนาสื่อตาม  ฝาเทา พบวาค าเฉลี่ย คะแนนสอบกอ นเรียนเทากับ 12.77  ขั้น ตอนการออกแบบระบบการสอนของ ADDIE  Model  คะแนน ค า เฉลี่ ย คะแนนสอบหลั ง เรี ย นเท า กั บ  16.43  เปนหลักในการดําเนินการ และขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา  คะแนน คาสวนเบี่ ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบกอ น  ทางการศึกษา  คือในขั้นตอนการพัฒนาสื่อการสอนกับคนตา  เรียนเทา กับ 1.57 คาส วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน  บอดแบบหนึ่ ง ต อ หนึ่ ง  และทํ า การทดลองกั บ กลุ ม ย อ ย  สอบหลังเรียนเทากับ 1.61 จากนั้นไดหาคาสถิติโดยใชสูตร  จํานวน 3-6 คน ทั้งนี้เพื่อเปนการตรวจสอบสื่อการสอนใน  t-test (Dependent Group) ที่ df=29 ไดคาเทากับ 10.28 เมื่อ  เชิ ง คุ ณ ภาพ โดยใช วิ ธี ก ารสั ง เกตและสั ม ภาษณ ใ นขณะ  นํามาเปรียบเทียบคา t จากตารางที่ไดเทากับ 1.699 พบวาคา  ดํ า เนิ น การทดลอง แล ว นํ า มาปรั บ ปรุ งสื่ อ การสอนให มี  t จากการคํานวณมีคามากกวาคา t จากตาราง จึงสรุปไดวา  คุณภาพที่ดีก อนนําไปใช จริง ในสว นของเนื้อหาวิชาไดรั บ  คาเฉลี่ยคะแนนหลังเรียนกับคะแนนกอนเรียนมีคาแตกตาง  การตรวจสอบจากผูทรงคุณวุ ฒิทางดานเนื้อหา การพัฒนา  กัน อย างมีนั ยสํ าคั ญทางสถิติ ที่ร ะดั บ 0.05 เมื่ อพิ จารณาดู  หุนจําลองฝาเทาไดรั บการตรวจสอบจากผู ทรงคุณ วุฒิดา น  คะแนนเฉลี่ยทั้งกอนเรียนและหลังเรียน พบวาคะแนนหลัง  เทคนิ ค การผลิ ต สื่ อ  อาจารย ผู ค วบคุ ม วิ ท ยานิ พ นธ   และ  เรี ย นมี ค า มากกว า คะแนนก อ นเรี ย น จึ ง สรุ ป ผลได ว า  อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธรวม ไดชวยตรวจสอบคุณภาพ  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวาผลสัมฤทธิ์ทางการ  การออกแบบสื่อการสอนมาตลอดในขณะดําเนินการวิจัย  เรียนกอนเรียนดวยสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด ที่  2. การเปรียบเทียบเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอน  ระดับความมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05  และหลังเรียนดวยสื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอดที่ได  ทดลองกั บ กลุ มตั ว อย าง ได คา คะแนนเฉลี่ ยก อ นการเรี ย น  7. สรุปผลการวิจัย  เทากับ 12.77 และคาคะแนนเฉลี่ยหลังการเรียน เทากับ 16.43  ผลการวิจัยครั้งนี้ สรุปไดวา  ซึ่ ง ค า คะแนนเฉลี่ ย ดั ง กล า วมี ค วามแตกต า งกั น อย า งมี  1. สื่อเพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวด  นัย สํา คัญทางสถิ ติที่ ระดับ 0.05  แสดงว าคนตาบอดที่เ ป น  ฝาเท า มีป ระสิ ทธิภาพเทา กับ 84.33  : 82.17  เปนไปตาม  กลุมตัว อยา ง มีค วามรูเ พิ่มมากขึ้น หลั งจากไดเ รียนดว ยสื่ อ  เกณฑที่กําหนด  เพื่อการเรียนรูสําหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝาเทา
  • 5. วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549  5  เนื่องจากสื่อที่ผูวิจัยสรางเปนการนําหุนจําลองฝาเทามา  หุน จํา ลองที่ ใช กับ คนตาบอด ส วนมากจะเปน สื่ อประเภท  ประกอบการเรี ยนรู  เรื่ อง การนวดฝ าเทา  ซึ่ งทํ าใหค นตา  ภาพนูน และหนังสือเสียง จึงอยากใหบุคคลหันมาสนใจทํา  บอดสามารถจินตนาการไดเร็วยิ่งขึ้น ทั้งไดรับความเขาใจที่  สื่อการสอนประเภทนี้ใหมากขึ้น  จะชวยสร างความคิดรวบยอดจากประสบการณ การเรีย น  3. ในสวนของหุนจําลองฝาเทา ในขั้นตอนการพัฒนา  การสอนไดดียิ่งขึ้นดวย ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สินี  ตัวอักษรและตัวเลขเบรลลที่ใชกํากับจุดตางๆ บนฝาเทา ใช  ภรณ ออนดี [2] ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์  เปนเดโมเทปแปะติดกับตนแบบที่เปนปูนปลาสเตอร ซึ่ง  ทางการเรียนวิชาวิ ทยาศาสตรของนัก เรียนตาบอดที่เรีย น  เดโมเทปที่พิมพตัวอักษรและตัวเลขเบรลลลงไปนั้น มีความ  จากแบบเรียนที่มีและไมมีภาพประกอบ นักเรียนตาบอดที่  นู น ไม ม ากเท า ที่ ค วร ทํ า ให ตั ว อั ก ษรและตั ว เลขเบรลล  เรี ย นจากแบบเรี ยนเบรลล ที่ มีภ าพประกอบมี ผ ลสั มฤทธิ์  บิด เบื อนไปได  รวมทั้งอาจทํ าใหไ มส ามารถอ านตัว อัก ษร  ทางการเรียนสูงกวานักเรียนตาบอดที่เรี ยนจากแบบเรีย น  และตัวเลขเบรลลไดในบางจุด ซึ่งถาเปลี่ยนไปใชวัสดุอยาง  เบรลล ที่ไ มมีภาพประกอบ  กล าวคือ  ในการผลิต สื่อ การ  อื่น เชน เบรลลลอน หรือพลาสติกที่สามารถพิมพตัวอักษร  เรียนการสอนสําหรับคนตาบอด ควรคํานึงถึงการทําใหเกิด  และตัวเลขเบรลลลงไปได และนําไปแปะติดกับตนแบบได  การเรียนรูโดยใชประสาทสั มผัสทั้งหมดที่เ ขาเหลืออยูใ ห  คงทน ก็ จ ะทํ า ให ตั ว อั ก ษรและตั ว เลขเบรลล ชั ด เจนขึ้ น  เปนประโยชนมากที่สุด เชน ประสาทสัมผัสทางกาย  และ  สามารถอานไดงาย และคงทนขึ้นกวาเดิม  ประสาทสัมผัสความรูสึกทางสภาพแวดลอม ความรูสึกทาง  9.2 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป  ขนาดและปริมาณ และยังสอดคลองกับงานวิจัยของ [3] ได  1. งานวิจัยเกี่ยวกับคนตาบอดทางดานอาชีพ ยังไมมีการ  ศึกษาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู  และความ  นํามาใชอยางแพรหลาย สื่อที่ผลิตมา สวนมากมุงเนนใหคน  คงทนในการจํา  โดยใชภาพนูนประกอบการฟงเสียงจาก  ตาบอดไดเรียนรูทางดานวิชาการมากกวา แตมีการพัฒนาสื่อ  หนังสื อเสี ยง  พบวาผลสัมฤทธิ์ท างการเรี ยนรู และความ  ทางด า นอาชี พ ที่ เ ป น ที่ ย อมรั บ ทั่ ว ไปน อ ยมาก จึ งอยากให  คงทนในการจําของนักเรียนตาบอดที่เรียนโดยการสัมผัส  บุคคลหันมาสนใจทําสื่อการสอนประเภทนี้ใหมากขึ้น เพื่อ  ภาพนูนระกอบการฟงเสียงจากหนังสือเสียง มีคะแนนเกาะ  เปนการยืนยันถึงประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  กลุมกันมากกวานักเรียนตาบอดที่เรียนโดยการฟงเสียงจาก  ใหมากขึ้น ตามไปด วย รวมทั้ งคนตาบอดสามารถประกอบ  หนังสือเสียงเพียงอยางเดียว ซึ่งสรุปไดวาคนตาบอดจะเกิด  อาชีพไดเชนเดียวกับคนปกติ เปนการใหโอกาสคนพิการได  การเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น ตองอาศัยการเรียนรู  มีงานทํา  โดยการพัฒนาทักษะฝมือ ใหตรงกับความสามารถ  โดยใชประสาทสัมผัสที่เหลืออยูรวมกัน ทําใหคนตาบอด  และความต อ งการของตลาด  นั บ เป น การชว ยเหลื อคนตา  สามารถเรียนรูไดมากกวาการฟงเสียงเพียงอยางเดียว  บอดแบบยั่งยืน  2.  จากการดํ าเนิน การวิ จัย และผลการทดลองทั้งหมด  9. ขอเสนอแนะในการวิจัย  กล าวได ว าสื่ อเพื่ อการเรี ย นรู สํา หรับ คนตาบอด เรื่ อง การ  9.1 ขอเสนอแนะทั่วไป  นวดฝ า เท า  ที่ ผู วิ จั ย สร า งขึ้ น มี คุ ณ ภาพและมี คุ ณ สมบั ติ ที่  1. จากการทดลองพบวา ควรจัดสถานที่ใหเปนสัดสว น  สามารถนําไปประกอบการเรียนการสอนไดเปนอยางดี และ  และมีความสงบ เพื่อ ใหผู เรีย นมีส มาธิ ในการฟ งบทเรีย น  เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนสําหรับ  และทําแบบฝกหัด เปนสิ่งที่ชวยใหการเรียนของผูเรียนเกิด  คนตาบอดอันเปนเปาหมายสําคัญในการวิจัย  ประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น  3. ในการวิจัยครั้งนี้ ใชเทปเสียงอธิบายประกอบการใช  2. จากการสืบคนเพื่อหาขอมูลที่เกี่ยวของกับงานวิจัย  หุนจําลองฝาเทา ซึ่งเปนสื่อการเรียนการสอนที่ตองใชควบคู  นั้ น  พบว า ยั ง ไม มี ที่ ใ ดที่ นํ า หุ น จํ า ลอง มาทํ า การหา  กั น  ซึ่ งผู วิ จั ย คาดว า ผู ที่ จ ะมาพั ฒ นาต อ ๆ ไป จะได ศึ ก ษา  ประสิทธิภาพหรือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยสื่อประเภท  เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาหุ น จํ า ลองฝ า เท า ให ส ามารถ
  • 6. วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม  ปที่  5  ฉบับที่  2  เมษายน – กันยายน  2549  ตอบสนองตอการสัมผัสได อยางเชน หุนจําลองฝาเทาที่มี  เสียงอธิบายเมื่อกดหรือสัมผัส  เอกสารอางอิง  [1]  กิดานันท มลิทอง. 2543. เทคโนโลยีการศึกษาและ  นวัตกรรม. (พิมพครั้งที่สอง). กรุงเทพฯ: หางหุนสวน  จํากัดอรุณการพิมพ.  [2]  สินีภรณ  ออนดี. 2536.  "การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์  ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนตาบอดชั้น  ประถมศึกษาปที่ 5  ที่เรียนจากแบบเรียนที่มีและไมมี  ภาพประกอบ".  ปริ ญ ญาครุ ศ าสตรมหาบั ณ ฑิ ต  ภาควิชาโสตทัศนศึกษา  บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ  มหาวิทยาลัย.  [3]  สุพจน  เครือหงส . 2531.  "การศึกษาเปรียบเทียบ  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูและความคงทนในการจํา  โดยใช ภาพนู นประ กอบกา รฟ ง เ สี ย งจ ากเท ป  บั น ทึ ก เสี ย งและการฟ ง จากเทปบั น ทึ ก เสี ย งของ  นักเรียนตาบอดชั้นประถมศึกษาปที่ 5". วิทยานิพนธ  ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต ,  มหาวิทยาลัยศรีนคริ  นทรวิโรฒประสานมิตร.  [4]  Dale, E. 1955. Audio-Visual Method in Teaching.  (3d ed.) New York : Dryden Press.  [5]  Seels,  B.,  and  Glasgow,  Z.  1998.  Making  Instructional  Design  Decisions.  (2nd  ed.).  Columbus, Ohio :  Prentice-Hall.  ประวัติผูเขียน  นางสาวเปยทิพย พัวพันธ สําเร็จการศึกษาปริญญาโท สาขา  เทคโนโลยีการศึกษาทางการอาชีวะและเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร  อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร  ลาดกระบัง ปจจุบันเปนนักวิชาการ สาขาเทคโนโลยี  ทางการศึกษา สถาบันสงเสริมการสอน  วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี