SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การที่สิ่งมีชีวิตสามารถคงสภาพอยู่เป็นปกติได้
ต้องมีการควบคุมสภาวะภายในร่างกายให้คงที่ ซึ่งเรียกว่าการรักษาดุลยภาพของเซลล์
เช่น การรักษาระดับน้้าตาลในเลือด, น้้าในร่างกาย อุณหภูมิ เป็นต้น
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์
 ปี ค.ศ. 1665 โรเบิร์ต ฮุก นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์
 ส่องดูไม้คอร์กที่ เฉือนบางๆ และได้พบช่องเล็กๆ จ้านวนมาก และตั้งชื่อว่า “ เซลล์ (Cell) ”
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์
 ในปี 1830 โรเบิร์ต บราวน์ นักพฤกษศาสตร์ชาวสก๊อต
ค้นพบส่วนส้าคัญในเซลล์ คือ “นิวเคลียส”
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane)
 พบในทุกสิ่งมีชีวิตท้าหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์ มีลักษณะบางมาก
มีส่วนประกอบหลักคือฟอสโฟลิปิด เรียงตัว 2 ชั้น
ท้าหน้าที่ควบคุมการผ่านเข้า-ออกของสาร คือเป็น “เยื่อเลือกผ่าน” นั่นเอง
เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane)
ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
 ผนังเซลล์ (Cell Wall)
คือ โครงสร้างที่อยู่ชั้นนอกห่อหุ้มเยื่อหุ้มเซลล์อีกชั้นหนึ่ง เป็นสารจ้าพวกเซลลูโลส
พบในเซลล์พืช สาหร่าย แบคทีเรีย และรา ท้าหน้าที่ป้องกันและสร้างความแข็งแรง
1.2 ผนังเซลล์ (Cell Wall)
ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm)
 คือส่วนที่อยู่ภายในเซลล์ทั้งหมด ยกเว้นนิวเคลียส
มีลักษณะเป็นของกึ่งเหลว ประกอบโดยโครงสร้างต่างๆ เรียกว่า “ออร์แกเนลล์” กระจายอยู่
ตัวอย่างออร์แกเนลล์ ได้แก่ ไรโบโซม กอลจิบอดี ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์ และไลโซม
นิวเคลียส (Nucleus)
 มีรูปร่างค่อนข้างกลม ท้าหน้าที่ควบคุมกระบวนการต่างๆภายในเซลล์
บรรจุสารพันธุกรรมที่ก้าหนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
นิวเคลียส (Nucleus)
สรุปโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์
 ประกอบด้วย 1) ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ (ผนังเซลล์ และเยื่อหุ้มเซลล์)
2) ไซโทพลาสซึม และ 3) นิวเคลียส
การจัดระบบในสิ่งมีชีวิต
เริ่มจากเซลล์  เนื้อเยื่อ  อวัยวะ  ระบบอวัยวะ  สิ่งมีชีวิต
เนื้อเยื่อ (Tissue) - กลุ่มเซลล์ที่ท้าหน้าที่อย่างเดียวกัน
อวัยวะ (Organ) – เนื้อเยื่อหลายชนิดที่ท้าหน้าที่ร่วมกัน เพื่อท้าหน้าที่เฉพาะอย่าง
ระบบอวัยวะ (Organ System) – อวัยวะที่ท้างานประสานกัน เช่นระบบหายใจ
สิ่งมีชีวิต (Organism) – สิ่งที่ประกอบด้วยระบบต่างๆที่ท้างานอย่างสอดคล้องกัน
การจัดระบบในสิ่งมีชีวิต
การจัดระบบในสิ่งมีชีวิต
1.1 การแพร่ (Diffusion)
คือ การเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความหนาแน่นสูงไปต่้า
 โดยอาศัยพลังงานจลน์ของสารเอง
1.1 การแพร่ (Diffusion)
ตัวอย่างของการแพร่
การแลกเปลี่ยนแก๊สบริเวณถุงลมในปอด
การแพร่ของออกซิเจน จากถุงลมไปเส้นเลือดฝอย (ออกซิเจนที่ถุงลมมากกว่า)
การแพร่ของคาร์บอนไดออกไซด์ จากเส้นเลือดฝอย ไปถุงลม (CO2ที่เส้นเลือดฝอยมากกว่า)
ตัวอย่างของการแพร่
ภาวะสมดุลของการแพร่
คือกรณีที่ความเข้มข้นของโมเลกุลเท่ากันทั่วกันทั้งสาร
1.2 การออสโมซิส (Osmosis)
คือ การเคลื่อนที่เข้า – ออก ของน้้าผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
 โดยเคลื่อนที่จากจุดที่มีน้้ามาก (เข้มข้นน้อย) ไปยังจุดที่มีน้้าน้อย (เข้มข้นมาก)
1.2 การออสโมซิส (Osmosis)
ท้าความเข้าใจกับความเข้มข้น
 

 

1.2 การออสโมซิส (Osmosis)
1.2 การออสโมซิส (Osmosis)
เซลล์ขนาดปกติ
 สารละลายนอกเซลล์มีความเข้มข้นเท่ากับในเซลล์
 เมื่ออยู่ในสารละลายชนิดนี้ขนาดของเซลล์จะไม่เปลี่ยนแปลง
 เรียกว่า ไอโซโทนิก โซลูชัน (Isotonic solution
เซลล์เต่ง (ขนาดใหญ่ขึ้น)
 สารละลายนอกเซลล์มีความเข้มข้นน้อยกว่า (น้้ามากกว่า)ในเซลล์
 น้้าจากนอกเซลล์จึงออสโมซิสเข้าเซลล์ ท้าให้เซลล์เต่ง
 เรียกว่า ไฮโพโทนิก โซลูชัน (Hypotonic solution)
เซลล์เหี่ยว (ขนาดเล็กลง)
 สารละลายนอกเซลล์มีความเข้มข้นมากกว่า (น้้าน้อยกว่า)ในเซลล์
 น้้าจากในเซลล์จึงออสโมซิสออกเซลล์ ท้าให้เซลล์เหี่ยว
 เรียกว่า ไฮเพอร์โทนิก โซลูชัน (Hypertonic solution)
วิธีการคิดง่ายๆ
 เซลล์เต่ง – น้้าเข้าเซลล์ – นอกเซลล์น้้ามากกว่า /เข้มข้นน้อยกว่า
เซลล์เหี่ยว – น้้าออกเซลล์ – ในเซลล์น้้ามากกว่า /เข้มข้นน้อยกว่า
 Hypo – ฮิปโป (อ้วน) Hyper – เด็กไฮเปอร์ (ผอม)
1.3 การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated Diffusion)
เป็นการเคลื่อนที่ของสารผ่านโปรตีนตัวพา ที่แทรกอยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์
 มีความเร็วมากกว่าการแพร่แบบธรรมดา
 พบในสารที่มีโครงสร้างจ้าเพาะ เช่น กลูโคส กรดอะมิโน น้้า
การล้าเลียงแบบใช้พลังงาน (Active Transport)
เป็นการล้าเลียงสารโดยใช้พลังงานจากการสลายสารอาหาร (ATP)
จากจุดที่มีความเข้มข้นน้อยไปสู่ความเข้มข้นมาก
 ได้แก่ การดูดซึมอาหาร และแร่ธาตุในรากพืช
การล้าเลียงแบบใช้พลังงาน (Active Transport)
การล้าเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
ในกรณีที่สารมีขนาดใหญ่ ไม่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรง
ล้าเลียงโดยการสร้างเวสิเคิล จากเยื่อหุ้มเซลล์
3.1 เอกโซไซโทซิส (exocytosis)
 เป็นการล้าเลียงสารออกจากเซลล์ โดยบรรจุอยู่ในเวสิเคิล
 เวสิเคิลรวมตัวกับเยื่อหุ้มเซลล์ และปล่อยสารออกไปนอกเซลล์
 เช่น การหลั่งเอนไซม์จากผนังกระเพาะอาหาร ,การก้าจัดของเสียออกจากเซลล์
3.2 เอนโดไซโทซิส (Endocytosis)
 เป็นการล้าเลียงเข้าสู่เซลล์ แบ่งเป็น 3 วิธี คือ
ฟาโกไซโทซิส พิโนไซโทซิส และการน้าสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
1) ฟาโกไซโทซิส (Phagocytosis)
 พบได้ในเซลล์จ้าพวกอะมีบาและเซลล์เม็ดเลือดขาว
เซลล์จะยื่นไซโทพลาซึมออกมาล้อมรอบอนุภาคของสาร
น้าเข้าสู่เซลล์ในรูปของเวสิเคิล และย่อยด้วยเอนไซม์ของไลโซโซม
2.1 ฟาโกไซโทซิส(phagocytosis)
2) พิโนไซโทซิส ( Pinocoytosis )
 เป็นการน้าอนุภาคของสารที่อยู่ในรูปของ สารละลาย เข้าสู่เซลล์
โดยการท้าให้เยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปในไซโทพลาซึมทีละน้อย
จนกลายเป็นถุงเล็กๆ ถุงนี้จะหลุดเข้าไปกลายเป็นเวสิเคิล
2.2 พิโนไซโทซิส (Pinocoytosis)
2.3 การน้าสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
น้าสารเข้าสู่เซลล์ โดยมีโปรตีนตัวรับบนเยื่อหุ้มเซลล์
สารที่จะต้องมีความจ้าเพาะในการจับกับโปรตีนตัวรับด้วย
หลังจากนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จึงเว้าเป็นเวสิเคิลหลุดเข้าสู่ภายในเซลล์
2.3 การนาสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ(receptor-mediated endocytosis)
2.3 การนาสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ(receptor-mediated endocytosis)
2.2 พิโนไซโทซิส(pinocoytosis)
2.2 พิโนไซโทซิส(pinocoytosis)
เอนโดไซโทซิส (endocytosis)
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
การรักษาดุลภาพของน้้าในพืช
กระบวนการที่เกี่ยวข้อง คือ การคายน้้า
ควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้้าผ่านปากใบ และการดูดน้้าที่ราก
ถ้าคายน้้ามากก็ต้องดูดน้้าเข้าทางรากมากเช่นกัน
การรักษาดุลภาพของนาในพืช
ลักษณะของปากใบ
 ปากใบของพืชประกอบด้วยช่องเล็กๆ ในเนื้อเยื่อชั้นนอกสุดของใบ
มีเซลล์คุม ท้าหน้าที่ปิดและเปิดปากใบ
มีคลอโรฟีลล์ จึงสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้
ลักษณะของปากใบ
ลักษณะของปากใบ
ลักษณะของปากใบ

More Related Content

What's hot

การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายพัน พัน
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxKunchayaPitayawongro1
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60Oui Nuchanart
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2Pinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 

More from Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 

More from Pinutchaya Nakchumroon (20)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 

บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข